Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ดำรง3

Description: ดำรง3

Search

Read the Text Version

แนวทางการแกไ้ ขปญั หาเรือ่ งร้องเรียนร้องทุกข์ ประเภท เร่อื งเดอื ดร้อนท่วั ไป ประเภทเร่อื ง ความยุ่งยาก แนวทางการแก้ไขปัญหา เดือดรอ้ นทว่ั ไป - กล่ินเหม็น น้ำเน่าเสีย 1. เกย่ี วขอ้ งกับกฎหมายหลายฉบับ 1. ศึกษาและทำความเข้าใจกับปัญหา มลพิษทางอากาศ ทางเสียง 2. เก่ียวข้องกบั หลายหนว่ ยงาน ที่ร้องเรยี นว่าประชาชนได้รับ ความเดือดร้อน หมอกควั น ฝุ่ น ละออง 3. บางเร่ืองต้องใช้ระยะเวลาในการ หรือต้องการ อะไร จากโรงงานอุตสาหกรรม ดำเนินการแก้ไข 2. พิจารณาว่าหนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ งหรอื มี ขยะมูลฝอย 4. การแก้ไขปัญหาเรื่องร้องเรียน อำนาจหน้าท่ีตามกฎหมาย มีก่ีหน่วยงาน บางเรื่องผู้ร้องไม่ยอมรับผล หรือ ท่ีเกี่ยวข้องกับกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ไม่ให้ความร่วมมือในการเฝ้าระวัง อะไรบา้ ง หรอื รว่ มแกไ้ ขปญั หา 3 . จั ดชุ ดเคลื่ อน ที่ เร็วหรือแต่ งต้ั ง คณะทำงาน โดยบูรณาการกับหน่วยงาน ทเี่ ก่ียวขอ้ งตรวจสอบปัญหาในพืน้ ท่ี 4. เชิญกลุ่มผู้ร้อง หรือผู้ได้รับความ เดือดร้อนเข้ามารว่ มในการตรวจสอบ 5 . ห า ด มี ค ว า ม จ ำ เป็ น ต้ อ ง ต้ั ง คณะทำงานร่วมในการแก้ไขปัญหาต้อง เชิญกลุ่มผู้ร้อง หรือผู้เดือดร้อนเข้ามามี สว่ นรว่ มในการแก้ไขปญั หา 6. ความเดือดร้อนบางกรณี/ประเภท ต้องมีการจัดทำแผนปรับปรุง ฟื้นฟูและ เยียวยาผูไ้ ด้รับผลกระทบ/ความเดอื ดรอ้ น 7. จัดประชุมร่วมระหว่างหน่วยงานภาครัฐ กบั กลุ่มผู้เดือดร้อนเพ่ือหาข้อสรุป/ข้อยุติ เช่น ทำบันทึกข้อตกลงร่วมกัน (MOU) เพ่ือให้เกิด ความพงึ พอใจทงั้ 2 ฝา่ ย 8. ติดตามผลและแจ้งความคืบหน้า ให้ทราบเป็นระยะ จนกว่าจะแก้ไขปัญหาได้ ยตุ ิ และผ้รู อ้ ง/ประชาชนมีความพึงพอใจ

แนวทางการแก้ไขปญั หาเร่ืองรอ้ งเรียนร้องทกุ ข์ ประเภทเร่อื งการแจ้งเบาะแส ประเภทเรอื่ ง ความยุ่งยาก แนวทางการแกไ้ ขปัญหา การแจ้งเบาะแส 1. บอ่ นการพนนั /ยาเสพติด 1. ผู้แจ้งไม่ระบุชื่อ ที่อยู่ เบอร์ 1. แต่งต้ังคณะทำงาน หรือคณะทำงาน โทรศัพท์ เฉพาะกิจในระดบั จงั หวัด/อำเภอ 2. หน่วยงานรัฐท่ีมีอำนาจหน้าที่ 2 . มอบหมายผู้รับผิดชอบตามภารกิ จ ไม่สามารถตรวจสอบข้อมูล หรือ ให้ชดั เจน สถานทก่ี ารกระทำความผิดได้ 3. จัดชุดเคล่ือนที่เร็ว หรือคณะทำงาน 3. แจ้งพิกัดการกระทำความผิด ตรวจสอบข้อเท็จจรงิ สืบเสาะ แสวงหาข้อมูล กวา้ ง ๆ หรอื แสดงสถานท่ีผิดสงั เกตุ 4. ประชุมโต๊ะขา่ ว/บูรณาการข้อมูล 4 . ผู้ แ จ้ งเก รงว่ าจ ะ ไม่ ได้ รั บ 5. สรปุ ผล ความปลอดภัย - ไม่มีขอ้ มูล - ยตุ เิ ร่ือง 5. ผู้แจ้งเกรงข้อมูลส่วนตัวที่แจ้ง - มีข้อมลู - ดำเนินการตามอำนาจหนา้ ที่ รั่วไหล หรอื ทราบชอื่ และทอี่ ยผู่ แู้ จ้ง 6. รายงานผลให้ผู้บงั คับบัญชาทราบ 2. หนีน้ อกระบบ 1. ลูกหนี้ไม่ยอมบอกช่ือเจ้าหนี้ 1. ต้ังคณะทำงานแก้ปัญหาหน้ีนอกระบบ เนื่องจากเกรงว่าในภายหน้าจะไม่ได้ ระดับจงั หวัด/อำเภอ รับการกู้เงนิ จากนายทุนอกี 2. ต้ังคณะทำงานฟ้ืนฟูอาชีพในระดับ 2. ลูกหน้ีเกรงว่าจะไม่ได้รับ จังหวัด/อำเภอ เพื่อให้มอี าชีพ รายได้และ ความปลอดภัยท้ังตัวลูก หน้ีเอ ง ป้องกันไมใ่ ห้กลับไปเปน็ หนอ้ี ีก ครอบครัว และทรัพย์สนิ 3. แต่งตั้งทีมเจรจาเพ่ือแก้ไขปัญหาหนี้ 3. ข้อมูลท่ีแจ้งไว้ไม่ครบถ้วน นอกระบบขึ้นในระดบั จงั หวัดและอำเภอ ขาดความสมบูรณ์ ตอ้ งใช้เวลาในการ 4. มอบหมายหน่วยงานที่มีอำนาจหน้าที่ สื่อสารและหาขอ้ มลู หรือชุดเคล่ือนท่ีเร็ว ตรวจสอบ สังเกต 4. บางคร้ังเจ้าหน้ีทราบข่าว/ พฤตกิ รรมผทู้ ี่ปลอ่ ยเงนิ กู้ หากพบว่ามีการฝ่า ข้อมลู รัว่ ไหล/เจ้าหน้ีหลบหนไี ปได้ ฝนื กฎหมายใหจ้ ับกุมดำเนินคดี 5. จัดทำบัญชี นายทุนเงินกู้ รวมทั้ง เครือข่ายของกลุ่มที่มีการปล่อยเงินกู้ นายทุน นอกระบบไว้เป็นข้อมูลดำเนินการ 6. ประชุมคณะทำงานแก้หน้ี – สร้างอาชีพ เพื่อพิจารณาดำเนินการตามอำนาจหน้าท่ี และตามที่กฎหมาย ทก่ี ำหนด 7. บางกรณีอาจเรียกหนี้ส่วนที่ลูกหน้ีชำระ เกินคืนลกู หนี้ 8. ปกปดิ ชอื่ ที่อย่ลู ูกหนผี้ ใู้ ห้เบาะแส 9. สรปุ ผลการประชมุ หรอื การตรวจสอบ - ไมม่ ขี ้อมลู - ยตุ ิเร่อื ง - มขี ้อมลู –ดำเนนิ การตามอำนาจหนา้ ท่ี 10. ประชาสมั พนั ธ์ใหป้ ระชาชนทราบ

แนวทางการแก้ไขปญั หาเรอื่ งร้องเรียนร้องทกุ ข์ ประเภทเรอื่ งปัญหาที่ดนิ ประเภทเร่ือง ความยุ่งยาก แนวทางการแกไ้ ขปัญหา ปญั หาทด่ี นิ 1. ขอให้ตรวจสอบ 1. ผู้รอ้ งไม่ระบชุ อ่ื – สกลุ เจ้าหน้าท่ี 1. ต้ังคณะกรรมการแก้ไขปัญหาท่ีดิน ข้อเทจ็ จรงิ รัฐไม่สามารถหาข้อมูลข้อเท็จจริง ระดับจังหวัด โดยมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น ผู้มีอิทธิพล ประชาชน เพิ่มเติมได้เนื่องจากผู้ร้องเกรงว่า ประธาน ส่วนราชการท่ีเก่ียวข้องเก่ียวกับ หน่วยงาน หรือ...บุกรุก/ จะไม่ไดร้ บั ความปลอดภัย ท่ดี ินนั้น ๆ เป็นเลขานุการ ส่วนราชการ และ ครอบครอง ซ้ือขายท่ีดิน 2. บางพ้ื นท่ี เป็ นการดำเนิ นการ ภาคเอกชนเป็นกรรมการ ของรัฐ เช่น ท่ีดิน สปก . น อ ก แผน ป ฏิ บั ติ ก ารป ระ จำปี 2.เจ้าหน้าท่ี ตรวจสอบข้อเท็จจริง กรมป่าไม้ กรมอุทยานฯ ของหน่วยงาน ทำให้ไม่มีงบประมาณ พิจารณาข้อกฎหมาย มติคณะรัฐมนตรี ฯลฯ ดำเนินการ และอื่น ๆ โดยมกี ารบูรณาการของทกุ ภาค 3. การตรวจสอบต้องมีการชี้ระวาง ส่วนท่เี กย่ี วข้อง แ น ว เข ต ข อ ง ที่ ดิ น ข้ า ง เคี ย ง 3. นำข้อมูลข้อเท็จจริงมาเข้าท่ีประชุม (ทั้งรฐั และเอกชน) คณะกรรมการแกไ้ ขปญั หาระดับจังหวดั 4. มีการกล่าวอา้ งวา่ อยมู่ านานแล้ว 4. สรุปผลการประชมุ หรอื ก่อนประมวลกฎหมายที่ดิน หรือ 4.1 ยุติเรอ่ื ง มติคณะรัฐมนตรี อาศัยมาต้ังแต่ 4.2 ดำเนินการ บรรพบุรุษ หรือซื้อขายมาอย่าง - ดำเนินการตามกระบวนการ และ ถกู ตอ้ งตามกฎหมาย ขอ้ กฎหมาย - แสวงหาข้อมลู เพม่ิ เติม 5 . ราย งาน ผ ล ค ว าม คื บ ห น้ าให้ ผูบ้ ังคับบัญชาและหนว่ ยงานที่เกยี่ วข้องทราบ เป็นระยะจนกว่าจะไดข้ ้อยตุ ิ 2. ขอ้ พพิ าททด่ี นิ 1. แนวเขตท่ีดินไม่ชัดเจน ไม่มีใคร 1. แต่งตั้งคณะทำงานระดับจังหวัด/ 2.1 รัฐ – ประชาชน 2.2 ประชาชน – กล้าชี้แนวเขต (เขตป่า, เขตท่ีดินรัฐ, อ ำ เ ภ อ โ ด ย มี ผู้ แ ท น คู่ พิ พ า ท ประชาชน เขตทีด่ ินเอกชน – ประชาชน) เป็นกรรมการตามสัดสว่ นทเ่ี หมาะสม 2. พื้นที่พิพาทไม่มี หรือมีแนวเขต 2.จัดชุดเคล่ือนที่เร็วตรวจสอบ หรือ แตไ่ มไ่ ด้รบั การยอมรับจากคกู่ รณี ต้ังคณะทำงานร่วมตรวจสอบข้อเท็จจริงใน 3 . ต่ า ง ฝ่ า ย ต่ า ง อ้ า ง สิ ท ธิ พื้นท่ี โดยมีผู้แทนคู่พิพาท มีส่วนร่วมใน การครอบครอง หรือทำกินก่อนมี กระบวนการตรวจสอบ และพิจารณา กฎหมายใช้บังคับ (ประมวลกฎหมาย แก้ไขปัญหาในทุกข้ันตอน (หลักพื้นท่ี – ทดี่ นิ , มตคิ ณะรฐั มนตรี) หนา้ ท่ี – การมสี ว่ นรว่ ม) 4. อ้างสิทธิการสำรวจ การออก 3. การตรวจสอบ/ พิสูจน์ ต้องเป็นไป โฉนดตกหล่น ตามหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ ขอ้ เทจ็ จริง 5. ไมย่ อมรบั กระบวนการพสิ ูจนส์ ิทธิ ในพื้นที่ และหากต้องมีการพิสูจน์ข้อมูล เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง และให้เป็นท่ียอมรับ ของทุกฝ่ายควรใช้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์

ประเภทเร่อื ง ความยุ่งยาก แนวทางการแกไ้ ขปัญหา ปัญหาท่ีดิน เช่น แผนท่ี เป็นต้น ควบคู่ไปกับข้อมูล ข้อเท็จจริงในพ้ืนท่ีหรือเทียบเคียงข้อมูล แวดลอ้ มในพนื้ ที่ 4. ประชุมคณะทำงานระดับจังหวัด/ อำเภอ 4.1 ยุติเร่ือง ตามหลักเกณฑ์แนวทาง ท่ีกำหนด - ผรู้ ้องไดต้ ามความประสงค์ท้ังหมด - ผู้ร้องได้ตามความประสงค์บางส่วน และแจ้งใหผ้ รู้ ้องทราบ - ได้ดำเนินการแล้ว แต่ไม่ได้ตาม ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ผู้ ร้ อ ง แ ล ะ ได้ ช้ี แ จ ง ทำความเขา้ ใจกับผรู้ ้องแล้ว - เข้าส่กู ระบวนการยุตธิ รรม ฯลฯ 4.2 ดำเนินการตอ่ เนอื่ ง - ด ำ เนิ น ก า ร เร่ ง รั ด ติ ด ต า ม แจง้ ความคืบหนา้ ให้ทราบเป็นระยะ - นำเข้าคณะกรรมการศูนย์ดำรงธรรม จังหวัด เพ่ือพิจารณา หรือหาแนวทาง ในการดำเนนิ การเพอ่ื ให้ได้ข้อยตุ ิ - แนะนำให้ใช้สิทธิทางกระบวนการ ยุติธรรม แล้วยุตเิ รื่อง

แนวทางการแกไ้ ขปัญหาเร่ืองร้องเรียนร้องทุกข์ ประเภทเรอ่ื งร้องเรียนเจา้ หนา้ ทรี่ ฐั ประเภทเรอ่ื ง ความยงุ่ ยาก แนวทางการแกไ้ ขปัญหา ร้องเรียน กลา่ วโทษ เจ้าหน้าท่ีรัฐ 1. กรณีเปน็ เจ้าหนา้ ท่ีรัฐ 1. ผู้ร้องทุกข์กล่าวโทษไม่กล้า 1. กรณีเป็นบัตรสนเท่ห์ ท่ีมิได้ระบุ สงั กัดในกระทรวงมหาดไทย เปิดเผยตัวตน เกรงว่าจะไม่ได้รับ หลักฐาน กรณีแวดล้อมปรากฏชัดเจน (ถกู ร้องเรยี นมีพฤตกิ รรม ความปลอดภัย หน่วยงานต้นสังกัด แน่นอน ตลอดจนไม่สามารถช้ีพยาน ทจุ ริต การทำงานไมโ่ ปร่งใส หรือหน่วยงานตรวจสอบไม่สามารถ บุคคลเข้าข่ายเป็นลักษณะบัตรสนเท่ห์ ละเว้นการปฏบิ ตั หิ น้าท่)ี สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ ทำให้ ตามมติคณ ะรัฐมน ตรี เม่ือวันท่ี 2 2 ไม่สามารถเอาตัวผู้กระทำความผิดมา ธันวาคม 2541 ให้พิจารณาว่าข้อมูล ลงโทษได้ ที่ได้รบั เปน็ ประโยชน์กบั หนว่ ยงานหรอื ไม่ 2. ก า ร เส า ะ แ ส ว ง ห า ข้ อ มู ล ถ้าเป็นให้เก็บไว้เป็นข้อมูลเพ่ือช่วยพัฒนา ข้อเท็จจริงมีความยุ่งยาก และใช้ อ งค์ ก ร ห าก ไม่เป็ น ห รือ ไม่ มี ข้อ มู ล เวลาในการตรวจสอบนาน ใหย้ ตุ ิเรอ่ื ง 2 . ก ร ณี ไม่ เข้ าข่ าย บั ต ร ส น เท่ ห์ อาจมอบหมายผู้บริหาร หรือแต่งต้ัง คณะทำงานตรวจสอบข้อเท็จจริง 3 . ส่ ง ต่ อ ให้ ห น่ ว ย ง าน ต้ น สั ง กั ด ตรวจสอบและดำเนินการตามกฎหมาย หากผลการตรวจสอบข้อเท็จจรงิ 3.1 ไม่มขี อ้ มลู – ยตุ เิ รอ่ื ง 3 .2 มีมูล – ดำเนิน การสืบสวน สอบสวน หรือต้ังคณะกรรมการสอบสวน ทางวินัย หรือความรับผิดทางละเมิด เพ่อื หาตวั ผู้กระทำความผดิ มาลงโทษ 4. รายงานผลกลับมาให้ศูนย์ดำรงธรรม ทราบ ถือว่ายุติในช้ันของศูนย์ดำรงธรรม โดยไม่ต้องรอผลสิ้นสุดของการพิจารณา ดำเนินการ 5. สรุปผลการดำเนินการแล้วรายงาน ใหผ้ ้บู ังคับบญั ชาทราบ 6. แจ้งผลการดำเนินการให้ผู้ร้องทราบ ตามภาพรวม ระยะเวลาทกี่ ำหนด 2. กรณีเป็นเจ้าหน้าที่ 1. ผรู้ ้องทุกขก์ ล่าวโทษไม่กล้าเปดิ เผย 1 . ส่งเร่ืองให้ หน่วยงาน ต้น สังกั ด ของรฐั สังกดั หน่วยงานอ่นื ตัวตน เกรงว่าจะไม่ ได้รับความ ดำเนนิ การตามอำนาจหน้าท่ี ปลอดภัย หน่วยงานต้นสังกัด หรือ 2.เม่ือหน่วยงานตามข้อ 1 นำเรื่อง - กรณเี ปน็ บตั รสนเทห่ ์ หน่วยงานตรวจสอบไมสามารถ เข้าสู่กระบวนการ เช่น ตั้งคณะกรรมการ - กรณีไม่เข้าข่ายบตั ร ส อ บ ถ า ม ข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ไ ด้ ตรวจสอบข้อเท็จจริง ต้ังคณะทำงาน สนเทห์

ประเภทเรอื่ ง ความย่งุ ยาก แนวทางการแก้ไขปญั หา รอ้ งเรียน กลา่ วโทษ เจา้ หน้าท่ีรฐั ทำให้ ไม่สามารถเอาตัวผู้กระทำ สื บสวน สอบสวน หรื อยุ ติ เรื่องแล้ ว ความผดิ มาลงโทษได้ ให้รายงานให้ศูนย์ดำรงธรรมทราบ ให้ยุติ 2 . ก า ร เส าะ แ ส ว ง ห าข้ อ มู ล เรอ่ื งในชน้ั ของศูนย์ดำรงธรรม โดยไม่ต้อง ข้อเท็จจริงมีความยุ่งยาก และต้องใช้ รอผลส้นิ สุดของการดำเนนิ การ ระยะเวลาในการตรวจสอบ 3. ต้องช้ีแจงและรายงานความคบื หน้า 3. ความล่าช้าของการแก้ไขปัญหา ของการดำเนินงานให้ผู้ร้องทราบเป็น หรือการตรวจสอบทำให้ผู้ร้องเกิด ระยะ ความไม่ พ อ ใจและไป ร้อ งเรียน หน่วยงานอ่ืนเพิ่มเติมรวมทั้งร้องเรียน เจ้าหนา้ ท่ีของศูนย์ดำรงธรรมแทน

แนวทางการแก้ไขปญั หาเรื่องร้องเรยี นร้องทุกข์ ประเภทเรอ่ื งขอความชว่ ยเหลือ ประเภทเรอ่ื ง ความยงุ่ ยาก แนวทางการแก้ไขปญั หา ขอความชว่ ยเหลอื 1. ขอทีด่ ินทำกิน 1. บางเร่ืองไม่สามารถช่วยเหลือได้ 1. ต้องมีคณะกรรมการตรวจสอบ 2. ขอท่ีอยูอ่ าศัย เนอ่ื งจากเกินขอบเขตของกฎหมาย สิทธิ หรือคุณสมบัตรของผู้ที่ขอความ 3. ขอทุนการศึกษา 4. ขอค่ารักษาพยาบาล 2. ศาลตัดสินเป็นท่ีสุดแล้ว แต่ผู้ ช่วยเหลือเพ่ือพจิ ารณา 5. ขอใหช้ ว่ ยเหลือทางคดี 6.ขอให้ชว่ ยเหลอื ด้าน ร้องเรยี นไม่ยอมรับผล 1.1 เป็นไปตามหลักเกณฑ์ อาชีพ 3. หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องหึความ - ใหค้ วามช่วยเหลอื ช่วยเหลือแล้วแต่ไม่เพียงพอต่อความ - สง่ ต่อหนว่ ยงาน ตอ้ งการของผู้ร้องเรยี น - ....ความยั่งยืน 4. บางเร่ืองที่ขอเป็นเรื่องท่ีเป็นไป 1.2 ไม่เปน็ ไปตามหลกั เกณฑ์ ไม่ได้ - ยตุ เิ รื่อง ตามแนวทางทกี่ ำหนด 2. ประชุมหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องใน การบูรณาการเพอื่ แก้ไขปัญหา 3. จังหวัดต้องมีการจัดตั้งกองทุนเพื่อ ช่วยเหลือผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส หรือ บุ คคลที่ ทำหน้ าท่ี พ ลเมื องดี ในการ ชว่ ยเหลือสงั คม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook