| หน้าที่ 88 2.1 การสนับสนุนการพัฒนาระบบหลักประกันโอกาสและความเสมอภาค ทางการศกึ ษาตั้งแต่ระดับปฐมวยั ด้วยความร่วมมือระหวา่ งหนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน 2.2 การยกระดบั กระบวนการจดั อาชวี ศกึ ษาทวภิ าคี 2.3 การสนับสนุนการพัฒนา Digital Learning platform และระบบ Credit Bank ร่วมกนั ระหวา่ งหนว่ ยงานภาครัฐและภาคเอกชน 3. แนวทางขยายผลความร่วมมือและการสนับสนุนส่งเสริมการใช้ทรัพยากรเพื่อการ จัดการศึกษาของเอกชนและสถานศึกษา ซึ่งเป็นนวัตกรรมความร่วมมือใหม่ที่แตกต่างไปจากเดิมคือ เดิมภาคเอกชนเป็นผู้เปิดสถานศึกษาเพื่อจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนโดยตรง แต่เปลี่ยนเป็น กระบวนการของภาคเอกชนในการเข้ามามีส่วนรว่ มในการสนับสนุนกระบวนการจัดการศึกษาทั้งทีเ่ ป็น กระบวนการถา่ ยทอดนวตั กรรม และกระบวนการบริหารองค์กรไปจนถงึ การสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์และ เทคโนโลยีการศึกษาที่ทันสมัย และการส่งบุคลากรในองค์กรเอกชนมาร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรมในการ จดั การเรยี นการสอนกับครแู ละบุคลากรทางการเรียนการสอนในโรงเรียนอยา่ งต่อเน่อื ง 1.3.3 พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ และคณะ (2563) กล่าวถึงรูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วม แบ่ง ออกเปน็ 3 ระดบั ได้แก่ รูปแบบและกลไกการมีสว่ นรว่ มระดบั ชาติ รปู แบบและกลไกการมสี ่วนร่วมระดับ จงั หวัด และรปู แบบและกลไกการมสี ว่ นร่วมระดับสถานศึกษา นอกจากนี้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2563) ได้ศึกษารูปแบบและกลไกการ ดำเนินงานที่เกี่ยวกับการมีส่วนร่วมและสมัชชาการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ พบว่า รูปแบบ และกลไกการมสี ว่ นร่วมและสมัชชาการศกึ ษา แบง่ ออกเปน็ 3 ระดับ ไดแ้ ก่ (1) รูปแบบกลไกระดับจังหวัด เป็นกลไกเชิงระบบที่ใช้การผลักดันนโยบาย แผนงาน ด้วยการ ตัดสินใจ เชิงนโยบายและเชิงกลยุทธ์ เป็นกลไกในระดับการบริหารองค์กรและการตัดสิน แกป้ ญั หาในพ้นื ที่ (2) รูปแบบกลไก ระดบั อำเภอ เป็นกลไกการประสานท่ีเชอ่ื มโยงเครอื ข่ายภาคี กจิ กรรม เปา้ หมาย บุคคลทีม่ ีทกั ษะความชำนาญในแต่ละเร่ือง ทง้ั สาระความรู้ ข้อมลู พนื้ ฐาน และงานงบประมาณ (3) รูปแบบกลไกระดับตำบล เป็นกลไกการจัดการที่ใช้ในระดับ ปฏิบัติการและเป็น ปจั จัยท่ีเอื้ออำนวยให้เกดิ การจดั กจิ กรรมทห่ี ลากหลายตามสภาพปญั หาในแต่ละพ้ืนที่ 1.3.4 เอกพล ดวงศรี (2563) ได้สรุปผลการวิจัยเพื่อศึกษารูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาของประชาชนตามรา่ งพระราชบญั ญัติ การศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ โดยศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มลู จากร่างพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาตฉิ บับใหม่และเอกสาร ท่ีเก่ยี วขอ้ ง รวมทง้ั ศึกษาและเก็บข้อมูล ในพื้นที่กรณีศึกษาสมัชชาการศึกษาจังหวัดสุราษฎร์ธานี ผลการวิจัยพบว่า ร่างพระราชบัญญัติ การศึกษาแหง่ ชาตฉิ บบั ใหมท่ ีผ่ า่ นการพจิ ารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 มคี วามแตกต่างจาก พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทีแ่ กไ้ ขเพ่ิมเติม โดยเฉพาะประเด็นการมีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษาของ ภาคประชาชน พบว่า มีรูปแบบการมีส่วนร่วม 3 ระดับ ได้แก่ (1) รูปแบบการมี ส่วนร่วมระดับสถานศึกษา (2) รูปแบบการมี ส่วนร่วมระดับจังหวัด และ (3) รูปแบบการมีส่วนร่วม ระดับชาติ 1.3.5 Delancy (2000)ได้ศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในกระบวนการการตัดสินใจใน หลกั สตู ร การเรยี นระดับเขต พบว่า การมสี ว่ นร่วมของผู้ปกครองและชุมชนต่อการกำหนดหลักสูตรการ
| หนา้ ท่ี 89 สอนของโรงเรียนมีผลต่อ วิสัยทัศน์นักการศึกษาและมีความคิดเห็นแตกต่างกัน การใช้วิธีสื่อสารท่ี เหมาะสมและการสื่อสารสองทางจะเกิดประโยชน์ใน กระบวนการตัดสินใจ และทำให้ไม่เกิดความ ขดั แย้งในโรงเรียน 1.3.6 Pryor (2005) ได้ศึกษาการระดมกำลังการมีส่วนร่วมของ ชุมชนสังคมเมืองสำหรับการ จัดการเรียนการสอนในชนบท กรณีศึกษาประเทศกานา พบว่า การมีส่วนร่วมในชุมชนเกิดจาก ความ ต้องการของชมุ ชนเอง โรงเรยี นควรจะกระตอื รือร้นในการพยายามสร้างความรว่ มมือมากกวา่ การหวังพ่ึง ใหช้ มุ ชนเขา้ มา ช่วยพฒั นาโรงเรียน 1.4 ผลการสัมภาษณ์เชิงลึก 1.4.1 หลักการ/วัตถุประสงค/์ บทบาทหน้าท่ี เพอื่ ให้การดำเนินงานสำเร็จตามเปา้ หมาย จงึ ไดม้ เี จตนารมณ์รว่ มกันสนับสนนุ การจัดตั้ง กลุ่มคณะบุคคลเพื่อเป็นกลไกในการร่วมกันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษา เป็นกลไกผลักดัน ขับเคลื่อนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษาของจังหวัดชุมพร โดยใช้ชื่อว่า “สมัชชาการศึกษา จังหวัดชุมพร” เพื่อให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๒๕๖๐ ยุทธศาสตร์ชาติ แผน แม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ กฎหมายว่าด้วยการศึกษาชาติ และโครงการต่าง ๆ ของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษาของหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง โดยมี หลกั การ วตั ถปุ ระสงค์ องค์ประกอบ และอำนาจหน้าทด่ี ังนี้ หลักการ 1. เตรียมความพร้อมเพื่อให้จังหวัดมศี ักยภาพทีจ่ ะจัดการศึกษาของตนเองได้ในระยะยาว 2. ยดึ หลกั สรา้ งการมสี ่วนร่วมของทกุ ภาคส่วน 3. จัดการศกึ ษาเพ่อื สอดคลอ้ งกับบรบิ ทของจังหวดั 4. เกดิ ขึน้ ตามความพรอ้ ม เหน็ ประโยชนส์ ว่ นรวม มใิ ช่เกิดจากการสั่งการ 5. มเี ปา้ หมายในการพัฒนาการศกึ ษาจังหวดั เป็นรูปธรรมร่วมกนั 6. มีความตระหนกั และเหน็ ความสำคัญของการศึกษา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นศูนย์รวมของบุคคลผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา การสนับสนุนการศึกษา การรับ บริการ ทางการศึกษา และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เช่น ผู้จัดการศึกษา ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหาร ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ผู้ปกครองนักเรียน ผู้ใช้ผลผลิตทางการศึกษา ครู นักเรียน ชุมชน และ บคุ คลทั่วไป 2. เพื่อระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษา การจัดการศึกษา การมีสว่ นรว่ มด้านการศกึ ษา 3. เพื่อเสนอแนะการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ต่อส่วนกลาง การจัดการศึกษา ระบบสนับสนุน การศึกษา 4. เพ่อื เปน็ ศนู ยร์ วมขอ้ มูลทกุ ดา้ นเพอื่ การพฒั นาทรัพยากรมนุษยใ์ นจังหวัด
| หน้าท่ี 90 5. เพ่ือเป็นกลไกแนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใหส้ อดคล้องตลาดแรงงาน 6.เพื่อสนบั สนุนและสง่ เสรมิ การพัฒนากระบวนการบรหิ ารจัดการและกระบวนการจัดการเรียน การสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ บทบาทหนา้ ที่ 1. ให้ข้อเสนอแนะและแนวทางในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาและการจัดทำยุทธศาสตร์ การศกึ ษา จังหวดั ชมุ พร 2. สนับสนุน ส่งเสริมการดำเนินงานหรือกิจกรรมของหน่วยงาน/องค์กร ในการสร้างความ ร่วมมือ ระหว่างภาครัฐ เอกชน ประชาชน และท้องถ่ินเพือ่ ร่วมกันพัฒนาการศึกษาของจงั หวดั ชุมพร 3. สนับสนุน ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู เพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์ ชาติ แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูปประเทศดา้ นการศึกษา 4. จัดทำแผนบูรณาการความร่วมมือในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้เป็นไปตาม ยทุ ธศาสตรช์ าติ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ 5. ตดิ ตามผลการดำเนนิ งานตามแผนการศึกษาจังหวัดชมุ พร 6. ให้คำปรึกษา ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะ ต่อหน่วยงานที่จัดการศึกษาระดับจังหวัดและ ส่วนกลาง 7. ให้ขอ้ เสนอแนะเก่ยี วกับการจดั สรรงบประมาณดา้ นการศึกษาของจังหวดั ชุมพร 8. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการระดมทุนในการจดั หาทรพั ยากรด้านการศึกษาจังหวดั ชมุ พร 9. จัดทำแผนการดำเนินงานของสมัชชาจังหวัด ๔ ปี และแผนปฏิบัติการสมัชชาจังหวัด ประจำปี 10.สนับสนุนและส่งเสริมการพัฒนากระบวนการบริหารจัดการและกระบวนการจัดการเรียน การสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั 1.4.2 ความต้องการดา้ นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษา สรุปประเดน็ สำคัญจาก การสมั ภาษณเ์ ชิงลึก ได้ดังนี้ 1) การจดั ทำหลกั สตู รทเ่ี กีย่ วข้องกับการแกไ้ ขปัญหายาเสพติด 2) การมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โดยกำหนดให้มีมาตรการบังคับ กรณีที่ไม่ดำเนินการ ตาม ขอ้ กำหนด ของกฎหมายในการสง่ เดก็ เขา้ เรยี น 3) การใช้สื่อเทคโนโลยีอย่างถูกต้อง มุ่งเน้นในการปลูกฝังครูผู้สอนในการรักองค์กร และ มงุ่ เนน้ การใหค้ วามรู้ ในการใช้เทคโนโลยีใหเ้ ป็นประโยชนใ์ นทางการศึกษา 4) แนวทางการพัฒนาความรู้และความเข้าในการอบรมเลี้ยงดูผู้เรียนแก่ผู้ปกครอง ซึ่งควร ดำเนนิ การร่วมกับ สถานศึกษา ท้ังน้ี ควรกำหนดหนว่ ยงานที่จะดำเนินการดังกล่าวอยา่ งชดั เจน 5) ควรให้ความสำคัญต่อการเข้าถึงการศึกษาของเด็กต่างสัญชาติ (บุตรหลานแรงงานต่าง ด้าว) 6) ควรให้ความสำคัญต่อการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาแก่กลุ่มผู้เรียนที่ด้อย โอกาสและมคี วามตอ้ งการพิเศษ
| หนา้ ที่ 91 7) การสำรวจความต้องการของตลาดแรงงานในพื้นที่ ควรให้ความสำคัญต่อ การสำรวจ ความตอ้ งการ ของผู้เรยี นประกอบดว้ ย 8) การสร้างแรงบันดาลใจ จิตวญิ ญาณของความเป็นครู และเป็นแบบอย่างทดี่ ี 9) สง่ เสริมและพฒั นาดา้ นความรู้และทกั ษะในการประกอบอาชพี ทตี่ รงกับตลาดแรงงานใน พนื้ ท่ี ชมุ ชน สงั คม อย่างตอ่ เนื่อง(คนชุมพร เรียนชมุ พร จบชมุ พร พัฒนาชุมพร) 10) ส่งเสริมพัฒนาทักษะชีวิต และสร้างวินัย (สามารถแก้ปัญหาและอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสุข) 11) ให้มีรปู แบบหลกั สตู รเกย่ี วกับยาเสพตดิ ในสถานศกึ ษาทุกระดับ 12) การจัดการศึกษาเพื่อต่อยอดการพัฒนาเด็กที่มีความสามารถพิเศษ เน้นการจัด การศกึ ษา เฉพาะทาง โดยคำนงึ ถึงความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล 13) ใหค้ วามสำคัญของการจัดการศกึ ษาโดยครอบครัว 1.4.3 รปู แบบ/กลไกการมีส่วนร่วม การดำเนินงานการบรู ณาการการพัฒนาการศึกษาในระดับจังหวัด ไมค่ วรเป็นการเพม่ิ ภาระ แก่ สถานศึกษา 1) ควรกำหนดเปา้ หมายและกรอบระยะเวลาการดำเนนิ งาน 2) กำหนดแผนการดำเนินงานเพอื่ การขบั เคลือ่ นใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมาย 3) กำหนดกรอบ แนวทาง การทำงานร่วมกับหน่วยงานสว่ นกลาง 4) กำหนดรปู แบบ แนวทางการตดิ ตามและประเมินผลการดำเนนิ งาน 5) กำหนดแนวทางการนำผลมาถอดบทเรียน เพื่อปรับปรุงพัฒนารวมทั้งเผยแพร่ ประชาสมั พันธ์ ผลการดำเนินงานต่อผทู้ เ่ี กยี่ วข้องและสาธารณชน 6) ควรมกี ารจดั กิจกรรมเพ่ือสรา้ งแรงบันดาลใจจากบคุ คลต้นแบบของจงั หวัดชมุ พร 7) ทุกความร่วมมือตอ้ งมอี ิสระ/ไม่เพ่ิมภาระใหส้ ถานศึกษา/ร่วมกับส่วนกลาง 8) การผลักดันความตอ้ งการทางการศึกษาเปน็ นโยบายสาธารณะ 9) การจัดการความรูแ้ ละพัฒนาศักยภาพของคนในเครอื ขา่ ย 10) ใชก้ ารสื่อสารเชงิ สร้างสรรค์ผ่านสื่อเทคโนโลยี 11) พัฒนางานวิจัยทางการศึกษาในพื้นที่ ตามเป้าหมายในการทำงานของสมัชชา โดย ความรว่ มมอื ของสถาบนั อดุ มศกึ ษาในพน้ื ท่ี ปราชญช์ าวบ้าน และผเู้ ก่ยี วขอ้ ง 12) ควรสง่ เสรมิ ให้มีงานวจิ ัยทางการศกึ ษาระดับพืน้ ทเี่ พม่ิ มากข้นึ 13) ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ผู้เรียนและ บรบิ ทพ้นื ท่ี 14) ประชาสมั พนั ธท์ ิศทาง โลกของงานในปัจจุบนั และอนาคตใหผ้ ูป้ กครองทราบ 1.4.4 รูปแบบการต้ังคณะบคุ คล หลักการยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง และมีส่วนประกอบที่จะดำเนินการขับเคลื่อน ซึ่งเป็น ระบบนิเวศน์ ของการดำเนินการ อาทิ มีระบบเครือข่ายทั้งในระดับชาติและระดับพื้นที่ มีระบบ ฐานข้อมูลกลาง มีการรวมกลุ่มกัน เป็นสมัชชาจังหวัด และมีกฎหมายที่จะรองรับการดำเนินงาน โดยมี
| หน้าที่ 92 การระดมทรัพยากร จากทุกภาคส่วน ในการขับเคลื่อน ไปสู่เป้าหมายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และ การ ศึกษาของจงั หวดั และจากการสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ ผูท้ รงคุณวุฒิ ให้ข้อมลู สรปุ ได้ดังนี้ 1) ประเดน็ การจดั กจิ กรรม ควรมุ่งเนน้ ในดา้ นพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น 2) การจดั การเรียนการสอนดว้ ยภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ในการจดั กจิ กรรม ตลอดจนปลกู ฝงั ความ เป็น จิตสาธารณะและการเรยี นรูด้ ้านเศรฐกจิ พอเพียงแก่ผู้เรยี น 3) ควรสง่ เสรมิ กิจกรรมดา้ นความปลอดภัยแก่ผเู้ รียน 4) ควรสง่ เสรมิ กจิ กรรมดา้ นคณุ ธรรม จรธิ รรมแก่ผู้เรยี น 5) ควรส่งเสริมกิจกรรมด้านการพัฒนาครูผู้สอนให้มีทักษะและสมรรถนะในการพัฒนา ผู้เรียน 6) ประสานความร่วมมือหน่วยงานทางการศึกษาในจังหวดั และจิตอาสาผ้มู จี ติ วญิ ญาณทาง การศึกษา ใหเ้ ป็นเอกภาพ โดยมีทศิ ทางในการจดั การศึกษาเดียวกัน 7) ควรส่งเสริมกจิ กรรมพัฒนากระบวนการบริหารและการจดั การศกึ ษา 8) ควรสง่ เสริมกิจกรรมพฒั นากระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคญั 9) สง่ เสริมกจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนทงั้ ด้านผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนและคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 10) ให้มีศูนย์กลางในการทำงานร่วมกันของสมัชชา ระดับจังหวัด ระดับภาค และ ระดับประเทศ 11) ให้สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดชุมพร วางระบบสารสนเทศทม่ี ีความเช่อื มโยงทัง้ ภาครฐั และเอกชน โดยมุง่ เน้นการพฒั นาเยาวชนในจังหวัดเพอ่ื ออกสู่ตลาดแรงงาน 12) ใช้ส่ือ ICT ในการบูรณาการการส่อื สารเพื่อสร้างความร่วมมือเชิงสรา้ งสรรค์ในการจัด กจิ กรรมเพือ่ ผู้เรยี นเปน็ สำคัญ ตารางที่ 4 สรุปความคดิ เหน็ ของผูท้ รงคณุ วุฒิดา้ นต่าง ๆ จากประเดน็ การสมั ภาษณเ์ ชงิ ลกึ ประเดน็ การสมั ภาษณ์ ความคดิ เหน็ ของผู้ทรงคณุ วฒุ ิดา้ นตา่ ง ๆ การศึกษา การมีส่วนรว่ ม กฎหมาย ภมู ิสงั คม นโยบายการศกึ ษา หลกั การ 6 ข้อ เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นดว้ ย เหน็ ดว้ ย เหน็ ดว้ ย วตั ถปุ ระสงค์ 6 ขอ้ เหน็ ด้วย เห็นดว้ ย เห็นด้วย เหน็ ด้วย เหน็ ดว้ ย บทบาทหนา้ ท่ี 10 ขอ้ เห็นด้วย เหน็ ดว้ ย เห็นดว้ ย เหน็ ดว้ ย เหน็ ด้วย ความตอ้ งการในการพัฒนา 13 ข้อ เหน็ ดว้ ย เห็นด้วย เห็นด้วย เห็นดว้ ย เห็นดว้ ย รูปแบบ/กลไกการมีส่วนรว่ ม เห็นด้วย เห็นด้วย เหน็ ด้วย เหน็ ด้วย เห็นดว้ ย 14 ข้อ รปู แบบการตั้งคณะบคุ คล 12 ขอ้ เห็นดว้ ย เหน็ ด้วย เห็นดว้ ย เห็นดว้ ย เห็นดว้ ย
| หนา้ ท่ี 93 จากตารางท่ี 4 สรุปความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ จากประเด็นการสัมภาษณ์เชิงลึก สรุปได้ว่า จากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ด้านการมีส่วนร่วม ด้านกฎหมาย ด้าน ภูมิสังคม และด้านนโยบายการศึกษา พบว่าผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ มีความเห็นสอดคล้องกันในทุก ประเด็นการสมั ภาษณ์ ข้นั ตอนท่ี 2 จดั ทำและนำรอ่ งรปู แบบ กลไก ในการมีสว่ นรว่ มทางการศกึ ษาของคณะบุคคลที่ กำกับดูแลและสนับสนุนการศึกษาในระดับจังหวัดชุมพรโดยมีเป้าหมายและจุดเด่นที่ชัดเจน เป็นการ เฉพาะ ซึง่ สามารถดำเนินการไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและสง่ ผลตอ่ การปฏริ ูปประเทศ ด้านการศกึ ษา จากการจัดเก็บข้อมูลผ่านการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ และการจัดทำ Focus Group จึงได้จัดทำ และการนำร่องรูปแบบกลไกในการบริหารจัดการของคณะบุคคลที่กำกับดูแลและสนับสนุนในระดับ จังหวัดชุมพรโดยมีเป้าหมายและจุดเด่นที่ชัดเจนเป็นการเฉพาะ ซึ่งสามารถดำเนินการได้อย่างมี ประสิทธภิ าพและส่งผลตอ่ การปฏิรปู การศกึ ษาประเทศด้านการศึกษาของจังหวัดชมุ พร ดังภาพ ที่ 4 ภาพท่ี 4 แสดงจัดทำและการนำร่องรูปแบบกลไกในการบริหารจัดการของคณะบุคคลที่กำกบั ดแู ลและสนบั สนนุ ในระดบั จังหวัดชมุ พร
| หนา้ ท่ี 94 จากแผนภาพแสดงจัดทำและการนำร่องรูปแบบกลไกในการบริหารจัดการของคณะบุคคลท่ี กำกับดูแลและสนับสนนุ ในระดบั จงั หวดั ชมุ พร มรี ายละเอียดดังน้ี กลไกในการบริหารจัดการของคณะบุคคลที่กำกับดูแลและสนับสนุนในระดับจังหวัดชุมพร มี เป้าหมายเพื่อให้การจัดการศึกษาในจังหวัดชุมพรได้สร้างคนดี คนเก่ง อยู่อย่างมีความสุข เป็นบุคคลที่ รับผิดชอบต่อสังคม สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา สร้างหรือผลิตคนสอดคล้องกับตลาดแรงงาน เป็นบคุ คลทรี่ กั ถิน่ ฐานบา้ นเกิดซ่งึ เป็นเปา้ หมายที่เกดิ มาจากความต้องการ ดังนี้ 1. ต้องการสถานศึกษาดำเนินการเพิ่ม พัฒนาหลักสูตรด้านการแก้ไขปัญหายาเสพติดความมี ระเบียบวินัยต่อตนเองและสังคม การรู้จักหน้าที่ก่อนสิทธิ ความรักและการเรียนรู้ท้องถิ่นชุมพร ทักษะชีวิต และโครงการพระราชดำริในพน้ื ที่จังหวดั ชมุ พร ให้มีอยูใ่ นหลักสูตรสถานศกึ ษา 2. ต้องการพัฒนาความรู้ความเข้าในในการเลี้ยงดูบุตรให้แก่ผู้ปกครอง และให้มีส่วนร่วมใน การพัฒนาการศึกษาของผ้เู รยี น 3. ต้องการให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค ผู้เรียนกลุ่มนักเรียนต่างด้าว นักเรียนด้อยโอกาส นักเรียนต้องการการดูแลพิเศษ และนักเรียนมีความต้องการพิเศษ ได้รับ การศกึ ษาอยา่ งเหมาะสม สอดคล้องกบั ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล 4. ต้องการให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ เลือกเรียนรู้ตามความต้องการที่แท้จริงของ ตนเอง พัฒนานวัตกรรมเพื่อใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น สร้างความภาคภูมิ คนชุมพร เรียนชุมพร จบ ชมุ พร พัฒนาชมุ พร และมงุ่ ส่สู ากล 5. ต้องการให้ครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา นำความรู้ นวตั กรรมและภูมิปัญญาใน ท้องถน่ิ ชุมพร ไปปรับใชใ้ นการจดั กิจกรรมการรขู้ องผเู้ รียน ผ่านเทคโนโลยี วธิ ีการทเี่ หมาะสม ทันสมยั การจัดทำระบบเครือขา่ ย จำเป็นจะต้องเป็นเครือขา่ ยทีใ่ ชพ้ น้ื ทจ่ี ังหวัดชุมพรเป็นฐานการรวมตัว ของทุกภาคส่วนประกอบไปด้วยภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และท้องถิ่น นอกจากนี้ยังจะต้องมี การจัดทำฐานข้อมูลกลาง ที่เป็นข้อมูลด้านการศึกษา ข้อมูลเชิงมิติสังคม ข้อมูลเด็กในพื้นที่ทั้งเด็กใน ระบบ นอกระบบ เด็กด้อยโอกาส เด็กตกหล่น เด็กต่างด้าว รวมถึงความต้องการของตลาดแรงงานใน พื้นที่จังหวัดชุมพร ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย ศาล องค์การบรหิ ารสว่ นทอ้ งถิน่ และเอกชน กิจกรรมของสมัชชาการศึกษา เปน็ กิจกรรมทีส่ ่งเสริม และสนบั สนุนเพื่อนำไปสู่เป้หมายที่ตั้งไว้ ซึง่ เป็นกิจกรรมทสี่ อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ ดงั น้ี 1. สง่ เสรมิ ใหส้ ถานศึกษาดำเนินการเพิ่ม/พฒั นาหลกั สูตรด้านการแก้ไขปัญหายาเสพติด ความ มีระเบียบวินัยต่อตนเองและสังคม การรู้จักหน้าที่ก่อนสิทธิ ความรักและการเรียนรู้ท้องถิ่นชุมพร ทกั ษะชวี ิต และโครงการพระราชดำรใิ นพน้ื ท่จี งั หวดั ชุมพร ใหม้ ีอยู่ในหลักสูตรสถานศกึ ษา 2. สง่ เสริม กระตนุ้ พัฒนาความรูค้ วามเข้าในในการเลี้ยงดบู ตุ รให้แกผ่ ปู้ กครอง และให้มีส่วน รว่ มในการพฒั นาการศึกษาของผูเ้ รยี น
| หนา้ ท่ี 95 3. ส่งเสริม สนับสนุนใหผ้ ู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค ผู้เรียนกลุม่ นักเรียนต่าง ด้าว นักเรียนด้อยโอกาส นักเรียนต้องการการดูแลพิเศษ และนักเรียนมีความต้องการพิเศษ ได้รับ การศกึ ษาอย่างเหมาะสม สอดคลอ้ งกบั ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล 4. ส่งเสริมผู้เรียนให้มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ เลือกเรียนรู้ตามความต้องการที่แท้จริงของ ตนเอง พัฒนานวัตกรรมเพ่ือใช้ในการพัฒนาท้องถ่ิน สรา้ งความภาคภมู ิ คนชมุ พร เรียนชมุ พร จบชุมพร พฒั นาชมุ พร และมงุ่ สสู่ ากล 5. ส่งเสริมให้ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา นำความรู้ นวัตกรรมและภูมปิ ัญญาใน ท้องถน่ิ ชมุ พร ไปปรับใช้ในการจดั กจิ กรรมการรขู้ องผู้เรยี น ผา่ นเทคโนโลยี วธิ กี ารที่เหมาะสม ทนั สมยั การจดั ต้ังสมชั ชาการศึกษาจังหวัดชุมพร มกี ารรวมทุกภาคส่วนเข้ามามาสว่ นรว่ ม สร้างรูปแบบ การมีส่วนร่วมตั้งแต่เร่ิมต้น วางแผนการบริหารจัดการ ในสมัชชาเบ้ืองต้นใหม้ ีผู้ว่าราชการจังหวัดชมุ พร ปฏิบตั ิหนา้ ทีเ่ ปน็ ประธานสมชั ชาการศกึ ษาจงั หวดั ชมุ พร และมอี งคการบรหิ ารส่วนท้องถิ่น และประธาน หอการค้าจังหวัดชุมพรปฏิบัติหน้าที่เป็นรองประธานสมัชชาจังหวัดชุมพร โดยมีแนวทางในการ ดำเนินการ ดงั น้ี 1. กำหนดบทบาทอำนาจหนา้ ทขี่ องสมัชชาการศึกษาใหช้ ดั เจน 2. กำหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการ โดยกำหนดให้มีผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ทางดา้ นการศกึ ษาในระดบั จังหวัดและผู้เรียนรวมท้งั หนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวข้องทง้ั หมดในองคป์ ระกอบ 3. สมชั ชาการศกึ ษาระดับจงั หวัดควรมีความเปน็ อิสระในการดำเนินการขบั เคล่ือน 4. กำหนดบทบาทหน้าท่ีของสมัชชาในด้านการมีสว่ นรว่ มต่อการยกร่างกฎหมายที่เก่ียวข้อง และเกีย่ วข้องกับความก้าวหน้าในตำแหน่งอาชีพของครู 5. กำหนดรปู แบบ แนวทางการติดตามและประเมนิ ผลการดำเนนิ งาน 6. กำหนดแนวทางการนำผลมาถอดบทเรียน เพือ่ ปรบั ปรุงพัฒนารวมท้ังเผยแพร่ ประชาสมั พันธผ์ ลการดำเนนิ งานต่อผู้ที่เกีย่ วขอ้ งและสาธารณชน 7. ควรมีการจัดกจิ กรรมเพ่ือสร้างแรงบันดาลใจจากบคุ คลต้นแบบของจงั หวดั ชมุ พร 8. ทกุ ความรว่ มมอื ต้องมอี สิ ระ/ไม่เพ่มิ ภาระใหส้ ถานศึกษา/ร่วมกับส่วนกลาง 9. การผลักดนั ความต้องการทางการศึกษาเปน็ นโยบายสาธารณะ 10. การจดั การความรูแ้ ละพฒั นาศกั ยภาพของคนในเครือขา่ ย 11. ใช้การส่อื สารเชงิ สร้างสรรค์ผา่ นสอื่ เทคโนโลยี 12. พฒั นางานวิจยั ทางการศกึ ษาในพืน้ ที่ ตามเป้าหมายในการทำงานของสมัชชา โดยความร่วมมอื ของสถาบนั อดุ มศึกษาในพื้นท่ี ปราชญ์ชาวบา้ น และผู้เก่ียวข้อง 13. ควรส่งเสริมให้มงี านวิจัยทางการศึกษาระดบั พื้นทเี่ พิ่มมากขึ้น 14. ประชาสัมพันธ์ทศิ ทาง โลกของงานในปจั จบุ ันและอนาคตให้ผปู้ กครองทราบ
| หน้าท่ี 96 ส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งที่สมัชชาการศึกษาในจังหวัดชุมพรสามารถที่ขับเคลื่อนไปได้เพื่อให้เกดิ คุณภาพในการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่อย่างแท้จริง นั้นก็คือกฎหมายจึงจำเป็นต้องการการทบทวนหรือ ปรับแก้กฎหมายบางตัวที่จะมาสนับสนุนการดำเนินงานการส่งเสริม สนับสนุนการจดั การศึกษาในพื้นท่ี โดยผ่านการมีส่วนรว่ ม รวมทัง้ สภาการศกึ ษาจำเปน็ จะต้องเป็นศนู ยข์ ้อมลู กลางท่ีสามารถเชอ่ื มโยงข้อมูล ระหว่างสมัชชาการศึกษาจงั หวัดชุมพรกับส่วนกลาง สนบั สนุนงบประมาณ งานวิชาการ และบคุ ลากรใน เบือ้ งตน้ วางโครงการและกิจกรรมสนับสนุนสามารถนำสง่ิ ท่ีไดไ้ ปขยายยงั จังหวดั อ่ืนๆ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าในการดำเนินการจัดตั้งสมัชชาในพื้นที่จังหวัดชุมพร ก็เริ่มจากการจัดตั้ง สมัชชาจังหวัดชุมพร จัดทำและสร้างฐานข้อมูล มีการแก้ไขกฎหมายบางตัวเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการ ขับเคล่อื นงานของสมัชชาในพื้นที่ มกี ารประเมิน และตดิ ตาม ได้มาซึ่งข้อมูลสำคัญท่สี ามารถนำไปขยาย ต่อในพ้นื ทีอ่ นื่ ๆ และสง่ ผลใหพ้ นื้ ทีจ่ งั หวัดชุมพรมีพลเมืองท่เี ข้มแข็ง มคี วามรบั ผิดชอบตอ่ บ้านเมือง และ สังคม มีทักษะชีวิตสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีความสามารถในเรื่องที่ตนถนัด และสามารถประกอบอาชพี ได้ ข้นั ตอนท่ี 3 ผลการเพ่ือจัดทำขอ้ เสนอการปรบั ปรงุ กฎหมายการศึกษาและกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้อง เพื่อให้การบริหารจัดการของคณะบุคคลที่ดูแลด้านการศึกษาในระดับจังหวัดชุมพรดำเนินการได้อย่าง มีประสิทธภิ าพ จากแบบสอบถามความคิดเห็นเรื่อง แนวทางการพฒั นากฎหมายเพื่อนำร่องรปู แบบการตั้งคณะ บุคคลในระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวัดชุมพร) โดยกลุ่ม ประชากร คณะกรรมการการศกึ ษาธกิ ารจังหวัดชุมพร (กศจ.) และผูช้ ว่ ยเลขานุการ จำนวน 17 คน พบวา่ 1. สถานภาพผู้ตอบแบบสอบถาม ผตู้ อบแบบสอบถามทง้ั หมด 17 คน จำแนกตามสถานภาพไดด้ งั น้ี เพศ - เพศชาย จำนวน 14 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 82.35 - เพศหญงิ จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 17.65 อายุ - อายุ 51 ปขี ้ึนไป จำนวน 17 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 ประสบการณ์การทำงานด้านการศึกษาของจงั หวดั ชุมพร - 11-15 ปี จำนวน 2 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 11.76 - 16-20 ปี จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 17.65 - 21-25 ปี จำนวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 35.29 - 26 ปีขึน้ ไป จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 35.29 วุฒิการศกึ ษา - ปรญิ ญาตรี จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 5.88 - ปริญญาโท จำนวน 15 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 88.24 - ปรญิ ญาเอก จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 5.88
| หน้าที่ 97 2. ข้อเสนอการปรบั ปรุงกฎหมายการศึกษาและกฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง ตารางที่ 5 แสดงค่าความคิดเห็นของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดชุมพรที่มีต่อข้อเสนอการแก้ไข ปรับปรุงกฎหมายการศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องจากการสัมภาษณ์เชิงลึกและ Focus Group จากผเู้ ช่ยี วชาญ ท่ี รายการ ระดบั ความคิดเหน็ แปลผล ������̅ S.D. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 วรรคสาม (ควรเพม่ิ เติม รายละเอยี ด ดงั นี้) 1 ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการใน 4.47 0.78 มาก ระบบต่าง ๆ อย่างมีคุณภาพ เสมอภาค ทั่วถึง และเป็นธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ ตลอดชวี ิต 2 จัดให้มีการรว่ มมือกันระหว่างรฐั องค์กรปกครอง 4.41 0.77 มาก สว่ นท้องถ่นิ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคมใน การจดั การศึกษา ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ ของคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูปการศึกษา ท่ผี า่ นการพจิ ารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เม่อื วันท่ี 30 เมษายน 2562 3 มาตรา 82 คณะกรรมการนโยบายการศึกษา 4.41 0.77 มาก แหง่ ชาติ ควรเพ่มิ เติมเลขาธิการครุ ุสภาพ ผแู้ ทน ครู และผ้แู ทนผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 4 ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 24) 4.59 0.60 มากที่สุด ในแต่ละจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มี การประชุมร่วมกันของประธานในคณะกรรมการ สถานศึกษาตามมาตรา 23 ทุกแห่งอย่างน้อย ปลี ะ 2 คร้งั (เดมิ 1 ครงั้ ) 5 คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 23) ควรมี 4.29 0.82 มาก บุคคลที่เกี่ยวข้องกับนโยบายของท้องถิ่นเหล่าน้ี เป็นกรรมการในตำแหน่ง ได้แก่ นายกเทศมนตรี นายก อบต. ผอ.รพ.สง่ เสรมิ สุขภาพตำบล ผกก. สถานีตำรวจภูธรในท้องถิน่
| หนา้ ท่ี 98 ท่ี รายการ ระดับความคิดเห็น แปลผล ������̅ S.D. มาก 6 คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 23) ควรมี 4.35 0.76 บุคคลที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยของนักเรียน มาก และบุคลากรเป็นกรรมการในตำแหน่ง ได้แก่ 4.41 0.69 ผอ.รพ.ส่งเสริมสุขภาพตำบล ผกก.สถานี มาก ตำรวจภธู รในพืน้ ท่ี 4.35 0.84 มาก 7 มาตรา 18 เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ 4.47 0.85 มากที่สุด ตามมาตรา 11 วรรคหนึ่ง (6) ประชาชนซึ่งมี 4.71 0.57 ภูมิลำเนาหรือเป็นธุรกิจที่เกี่ยวข้องหรือมี เครือข่ายในจังหวัดใด อาจรวมตัวกันเป็นคณะ บุคคล เพ่ือใหก้ ารสง่ เสริม สนับสนุน ชว่ ยเหลือ เสนอแนะ อุดหนุน หรือให้ความร่วมมือในการ จัดการศึกษาของสถานศึกษาในจังหวัดนั้นหรือ จังหวัดใกลเ้ คยี งได้ 8 มาตรา 24 (7) เอกชน เพิ่มเติมเป็น เอกชน หรือบุคคลที่เก่ียวข้องมาร่วมประชุม มสี ่วนร่วม/ ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ข้อมูลหรือแสดงความ คิดเห็นได้ ให้เปน็ หนา้ ท่ขี องคณะกรรมการ นโยบายทจ่ี ะตอ้ งปรบั ปรุงระเบียบตามวรรคสอง 9 กฎหมายควรให้อำนาจในการบริหารจัดการของ องค์คณะตามมาตราที่ 18 อยา่ งแท้จริง 10 ควรมีกฎหมายที่ส่งเสริมให้ข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษานำประเด็นความต้องการ ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษา ไปสู่การปฏิบัติด้วยวิธีการ/รูปแบบต่าง ๆ ตาม ความเหมาะสม จากตารางข้อเสนอการปรับปรุงกฎหมายการศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง จากข้อสรุป การสัมภาษณ์เชิงลึกและ Focus Group ของผู้เชี่ยวชาญและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องด้านการศึกษาของ จังหวัดชุมพร ในตารางที่ 5 แสดงค่าความคิดเห็นของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดชุมพรที่มีต่อ ข้อเสนอการแก้ไข ปรับปรุงกฎหมายการศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องจากการสัมภาษณ์เชิงลึกและ Focus Group จากผู้เชี่ยวชาญ พบว่า คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดชุมพรมีความคิดเห็น สอดคล้องสูงสุดในรายการท่ี 10 ควรมีกฎหมายที่ส่งเสริมให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นำประเด็นความต้องการด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษาไปสู่การปฏิบัติด้วยวิธีการ/ รปู แบบตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม (���̅��� = 4.71, S.D. = 0.57) รองลงมาคอื รายการท่ี 4 ประธาน
| หนา้ ที่ 99 คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 24) ในแต่ละจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุม ร่วมกันของประธานในคณะกรรมการสถานศึกษาตามมาตรา 23 ทุกแห่งอย่างน้อย ปีละ 2 คร้ัง (เดมิ 1 ครงั้ ) (���̅��� = 4.59, S.D. = 0.60) รายการท่ี 1 ประชาชนได้รับการศึกษาตามความตอ้ งการใน ระบบตา่ ง ๆ อยา่ งมีคุณภาพ เสมอภาค ท่วั ถึงและเป็นธรรม รวมท้งั สง่ เสริมใหม้ ีการเรยี นร้ตู ลอดชีวิต (���̅��� = 4.47, S.D. = 0.78) และรายการที่ 9 กฎหมายควรให้อำนาจในการบริหารจัดการขององค์ คณะตามมาตราที่ 18 อย่างแท้จริง (���̅��� = 4.47, S.D. = 0.85) ตามลำดับ และรายการที่มีความ คิดเห็นสอดคล้องต่ำสุดคือ รายการที่ 5 คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 23) ควรมีบุคคลที่ เกี่ยวข้องกบั นโยบายของท้องถ่นิ เหลา่ นี้เปน็ กรรมการในตำแหน่ง ได้แก่ นายกเทศมนตรี นายก อบต. ผอ.รพ.ส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล ผกก.สถานีตำรวจภูธรในทอ้ งถ่ิน (���̅��� = 4.29, S.D. = 0.82)
| หน้าที่ 100 บทท่ี 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ สรุปผลการศึกษา การศึกษาเรื่อง “แนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำร่องรูปแบบการตั้งคณะบุคคล ในระดับ จังหวัด เพื่อพัฒนาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวัดชุมพร)” มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาแนวทางการบูรณาการความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศึกษา กฎหมาย การศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัดชุมพร 2) จัดทำและการนำร่องรูปแบบ กลไก ในการบริหารจัดการของคณะบุคคลที่กำกับดูแลและสนับสนุนการศึกษาในระดับจังหวัดชุมพร โดยมี เป้าหมายและจุดเด่นที่ชัดเจนเป็นการเฉพาะซึ่งสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและส่งผล ต่อการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และ 3) จัดทำข้อเสนอการปรับปรุงกฎหมายการศึกษา และ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การบริหารจัดการของคณะบุคคลที่ดูแลด้านการศึกษาในระดับ จังหวัด ชุมพร ดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการศึกษาแบบผสมผสาน (Mixed Method) ทั้งเชงิ ปริมาณ และเชิงคุณภาพ ทง้ั นี้สรุปผลการศกึ ษาตามวตั ถปุ ระสงค์ ดงั น้ี 1. ผลการศึกษาแนวทางการบูรณาการความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคลเพื่อพัฒนา การศึกษา กฎหมายการศึกษา และกฎหมายท่ีเกี่ยวขอ้ งในระดับจังหวัดชุมพร พบวา่ แนวทางการบูรณา การความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศึกษา กฎหมายการศึกษาและกฎหมายที่ เก่ยี วข้องในระดบั จงั หวัดชมุ พร ดังประเด็นต่อไปน้ี 1.1 กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง (1) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 วรรคสาม กำหนดให้ “รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมท้ัง ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริม และสนับสนุน ให้การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล” ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา และการ ประชมุ อภิปราย ผเู้ กยี่ วข้องกับการจัดการศึกษาทุกภาคส่วนระดับจังหวัด (Focus group discussion) พบว่า ที่ประชุม เห็นด้วยกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 วรรคสาม และมขี อ้ เสนอเพมิ่ เตมิ คอื ประชาชนไดร้ ับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ อย่าง มีคุณภาพ เสมอภาค ทั่วถึงและเป็นธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต จัดให้มีการร่วมมือ กนั ระหวา่ งรัฐ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ และภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมในการจดั การศึกษา (2) ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ ของคณะกรรมการอิสระเพื่อการ ปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา และการประชุมอภิปราย ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกภาคส่วนระดับ จงั หวดั (Focus group discussion) พบว่า ที่ประชมุ ผเู้ กี่ยวข้องทุกฝ่ายเห็นด้วยกับร่างพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ ของคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านการพิจารณาของ คณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 และขอเพิ่มผู้เกี่ยวข้องดังน้ี มาตรา 82 เพ่ิมเลขาธกิ ารครุ สุ ภา /ผูแ้ ทนครู/ ผแู้ ทนผบู้ ริหารสถานศกึ ษา และเห็นด้วยตามกฎหมายที่กำหนด แต่
| หนา้ ที่ 101 ขอเพมิ่ เติม มาตรา 23 ให้บคุ คลเหล่านเ้ี ปน็ กรรมการในตำแหนง่ ได้แก่ นายกเทศมนตรี/นายกองค์การ บริหารส่วนตำบล/ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล(ดูแลเด็ก)/ผู้กำกับการสถานี ตำรวจภธู รในทอ้ งถ่นิ (ความปลอดภยั ) สามารถสรุปโดยภาพรวมให้มีการจัดทำกฎหมายว่าการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่เพื่อให้ เป็นกฎหมาย กลางทเี่ นน้ การบริหารและการจัดการศึกษาให้มีความยืดหยุน่ หลากหลาย การมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วนใน การบริหารและจัดการศึกษา การส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา และปฏิรูป กลไกการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษาและวางกลไกสำคัญให้สอดคล้องกับการจัด องค์กร รวมถึงการจัดองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาตามภารกิจของการจัดการศึกษา ทั้งน้ี จะต้องเป็นไปตามเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 และสอดคล้องกับ แนวทางของยทุ ธศาสตรช์ าติและ แผนการปฏริ ปู ประเทศด้านการศึกษา 1.2 การแต่งตั้งคณะบุคคล ผลการศึกษารูปแบบการจัดตั้งคณะบุคคลของจังหวัด และ ประเทศที่ประสบความสำเร็จ พบว่า รูปแบบการจัดตั้งคณะบุคคลของจังหวัดที่ประสบความสำเร็จ ประกอบดว้ ยการขับเคลื่อนโดยมีหลักการ วัตถปุ ระสงค์ บทบาทหน้าที่ และรูปแบบกลไกความร่วมมือ ที่ชดั เจน ตามแตบ่ ริบทของแต่ละจงั หวัด และประเทศท่ีมผี ลการศึกษารูปแบบการจัดตง้ั คณะบคุ คลของ ประเทศที่ประสบความสำเร็จแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ สิงคโปร์และ ญี่ปุ่น จะเน้นการมีส่วนร่วมใน กำกับของนโยบาย ส่วน ประเทศฟินแลนด์และแคนาดา เน้นการมีส่วนร่วมของภาครฐั และเอกชนตาม บรบิ ทของพ้นื ที่ 1.3 จดั ตง้ั กลุ่มคณะบคุ คลเพอื่ เปน็ กลไกในการรว่ มกันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และ การศึกษา เป็นกลไกผลกั ดันขับเคลื่อนการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษาของจงั หวดั ชุมพร โดย ใช้ชื่อว่า “สมัชชาการศกึ ษาจังหวดั ชุมพร” เพื่อให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ กฎหมายว่าด้วยการศกึ ษาชาติ และโครงการต่าง ๆ ของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษาของ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง โดยมีหลักการ วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ และอำนาจหน้าที่ ตามคิดเห็นของ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ จากประเด็นการสัมภาษณ์เชิงลึก สรุปได้ว่า จากการสัมภาษณ์เชิ งลึก ผ้ทู รงคณุ วุฒิด้านการศกึ ษา ด้านการมสี ่วนรว่ ม ดา้ นกฎหมาย ดา้ นภูมสิ งั คม และด้านนโยบายการศกึ ษา พบวา่ ผูท้ รงคณุ วฒุ ดิ า้ นตา่ ง ๆ มคี วามเห็นสอดคล้องกนั ในทกุ ประเด็นการสัมภาษณ์ 2. จัดทำและการนำร่องรูปแบบกลไก ในการบริหารจัดการของคณะบุคคล ที่กำกับดูแล และ สนับสนุนการศึกษาในระดับจังหวัดชุมพร โดยมีเป้าหมายและจุดเด่นที่ชัดเจนเป็นการเฉพาะ ซึ่งสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและส่งผลต่อการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา จากการ จัดเก็บข้อมูลผ่านการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ และการจัดทำ Focus Group จึงได้จัดทำและการนำร่อง รปู แบบกลไกในการบรหิ ารจัดการของคณะบุคคลท่ีกำกับดูแลและสนับสนนุ ในระดับจงั หวดั ชุมพรโดยมี เปา้ หมายและจดุ เดน่ ท่ีชดั เจนเป็นการเฉพาะ ซง่ึ สามารถดำเนนิ การได้อย่างมีประสิทธภิ าพและส่งผลต่อ การปฏิรูปการศึกษาประเทศด้านการศึกษาของจังหวัดชุมพร พบว่า กลไกในการบริหารจัดการของ คณะบุคคลที่กำกับดูแลและสนับสนุนในระดับจังหวัดชุมพร มีเป้าหมายเพื่อให้การจัดการศึกษาใน จังหวัดชมุ พรได้สร้างคนดี คนเก่ง อยู่อย่างมีความสุข เป็นบุคคลที่รับผดิ ชอบตอ่ สังคม สร้างความเสมอ ภาคทางการศึกษา สร้างหรือผลิตคนสอดคล้องกับตลาดแรงงาน เป็นบคุ คลที่รักถิ่นฐานบ้านเกิดซึ่งเป็น
| หนา้ ท่ี 102 เป้าหมายที่เกิดมาจากความต้องการให้สถานศึกษาดำเนินการเพิ่ม พัฒนาหลักสูตรด้านการแก้ไข ปัญหายาเสพติดความมีระเบียบวินัยต่อตนเองและสังคม การรู้จักหน้าที่ก่อนสิทธิ ความรักและการ เรียนรู้ท้องถิ่นชุมพร ทักษะชีวิต และโครงการพระราชดำริในพื้นที่จังหวัดชุมพร ให้มีอยู่ในหลักสูตร สถานศึกษา มกี ารพฒั นาความรู้ความเข้าในในการเลย้ี งดูบุตรให้แก่ผปู้ กครอง และให้มีส่วนร่วมในการ พัฒนาการศึกษาของผู้เรียน ต้องการให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค ผู้เรียนกลุ่ม นักเรียนต่างด้าว นักเรียนด้อยโอกาส นักเรียนต้องการการดูแลพิเศษ และนักเรียนมีความต้องการ พิเศษ ได้รับการศึกษาอย่างเหมาะสม สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล ต้องการให้ผู้เรียนมี ความคดิ รเิ รม่ิ สร้างสรรค์ เลือกเรียนรู้ตามความต้องการทแี่ ทจ้ รงิ ของตนเอง พฒั นานวัตกรรมเพื่อใช้ ในการพัฒนาท้องถิ่น สร้างความภาคภูมิ คนชุมพร เรียนชุมพร จบชุมพร พัฒนาชุมพร และมุ่งสู่ สากล ต้องการให้ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นำความรู้ นวัตกรรมและภูมิปัญญาใน ท้องถิ่นชุมพร ไปปรับใช้ในการจัดกิจกรรมการรู้ของผู้เรียน ผ่านเทคโนโลยี วิธีการที่เหมาะสม ทนั สมัย การจัดทำระบบเครือข่าย จำเป็นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้พื้นที่จังหวัดชุมพรเป็นฐานการ รวมตัวของทุกภาคส่วนประกอบไปด้วยภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และท้องถิ่น นอกจากนี้ยัง จะต้องมีการจัดทำฐานข้อมูลกลาง ที่เป็นข้อมูลดา้ นการศึกษา ข้อมูลเชิงมิติสงั คม ข้อมูลเด็กในพืน้ ที่ท้ัง เด็กในระบบ นอกระบบ เด็กด้อยโอกาส เด็กตกหล่น เด็กต่างด้าว รวมถึงความต้องการของ ตลาดแรงงานในพื้นที่จังหวัดชุมพร ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย ศาล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น และเอกชน กิจกรรมของสมัชชาการศึกษา เป็น กิจกรรมที่ส่งเสริม และสนับสนุนเพื่อนำไปสู่เป้หมายที่ตั้งไว้ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับความ ตอ้ งการ การจดั ต้ังสมชั ชาการศึกษาจงั หวัดชมุ พร มีการรวมทุกภาคส่วนเข้ามามาสว่ นรว่ ม สรา้ งรปู แบบ การมีส่วนร่วมตั้งแต่เร่มิ ตน้ วางแผนการบริหารจัดการ ในสมัชชาเบื้องตน้ ให้มีผูว้ ่าราชการจังหวัดชุมพร ปฏิบัติหน้าที่เป็นประธานสมัชชาการศึกษาจังหวัดชุมพร และมีองคการบริหารส่วนท้องถิ่น และ ประธานหอการค้าจงั หวัดชุมพรปฏิบัติหนา้ ทเี่ ป็นรองประธานสมัชชาจงั หวดั ชุมพร โดยมีแนวทางในการ ดำเนินการ กำหนดบทบาทอำนาจหน้าที่ของสมัชชาการศึกษาให้ชัดเจน กำหนดองค์ประกอบของ คณะกรรมการ โดยกำหนดให้มผี มู้ ีความรู้ความเชี่ยวชาญ ทางดา้ นการศึกษาในระดบั จังหวดั และผู้เรียน รวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในองค์ประกอบ สมัชชาการศึกษาระดับจังหวัดควรมีความเป็น อิสระในการดำเนินการขับเคล่ือน กำหนดบทบาทหน้าที่ของสมชั ชาในด้านการมีส่วนรว่ มต่อการยกร่าง กฎหมายที่เกี่ยวข้อง และเกี่ยวข้องกับความก้าวหน้าในตำแหน่งอาชีพของครู กำหนดรูปแบบ แนวทางการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน กำหนดแนวทางการนำผลมาถอดบทเรียน เพื่อ ปรับปรุงพัฒนารวมทั้งเผยแพร่ มีการประชาสัมพันธผ์ ลการดำเนินงานตอ่ ผู้ที่เกีย่ วข้องและสาธารณชน มีการจัดกิจกรรมเพื่อสร้างแรงบันดาลใจจากบุคคลต้นแบบของจังหวัดชุมพร ทุกความร่วมมือต้องมี อิสระ/ไม่เพิ่มภาระให้สถานศึกษา/ร่วมกับส่วนกลาง การผลักดันความต้องการทางการศึกษาเป็น นโยบายสาธารณะ การจัดการความรู้และพัฒนาศักยภาพของคนในเครือข่าย ใช้การสื่อสารเชิง
| หน้าท่ี 103 สร้างสรรค์ผ่านสื่อเทคโนโลยีพัฒนางานวิจัยทางการศึกษาในพื้นที่ ตามเป้าหมายในการทำงานของ สมัชชา โดยความร่วมมือของสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่ ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้เกี่ยวข้อง ควรส่งเสริม ให้มีงานวิจัยทางการศึกษาระดับพ้ืนที่เพิ่มมากขึ้น ประชาสัมพันธ์ทิศทาง โลกของงานในปัจจุบันและ อนาคตให้ผ้ปู กครองทราบ สว่ นสำคญั อีกสว่ นหน่ึงทสี่ มชั ชาการศึกษาในจังหวัดชุมพรสามารถท่ีขับเคล่ือนไปได้เพื่อให้เกิด คุณภาพในการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่อย่างแท้จริง นั้นก็คือกฎหมายจึงจำเป็นต้องการการทบทวนหรือ ปรบั แก้กฎหมายบางตัวท่ีจะมาสนับสนนุ การดำเนินงานการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาในพื้นท่ี โดยผ่านการมีส่วนร่วม รวมทั้งสภาการศึกษาจำเป็นจะต้องเป็นศูนย์ข้อมูลกลางที่สามารถเชื่อมโยง ข้อมูลระหว่างสมัชชาการศึกษาจังหวัดชุมพรกับส่วนกลาง สนับสนุนงบประมาณ งานวิชาการ และ บคุ ลากรในเบือ้ งต้น วางโครงการและกจิ กรรมสนบั สนนุ สามารถนำสงิ่ ทีไ่ ดไ้ ปขยายยังจงั หวัดอนื่ ๆ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าในการดำเนินการจัดตั้งสมัชชาในพื้นที่จังหวัดชุมพร ก็เริ่มจากการจัดตั้ง สมัชชาจังหวัดชุมพร จัดทำและสร้างฐานข้อมูล มีการแก้ไขกฎหมายบางตัวเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการ ขบั เคล่อื นงานของสมชั ชาในพ้ืนที่ มกี ารประเมิน และติดตาม ไดม้ าซึ่งข้อมูลสำคัญท่ีสามารถนำไปขยาย ต่อในพน้ื ทอี่ ่ืนๆ และสง่ ผลให้พนื้ ที่จงั หวดั ชุมพรมีพลเมืองทเ่ี ข้มแขง็ มคี วามรบั ผดิ ชอบต่อบ้านเมือง และ สังคม มีทักษะชีวิตสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีความสามารถในเรื่องที่ตนถนัด และสามารถประกอบอาชีพได้ 3. จัดทำข้อเสนอการปรับปรุงกฎหมายการศึกษา และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง พบว่า คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดชุมพรมีความคดิ เหน็ สอดคล้องสูงสุด คือ ควรมีกฎหมายที่ส่งเสริมให้ ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษานำประเด็นความต้องการด้านการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์และ การศึกษาไปสู่การปฏิบัติด้วยวิธีการ/รูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม รองลงมาคือ ประธาน คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 24) ในแต่ละจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุม ร่วมกันของประธานในคณะกรรมการสถานศึกษาตามมาตรา 23 ทุกแห่งอย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง (เดิม 1 ครั้ง) ประชาชนไดร้ ับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ อย่างมีคุณภาพ เสมอภาค ทั่วถึงและเป็นธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ กฎหมายควรให้อำนาจในการ บริหารจัดการขององค์คณะตามมาตราที่ 18 อย่างแท้จริง ตามลำดับ และรายการที่มีความคิดเห็น สอดคลอ้ งต่ำสดุ คือ คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 23) ควรมบี ุคคลทีเ่ กี่ยวข้องกับนโยบายของ ทอ้ งถิน่ เหล่านีเ้ ปน็ กรรมการในตำแหน่ง ไดแ้ ก่ นายกเทศมนตรี นายก อบต. ผอ.รพ.สง่ เสริมสุขภาพ ตำบล ผกก.สถานตี ำรวจภูธรในทอ้ งถิ่น อภปิ รายผล การศกึ ษาเรื่อง “แนวทางการพฒั นากฎหมายเพื่อนำรอ่ งรูปแบบการต้งั คณะบคุ คล ในระดับ จังหวดั เพื่อพัฒนาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวัดชุมพร)” มีประเด็นที่น่าสนใจ และ นำมาอภปิ รายผล ดังนี้ 1. ผลการศึกษาแนวทางการบูรณาการความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคลเพื่อพัฒนา การศึกษา กฎหมายการศึกษา และกฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ งในระดับจงั หวดั ชุมพร พบว่าแนวทางการบูรณา
| หน้าท่ี 104 การความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศึกษา กฎหมายการศึกษาและกฎหมายท่ี เกี่ยวขอ้ งในระดับจังหวดั ชมุ พร ดังประเด็นต่อไปนี้ 1.1 กฎหมายทเี่ ก่ยี วข้อง (1) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 วรรคสาม กำหนดให้ “รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมท้ัง ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคเอกชนในการจดั การศึกษาทุกระดบั โดยรฐั มหี นา้ ทด่ี ำเนินการ กำกับ สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้ การจัดการศึกษาดังกล่าวมีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล” พบว่า ที่ประชุม เห็นด้วยกับรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 วรรคสาม และมีข้อเสนอเพิ่มเติม คือ ประชาชน ได้รบั การศึกษาตามความตอ้ งการในระบบต่าง ๆ อย่างมคี ุณภาพ เสมอภาค ทว่ั ถงึ และเป็นธรรม รวมท้ัง ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต จัดให้มีการร่วมมือกันระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคมในการจดั การศึกษา ผลการศึกษาแสดงให้เห็นวา่ ในการจัดการศึกษา หรอื การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในเชิงพ้นื ที่ต้องเป็นกฎหมายท่สี นับสนุนความรว่ มมือจากทุกภาคส่วน ในพื้นท่ี และในร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติฉบับใหม่ ของคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรปู การศึกษาที่ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษา และการประชุมอภิปราย ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาทุกภาคส่วนระดับ จังหวดั (Focus group discussion) พบวา่ ทป่ี ระชมุ ผเู้ ก่ียวข้องทุกฝ่ายเห็นด้วยกับร่างพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ ของคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านการพิจารณาของ คณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2562 และขอเพิ่มผู้เกี่ยวข้องดังน้ี มาตรา 82 เพ่มิ เลขาธิการคุรสุ ภา /ผูแ้ ทนคร/ู ผู้แทนผ้บู ริหารสถานศกึ ษา และเห็นด้วยตามกฎหมายที่กำหนด แต่ ขอเพ่ิมเตมิ มาตรา 23 ใหบ้ คุ คลเหลา่ นเี้ ป็นกรรมการในตำแหนง่ ได้แก่ นายกเทศมนตร/ี นายกองค์การ บริหารส่วนตำบล/ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตำบล(ดูแลเด็ก)/ผู้กำกับการสถานี ตำรวจภูธรในท้องถิ่น(ความปลอดภัย) ซึ่งสอดคล้องกับเอกพล ดวงศรี (2563) ได้ศึกษารูปแบบการมี ส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของประชาชนตามร่างพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่ โดย ศึกษาวเิ คราะหข์ อ้ มูลจากรา่ งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบบั ใหม่และเอกสาร ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง พบว่า ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมีเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดย สามารถ แบง่ รูปแบบการมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาออกเป็น 3 ระดบั คือรูปแบบการมสี ่วนร่วมระดับจังหวัด รูปแบบการมีส่วนร่วมที่เชื่อมต่อจากระดับสถานศึกษา คือ รูปแบบการมีส่วนร่วมระดับจังหวัด ประกอบด้วยกลไก 6 ส่วน ดังนี้ คณะบุคคล มาตรา 18 ได้วางกลไกการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ภาคประชาสังคม และภาคส่วน ต่าง ๆ ในพื้นที่ โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนท่ีต้องการเข้ามามีส่วนร่วม สามารถรวมตัวกนั เปน็ คณะบุคคลในรปู แบบต่าง ๆ เช่น กลุม่ สภา คณะ หรือช่อื เรียกอ่ืน ๆ ซง่ึ อาจมีช่ือ เรียกแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับบริบทของพื้นที่ โดยองค์ประกอบของคณะบุคคล ควรประกอบด้วย “บุคคลจากทุกภาคส่วน” ได้แก่ (1) ผู้แทนภาครัฐ (2) ผู้แทนภาคเอกชน (3) ผู้แทนภาควิชาการ (4) ผู้แทน ภาคศาสนา (5) ผู้แทนภาควิชาชีพ/ประชาสังคม (6) ผู้แทนภาคสื่อมวลชน (7) ผู้แทนภาค
| หน้าที่ 105 ประชาชน และ (8) อื่น ๆ ตาม ความเหมาะสมของพื้นที่ และสอดคล้องกับจิตตวดี ทองทั่ว (2557) ศึกษาการพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับการจัด คือ การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วม ของชุมชนสำหรับการจัดกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิตในสถานศึกษา โดยวิธีการวิจัยแบบผสมผสาน พบว่า สภาพการมีส่วนร่วมของชุมชนสำหรับการจัดกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิตในสถานศึกษาโดย ภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และผลการเปรียบเทียบปัจจัยการมีส่วนร่วมของชมชนสำหรับการจัด กิจกรรมการศกึ ษาตลอดชวี ติ ในสถานศึกษา ดา้ นสถานศึกษา พบปจั จัยทีส่ อดคล้องกัน 6 ด้าน คือ ผู้บริหาร ครู การปฏิบัตงิ านของโรงเรียน คณะกรรมการสถานศึกษา การสร้างเครอื ข่าย และ การจดั กจิ กรรมการ เรียนรู้ ด้านชุมชน มี 6 ดา้ น คือ ผ้นู ำชุมชน ความสมั พันธภ์ ายในชุมชน ทรัพยากรและแหลง่ เรียนรู้ การ สร้างกลุ่มและเครือข่ายในชุมชน การกำหนดบทบาทความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้สามารถ สรุปโดยภาพรวมใหม้ ีการจดั ทำกฎหมายว่าการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่เพื่อให้เปน็ กฎหมาย กลางที่เน้น การบริหารและการจัดการศึกษาให้มีความยืดหยุ่นหลากหลาย การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนใน การ บริหารและจัดการศึกษา การส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดการศึกษา และปฏริ ูปกลไกการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษาและวางกลไกสำคัญให้สอดคล้องกับการจัดองค์กร รวมถึงการจัดองค์กร ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษาตามภารกิจของการจัดการศึกษา ทั้งน้ี จะต้องเป็นไปตามเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 และสอดคล้องกับแนวทางของยทุ ธศาสตร์ชาตแิ ละ แผนการปฏิรปู ประเทศด้านการศึกษา 1.2 การแต่งตั้งคณะบุคคล ผลการศึกษารูปแบบการจัดตั้งคณะบุคคลของจังหวัด และ ประเทศที่ประสบความสำเร็จ พบว่า รูปแบบการจัดตั้งคณะบุคคลของจังหวัดที่ประสบความสำเร็จ ประกอบด้วยการขับเคลื่อนโดยมีหลักการ วัตถปุ ระสงค์ บทบาทหน้าที่ และรปู แบบกลไกความร่วมมือ ท่ีชัดเจน ตามแต่บริบทของแตล่ ะจังหวัด และประเทศท่ีมผี ลการศกึ ษารปู แบบการจัดตง้ั คณะบุคคลของ ประเทศที่ประสบความสำเร็จแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ สิงคโปร์และ ญี่ปุ่น จะเน้นการมีส่วนร่วมใน กำกับของนโยบาย ส่วน ประเทศฟินแลนด์และแคนาดา เน้นการมีส่วนร่วมของภาครัฐและเอกชนตาม บริบทของพื้นท่ี จัดตั้งกลุ่มคณะบุคคลเพื่อเป็นกลไกในการร่วมกันพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และ การศกึ ษา เปน็ กลไกผลกั ดันขับเคล่ือนการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษาของจังหวัดชมุ พร โดย ใช้ช่อื วา่ “สมชั ชาการศึกษาจงั หวดั ชุมพร” เพื่อใหเ้ ป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย 2560 ยุทธศาสตรช์ าติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนปฏิรูปประเทศ กฎหมายว่าดว้ ยการศึกษาชาติ และโครงการต่าง ๆ ของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และการศึกษาของ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง โดยมีหลักการ วัตถุประสงค์ องค์ประกอบ และอำนาจหน้าท่ี ตามคิดเห็นของ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านต่าง ๆ จากประเด็นการสัมภาษณ์เชิงลึก สรุปได้ว่า จากการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา ด้านการมีส่วนร่วม ด้านกฎหมาย ด้านภูมิสังคม และด้านนโยบาย การศึกษา พบวา่ ผู้ทรงคุณวุฒดิ ้านต่าง ๆ มคี วามเห็นสอดคล้องกนั ในทุกประเดน็ การสัมภาษณ์ แสดงว่า ในการจดั ตั้งกลุม่ คณะบุคล และรปู แบบการจดั ตง้ั องคณ์ ะบุคคลในพ้ืนทนี่ น้ั จำเปน็ จะต้องมีองคป์ ระกอบ สำคัญในหลายมิติทั้งมิติการมีส่วนร่วม มิติของกฎหมาย มิติของภูมิสังคม และมิติของนโยบายด้าน การศกึ ษา ซ่ึงทงั้ 4 มิตินั้นสอดคลอ้ งกบั เอกพล ดวงศรี (2563) ไดศ้ ึกษารูปแบบการมสี ่วนร่วมในการจัด การศึกษาของประชาชนตามรา่ งพระราชบญั ญัติ การศึกษาแหง่ ชาติฉบบั ใหม่ โดยศึกษาวิเคราะห์ข้อมูล จากร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาตฉิ บบั ใหม่และเอกสาร ทเี่ ก่ยี วขอ้ ง พบว่า ร่างพระราชบัญญัติ
| หน้าที่ 106 ดังกล่าวมีเจตนารมณ์ที่จะส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดย สามารถแบ่งรูปแบบการมี ส่วนร่วมในการจัดการศึกษาออกเป็น 3 ระดับ คือรูปแบบการมีส่วนร่วมระดับจังหวัด รูปแบบการมี สว่ นรว่ มทเ่ี ชือ่ มตอ่ จากระดบั สถานศึกษา คือ รปู แบบการมสี ว่ นรว่ มระดบั จังหวดั ประกอบดว้ ยกลไก 6 ส่วน ดังน้ี คณะบคุ คล มาตรา 18 ได้วางกลไกการมีสว่ นร่วมของภาคประชาชน ภาคประชาสังคม และ ภาคส่วน ตา่ ง ๆ ในพนื้ ที่ โดยเปิดโอกาสให้ประชาชนท่ีต้องการเขา้ มามีสว่ นรว่ มสามารถรวมตัวกันเป็น คณะบุคคลในรูปแบบต่าง ๆ เช่น กลุ่ม สภา คณะ หรือชื่อเรียกอื่น ๆ ซึ่งอาจมีชื่อเรียกแตกต่างกันไป ข้นึ อยกู่ ับบรบิ ทของพ้ืนท่ี โดยองค์ประกอบของคณะบุคคล ควรประกอบด้วย “บุคคลจากทุกภาคส่วน” ไดแ้ ก่ (1) ผู้แทนภาครัฐ (2) ผ้แู ทนภาคเอกชน (3) ผูแ้ ทนภาควชิ าการ (4) ผูแ้ ทน ภาคศาสนา (5) ผู้แทน ภาควิชาชีพ/ประชาสังคม (6) ผู้แทนภาคสื่อมวลชน (7) ผู้แทนภาคประชาชน และ (8) อื่น ๆ ตาม ความเหมาะสมของพ้ืนท่ี 2. จัดทำและการนำร่องรูปแบบกลไก ในการบริหารจัดการของคณะบุคคล ที่กำกับดูแล และ สนับสนุนการศึกษาในระดับจังหวัดชุมพร โดยมีเป้าหมายและจุดเด่นที่ชัดเจนเป็นการเฉพาะ ซึ่งสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพและส่งผลต่อการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา จากการ จัดเก็บข้อมูลผ่านการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ และการจัดทำ Focus Group จึงได้จัดทำและการนำร่อง รูปแบบกลไกในการบรหิ ารจัดการของคณะบุคคลท่ีกำกับดูแลและสนบั สนนุ ในระดบั จังหวัดชุมพรโดยมี เปา้ หมายและจุดเด่นที่ชัดเจนเปน็ การเฉพาะ ซง่ึ สามารถดำเนินการได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพและส่งผลต่อ การปฏริ ูปการศกึ ษาประเทศด้านการศึกษาของจังหวัดชมุ พร พบวา่ กลไกในการบรหิ ารจัดการของคณะ บุคคลที่กำกับดูแลและสนับสนุนในระดับจังหวัดชุมพร มีเป้าหมายเพื่อให้การจัดการศึกษาในจังหวัด ชุมพรได้สรา้ งคนดี คนเก่ง อยู่อย่างมีความสุข เป็นบคุ คลท่รี บั ผิดชอบตอ่ สังคม สร้างความเสมอภาคทาง การศึกษา สร้างหรอื ผลติ คนสอดคลอ้ งกบั ตลาดแรงงาน เป็นบคุ คลทรี่ ักถน่ิ ฐานบ้านเกิดซึง่ เปน็ เป้าหมาย ทีเ่ กดิ มาจากความต้องการให้สถานศกึ ษาดำเนนิ การเพ่ิม พฒั นาหลกั สูตรด้านการแกไ้ ขปัญหายาเสพติด ความมรี ะเบยี บวนิ ยั ต่อตนเองและสังคม การรจู้ กั หน้าทีก่ ่อนสทิ ธิ ความรักและการเรียนร้ทู ้องถิน่ ชุมพร ทักษะชวี ติ และโครงการพระราชดำรใิ นพืน้ ท่ีจงั หวดั ชุมพร ใหม้ ีอยใู่ นหลักสูตรสถานศึกษา มีการพฒั นา ความรู้ความเข้าในในการเลี้ยงดูบุตรให้แก่ผู้ปกครอง และให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษาของ ผู้เรียน ต้องการให้ผู้เรียนทุกคนได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค ผู้เรียนกลุ่มนักเรียนต่างด้าว นักเรียน ด้อยโอกาส นักเรียนตอ้ งการการดูแลพิเศษ และนักเรียนมีความต้องการพิเศษ ได้รับการศึกษาอยา่ ง เหมาะสม สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล ต้องการให้ผู้เรียนมีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ เลือกเรียนรู้ตามความต้องการท่ีแท้จริงของตนเอง พัฒนานวัตกรรมเพื่อใช้ในการพัฒนาท้องถิ่น สร้าง ความภาคภูมิ คนชุมพร เรียนชมุ พร จบชุมพร พัฒนาชมุ พร และมุ่งสูส่ ากล ต้องการให้ครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นำความรู้ นวัตกรรมและภูมิปัญญาในท้องถิ่นชุมพร ไปปรับใช้ในการจัด กิจกรรมการรู้ของผู้เรียน ผ่านเทคโนโลยี วิธีการที่เหมาะสม ทันสมัย จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า ในการจัดตั้งองค์คณะบุคคลนั้น กลไกที่ต้องมองเบื้องต้นคือความต้องการเชิงพื่นที่ สอดคล้องกับ พิมพ์ ปรียวาท น้อยคล้าย (2559) ได้ทำการศึกษาแนวทางการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารโรงเรียน สังกัดเทศบาลนครพระนครศรีอยุธยา พบว่า แนวทางการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารโรงเรียน สังกดั เทศบาลนครพระนครศรีอยธุ ยา มี 5 ด้าน ดังนี้ ด้านที่ 1 การมีส่วนร่วมในการวางแผน ไดแ้ ก่ การ มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนกลยทุ ธ์ของโรงเรียน การมีส่วนร่วมในการวางแผนปฏิบตั ิการประจำปี และ การมีส่วนร่วมในการวางแผนสนับสนุนงานด้านงบประมาณ จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ชุมชนมีส่วนร่วมในการรับรู้เกี่ยวกับปัญหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหาในโรงเรียน ชุมชนมีส่วน
| หนา้ ท่ี 107 ร่วมในการจัดทำหลักสตู รและแผนงานต่างๆ ของโรงเรียนชุมชนมีส่วนร่วมในการสนบั สนุนกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียน ชุมชนมีส่วนร่วมในการวางแผนสนับสนุนงานด้านงบประมาณในกิจกรรมต่าง ๆ ของ โรงเรยี น และชมุ ชนมีส่วนร่วมในการวางแผนการพฒั นาครูและบุคลากรในโรงเรียน ดา้ นท่ี 2 การมีส่วน ร่วมในการตัดสินใจ ได้แก่ การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจในการพัฒนาข้อมูล สารสนเทศ การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจในการปรับสภาพภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมของสถานศึกษา และการมีส่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็นและตัดสนิ ใจในการจดั ทำแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของ โรงเรียน จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ชุมชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและ ตัดสินใจในการจัดการศึกษาของโรงเรียน ชุมชนมสี ่วนรว่ มในการแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจในการ จัดทำหลักสูตรของโรงเรียน ชุมชนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจในการจัดกิจกรรม ต่างๆ ของโรงเรียน ชุมชน มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและตัดสินใจคัดสรรคณะกรรมการท่ี ปรึกษาในการบริหารโรงเรียน ได้แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองเครือข่าย และ ชุมชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจสนับสนุน งบประมาณและวิธีการใช้สื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ของโรงเรียน ด้านที่ 3 การมีส่วนร่วมในการระดมทรัพยากรและเทคโนโลยีท้องถิ่นได้แก่ การมีส่วนร่วมในการระดม ทรัพยากรในรูปแบบต่าง ๆ เช่น การสร้างห้องสมุดมีชีวิต ห้องอัจฉริยะ ฯลฯเพื่อพัฒนาโรงเรียนการมี สวนร่วมในการติดต่อเพื่อแสวงหาแหล่งทุนจากภายในและภายนอกท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมในการ ชวนบคุ ลากรในท้องถน่ิ ท่ีมีความรู้ ความสามารถและเช่ยี วชาญด้านต่าง ๆ เขา้ มาเปน็ วิทยากรให้ความรู้ กับครูและนกั เรยี น จากการสมั ภาษณผ์ ูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา พบวา่ ชุมชนมสี ว่ นร่วมในการสนบั สนุน ดา้ น งบประมาณในการพัฒนาโรงเรียน ชุมชนมีส่วนรว่ มการสนับสนนุ งบประมาณในการติดต่อเพื่อแสวงหา และการจัดทำระบบเครือข่าย จำเป็นจะต้องเป็นเครือข่ายที่ใช้พื้นที่จังหวัดชุมพรเป็นฐานการรวมตัว ของทุกภาคส่วนประกอบไปดว้ ยภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาชน และท้องถ่ิน นอกจากนี้ยังจะต้องมี การจัดทำฐานข้อมูลกลาง ที่เป็นข้อมูลด้านการศึกษา ข้อมูลเชิงมิติสังคม ข้อมูลเด็กในพื้นที่ทั้งเด็กใน ระบบ นอกระบบ เด็กด้อยโอกาส เด็กตกหล่น เด็กต่างด้าว รวมถึงความต้องการของตลาดแรงงานใน พื้นที่จังหวัดชุมพร ผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมจากกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงมหาดไทย ศาล องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น และเอกชน กิจกรรมของสมัชชาการศึกษา เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริม และ สนับสนุนเพื่อนำไปสู่เป้หมายที่ตั้งไว้ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการ การจัดตั้งสมัชชา การศึกษาจังหวัดชุมพร มีการรวมทุกภาคส่วนเข้ามามาส่วนร่วม สร้างรูปแบบการมีส่วนร่วมตั้งแต่ เริ่มต้น วางแผนการบริหารจัดการ ในสมัชชาเบื้องต้นให้มีผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร ปฏิบัติหน้าที่เป็น ประธานสมัชชาการศึกษาจังหวัดชุมพร และมีองคการบริหารส่วนท้องถิ่น และประธานหอการค้า จังหวัดชุมพรปฏิบัติหน้าที่เป็นรองประธานสมัชชาจังหวัดชุมพร โดยมีแนวทางในการดำเนินการ กำหนดบทบาทอำนาจหน้าที่ของสมัชชาการศึกษาให้ชัดเจน กำหนดองค์ประกอบของคณะกรรมการ โดยกำหนดให้มีผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ ทางด้านการศึกษาในระดับจังหวัดและผู้เรียนรวมทั้ง หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องทง้ั หมดในองคป์ ระกอบ สมัชชาการศกึ ษาระดับจงั หวดั ควรมีความเปน็ อสิ ระในการ ดำเนินการขับเคลื่อน กำหนดบทบาทหน้าที่ของสมัชชาในด้านการมีส่วนร่วมต่อการยกร่างกฎหมายท่ี เกยี่ วข้อง และเก่ียวข้องกับความกา้ วหน้าในตำแหน่งอาชีพของครู กำหนดรูปแบบ แนวทางการติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน กำหนดแนวทางการนำผลมาถอดบทเรียน เพื่อปรับปรุงพัฒนารวมท้ัง เผยแพร่ มีการประชาสัมพันธ์ผลการดำเนินงานต่อผู้ที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน มีการจัดกิจกรรมเพื่อ สร้างแรงบันดาลใจจากบุคคลต้นแบบของจังหวัดชุมพร ทุกความร่วมมือต้องมีอิสระ/ไม่เพิ่มภาระให้ สถานศึกษา/ร่วมกับส่วนกลาง การผลักดันความต้องการทางการศึกษาเป็นนโยบายสาธารณะ การ
| หน้าที่ 108 จัดการความรู้และพัฒนาศักยภาพของคนในเครือข่าย ใช้การสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ผ่านสื่อเทคโนโลยี พัฒนางานวิจัยทางการศึกษาในพื้นที่ ตามเป้าหมายในการทำงานของสมัชชา โดยความร่วมมือของ สถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่ ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้เกี่ยวข้อง ควรส่งเสริมให้มีงานวิจัยทางการศึกษา ระดับพื้นที่เพิ่มมากขึ้น ประชาสัมพันธ์ทิศทาง โลกของงานในปัจจุบันและอนาคตให้ผู้ปกครองทราบ ส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งที่สมัชชาการศึกษาในจังหวัดชุมพรสามารถที่ขับเคลื่อนไปได้เพื่อให้เกิดคุณภาพ ในการจัดการศึกษาเชิงพื้นที่อย่างแท้จริง นั้นก็คือกฎหมายจึงจำเป็นต้องการการทบทวนหรือปรับแก้ กฎหมายบางตัวที่จะมาสนับสนุนการดำเนินงานการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาในพื้นที่ โดย ผ่านการมีส่วนร่วม รวมทั้งสภาการศึกษาจำเป็นจะต้องเป็นศูนย์ข้อมูลกลางที่สามารถเชื่อมโยงข้อมูล ระหว่างสมัชชาการศึกษาจังหวัดชุมพรกับส่วนกลาง สนับสนุนงบประมาณ งานวิชาการ และบุคลากร ในเบอ้ื งตน้ วางโครงการและกจิ กรรมสนับสนุนสามารถนำสง่ิ ท่ีได้ไปขยายยงั จงั หวัดอน่ื ๆ สอดคลอ้ งกับสุ รัตน์ ก้อนนาค และพรเทพ รู้แผน (2554) ได้ทำการศึกษาแนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนใน การบรหิ ารสถานศึกษาสงั กัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัด ชัยนาท พบว่า แนวทางส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดชัยนาท ประกอบด้วย ด้านการมีส่วน ร่วมกำหนดแผน นโยบายและยุทธศาสตร์ 1) ควรคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิในชุมชนเป็นคณะกรรมการ 2) อบรมให้ความรู้ในบทบาทหน้าที่ของคณะกรมการ 3) จัดให้มีกิจกรรมตามบทบาทหน้าที่และภารกิจ อย่างตอ่ เนอื่ ง ด้านการมสี ่วนร่วมเกี่ยวกับหลักสตู รสถานศึกษา 1) ควรคัดเลอื กผทู้ รงคุณวฒุ ิในชุมชนเป็น คณะกรรมการ 2) ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับคณะกรรมการ 3) เปิดโอกาสให้ ชุมชนได้มี ส่วนร่วมแสดงความคิดเห็น ด้านการมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจดั การศึกษา 1) ควรประชาสัมพันธ์ สร้าง ความรู้ความเข้าใจให้ชุมชนได้เห็นความสำคัญ 2) เปิดโอกาสให้บุคคลที่มีความพร้อมในชุมชนเข้ามามี ส่วนร่วมกำหนดแนวทางและวิธีการมีส่วนร่วมของชุมชน 3) ยกย่องบุคคลในชุมชนที่มีส่วนร่วมในการ จัดการศึกษา ด้านการมีส่วนร่วมเสริมสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน 1) สถานศึกษา ควรจัดสรร งบประมาณสนับสนุน 2) สร้างเครือข่ายประชาสัมพันธ์ในชุมชน 3) ควรร่วมกิจกรรมกับชุมชนอย่าง ต่อเน่อื ง 4) แต่งตั้งผรู้ ับผิดชอบในการประสานงาน และ ด้านการมสี ว่ นรว่ มในการตดิ ตามประเมินผล 1) ควรเลือกผู้ทรงคุณวุฒิในชุมชนเป็นคณะกรรมการนิเทศ 2) อบรมให้ความรู้เรื่องการติดตามและ ประเมินผลกบั ผมู้ สี ่วนเกีย่ วข้อง 3) ทำความเขา้ ใจและร่วมกนั วางแผนการนิเทศกบั ชมุ ชน 4) มเี ครือ่ งมือ ในการนิเทศตดิ ตามผลและ 5) สถานศึกษามีเวบ็ ไซต์เพือ่ ใหช้ ุมชนสามารถติดตามและตรวจสอบการจดั กิจกรรมของสถานศึกษาได้ตลอดเวลา และพัฒนะพงษ์ สุขมะดัน และเสาวลักษณ์ กมลนาวิน (2562) ได้สรปุ บทเรยี นการดำเนนิ งาน “โครงการจงั หวัดปฏิรูป การเรยี นร”ู้ พบวา่ องคป์ ระกอบสำคญั ของการ จัดการศึกษาเชิงพื้นที่ ประกอบด้วย กลไกความร่วมมือของภาคส่วนในพื้นที่ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนา คุณภาพการศึกษา ข้อมูลที่จะช่วยชี้ปัญหา จัดลำดับความสำคัญและติดตามความก้าวหน้าว่า การ ดำเนินงานบรรลุเป้าหมายมากน้อยเพียงไร แผนและโครงการเพื่อพัฒนาการศึกษาในพื้นที่เพื่อบูรณา การ ความรว่ มมือและทรัพยากร ในการจดั การศึกษารว่ มกัน โดยทกุ ภาคส่วน ท้ังภาครฐั ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มูลนิธิ สถาบันการศึกษา สถานประกอบการ รวมถึงหน่วยงานอื่นท่ี เกี่ยวข้องได้มาร่วมกันจดั เวทแี ลกเปล่ียนข้อมลู รับรู้และ ตระหนักถึงปัญหาการศึกษาที่ไมส่ ามารถตอบ โจทย์ของคนในพื้นท่ี
| หน้าท่ี 109 แสดงให้เห็นว่าการดำเนินการจัดตั้งสมัชชาในพื้นที่จังหวัดชุมพร ก็เริ่มจากการจัดตั้งสมัชชาจังหวัด ชุมพร จัดทำและสร้างฐานข้อมูล มีการแก้ไขกฎหมายบางตัวเพื่อส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนงาน ของสมัชชาในพื้นที่ มีการประเมิน และติดตาม ได้มาซึ่งข้อมูลสำคัญที่สามารถนำไปขยายต่อในพ้ื นที่ อื่นๆ และส่งผลให้พื้นที่จังหวัดชุมพรมีพลเมืองที่เข้มแข็ง มีความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง และสังคม มี ทักษะชีวิตสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีความสามารถในเรื่องที่ตนถนัด และ สามารถประกอบอาชพี ได้ 3. จัดทำข้อเสนอการปรับปรุงกฎหมายการศึกษา และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง พบว่า คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดชมุ พรมีความคิดเห็นสอดคล้องสูงสุด คือ ควรมีกฎหมายที่ส่งเสริมให้ ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษานำประเด็นความต้องการด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และ การศึกษาไปสู่การปฏิบัติด้วยวิธีการ/รูปแบบต่าง ๆ ตามความเหมาะสม รองลงมาคือ ประธาน คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 24) ในแต่ละจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดจัดให้มีการประชุม ร่วมกันของประธานในคณะกรรมการสถานศึกษาตามมาตรา 23 ทุกแห่งอย่างน้อย ปีละ 2 คร้ัง (เดิม 1 ครั้ง) ประชาชนได้รับการศกึ ษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ อย่างมีคุณภาพ เสมอภาค ทั่วถึงและเป็นธรรม รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และ กฎหมายควรให้อำนาจในการ บริหารจัดการขององค์คณะตามมาตราที่ 18 อย่างแท้จริง ตามลำดับ และรายการที่มีความคิดเห็น สอดคลอ้ งตำ่ สุดคือ คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 23) ควรมีบุคคลท่เี ก่ียวข้องกบั นโยบายของ ทอ้ งถิน่ เหลา่ นี้เป็นกรรมการในตำแหนง่ ไดแ้ ก่ นายกเทศมนตรี นายก อบต. ผอ.รพ.สง่ เสริมสขุ ภาพ ตำบล ผกก.สถานีตำรวจภูธรในท้องถิ่น การให้ความสำคัญกับการส่งเสริมภาคประชาสังคมผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียและประชานในพื้นที่ผ่านแนวคิดการรวมตัวเป็นบุคคลรูปแบบต่างๆ ตามมาตราที่ 18 เปิด โอกาสและให้เสรีภาพในการรวมตัวของประชาชนในจังหวัดอย่างไรก็ตามผู้ศึกษามีข้อสังเกตว่าการ จัดตัง้ คณะบุคคลในรา่ งพระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหมอ่ าจประสบปญั หาทางการปฏิบัติอยู่ บ้างเนื่องจากไม่ได้กำหนดจำนวนของคณะบุคคล ไว้อย่างชัดเจน ว่ามีบุคคลได้กี่คณะหรือหาจะตั้ง หลายคณะในการจัดประชุมตามมาตรา 24 จะตอ้ งเชิญคณะบุคคล กลุ่มใด และรับฟงั ขอ้ เสนอแนะของ คณะใดหรือเข้าร่วมทุกคณะข้อสังเกตนี้มีวิธีการปฏิบัติอย่างไร ผู้ศึกษาเข่ใจแน่ว่าในอนาคตเพื่อความ ชัดเจนจะต้องมีระเบียบว่าด้วย คณะการจัดตั้งบุคคลในรูปแบบต่างโดยเป็นหน้าที่ของ คณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งสอดคล้องกับ ซาโต มานาบุ (2559) เสนอว่าการปฏิรูปการศึกษาควรเริ่มต้นจากการปฏิรูปที่โรงเรียนเนื่องจากเป็นหน่วยย่อยของ สังคม เพื่อให้เกิดผลในทางปฏิบัติควรมีกระบวนการ คัดเลือกคณะกรรมการสถานศึกษา ที่มีความรู้ความสามารถ มีความพร้อมและเสียสละ ตระหนักและเข้าใจ ในบทบาทหน้าท่ี รวมทั้งไม่ใช่เพียงแต่คัดเลือกให้ครบองค์ประกอบหรือเพราะผลประโยชน์เพื่อให้การทำงานในฐานะ กรรมการสถานศึกษามีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นนอกจากนี้จากข้อมูลภาคสนามเห็นว่าการประชุ ม กันมากกว่า 2 ครั้ง ต่อปีเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการวางแผนการศึกษาของพื้นที่ และเมื่อมีการ แต่งตั้งคณะการแล้วควรมีการประชุมเชิงปฏิบัติการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้ าที่ของ คณะกรรมการสถานศึกษาควรกำหนดบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษาให้ชัดเจนมีอำนาจหน้าท่ี ในเรื่องใดบ้างอำนาจหน้าที่ให้ความเห็นหรือข้อเสนอแนะเรื่องใดเป็นเรื่องให้ความเห้นชอบหรอื อนุมัติ และประการสำคัญคอื ควรมีอำนาจหน้าท่ใี นการอนุมัตแิ ผนการจัดการศึกษาของสถานศึกษาน้ันๆดว้ ย
| หน้าที่ 110 ขอ้ เสนอแนะ 1. ขอ้ เสนอแนะในการศึกษาคร้ังนี้ 1.1 ควรมกี ารใหค้ วามสำคัญกับทุกมติ ิ ทั้งมติ ิการมีสว่ นรว่ ม มิตภิ มู สิ ังคม มติ เิ ชิงกฎหมาย และมิตเิ ชิงนโยบายการศึกษา ซ่งึ เป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในพ้ืนที่ 1.2 ควรให้ความสำคัญกับความต้องการในเชิงพื้นที่อย่างแท้จริงเพื่อให้มีการกำหนด เป้าประสงค์ กิจกรรม ที่มีความแม่ยำ เป็นไปได้ ในการสนับสนุนขัดเคลื่อนองค์คณะบุคคลในพื้นท่ี จงั หวดั ให้เกิดผลสำฤทธท์ิ แี่ ท้จริง 1.3 ควรมีการกำหนดจำนวนของคณะบุคคล สัดส่วน ไว้อย่างชัดเจน ใน ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบับใหม่อาจ ว่ามีบุคคลได้กี่คณะหรือมีการจัดตั้งคณะใดบ้างใน การจัดประชมุ ตามมาตรา 24 2. ข้อเสนอแนะในการทำการศึกษาครงั้ ต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษารูปแบบ องค์ประกอบ และแนวทางการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการ สถานศึกษา เพื่อเป็น แนวทางในการกำหนดองค์ประกอบ คุณสมบัติ ที่มา และข้อเสนอแนะ ในการสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มในการจัดการศึกษาของ คณะกรรมการสถานศึกษา 2.2 ควรมีการศึกษารูปแบบและองคป์ ระกอบของคณะบุคคลตามมาตรา 18 เพือ่ เปน็ ขอ้ มูล และแนวทางในการรวมตัว ของประชาชนในจังหวัดที่ต้องการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ในจังหวัด/พน้ื ท่ี
บรรณานกุ รม จติ ตวดี ทองทวั่ . (2557). การพัฒนารปู แบบการมีสว่ นรว่ มของชุมชนสำหรบั การจัดกิจกรรมการศึกษา ตลอดชีวิตในสถานศึกษา : การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. จิณณวัตร ปะโคทัง. (2549). รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ดเี ดน่ โรงเรยี นกันทรารมย์จังหวัดศรีสะเกษ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดษุ ฎีบณั ฑิต). มหาวิทยาลัย บูรพา. บัณฑิตวทิ ยาลัย. ชนิตา รักษ์พลเมือง. (2558). รูปแบบความร่วมมือในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วน ทอ้ งถิ่น. กรงุ เทพฯ: สถาบนั ยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ. ทัศนา แสวงศกั ดิ์ (2548). ความสัมพันธระหวางสถานศกึ ษากบั ชมุ ชนตามแนวปฏิรปู การศึกษา. วารสารวิชาการ, 8 (1), 43-49. ทศั นยี ์ บุญมาภิ และคณะ. (2561). รูปแบบความร่วมมอื ระหว่างโรงเรียนกบั ชุมชนในการบริหารโรงเรียน ขนาดเล็ก เขตภาคเหนือตอนบน. วารสารชมุ ชนวจิ ัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา (1). ทิวัฒถ์ มณีโชติและ ทรงยศ สาโรจน์. (2560). รูปแบบความร่วมมือทางการศึกษาระหว่าง มหาวิทยาลัยราชภัฎกับมหาวิทยาลัยในอาเซียน+3. วารสารวิจัยราชภัฎพระนคร สาขา มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 164-175. ทำนอง ภเู กิดพมิ พ.์ (2551). แนวคดิ การบริหารแบบมสี ่วนร่วมในการจัดการศึกษาของชมุ ชน. .สบื คน้ เมื่อ 20 ตลุ าคม 2564, http://gotoknow/org/blog/mathu/334443 นิรนั ดร์ จงวุฒเิ วศย์. (2527). การมีสว่ นรว่ มของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล. ปกรณ์ ปรยี ากร. (2530). ทฤษฎแี ละกลยทุ ธเ์ ก่ยี วกับการพัฒนา. กรงุ เทพฯ: สถาบันบณั ฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร์. ปรียวาท น้อยคล้าย. (2559). แนวทางการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาล นคร พระนครศรีอยุธยา. วารสารวิจัยและพัฒนาวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สาขามนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์) (3). ปารณทัตต์ แสนวิเศษ. (2555). การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียน ประถมศึกษา : การสร้างทฤษฎจี ากฐานราก. สกลนคร: มหาวทิ ยาลัยราชภฎั สกลนคร. พชรภรณ์ สิงห์สุรี. (2558). การมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน จังหวัดระยอง จันทบุรีและตราด (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏ รำไพพรรณี. บัณฑติ วทิ ยาลัย. พฤทธิ์ ศิรบิ รรณพทิ ักษ์ และคณะ. (2554). การพฒั นารูปแบบสมัชชาการศึกษาเพ่ือส่งเสริมการมีส่วน รว่ มของประชาชน. กรงุ เทพฯ: พริกหวานกราฟฟคิ . พยอม วงศ์สารศรี และจันทรแ์ รม เรือนแป้น. (2557). การสำรวจเบือ้ งต้นเพือ่ จัดทำแผนที่ชุมชนและ พฒั นาเครอื ขา่ ยความร่วมมือในการเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งแก่ชุมชนในพ้ืนที่ตำบลโคกโคเฒ่า อำเภอเมอื ง จังหวดั สุพรรณบรุ ี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนดสุ ิต. พัฒนะพงษ์ สุขมะดัน และเสาวลักษณ์ กมลนาวิน. (2562). จากนับหนึ่งจนถึงวันนี้ บทสรุปการ ดำเนนิ งานและกรณีตวั อยา่ งการพฒั นาการเรยี นร้เู ชงิ พื้นท่.ี กรุงเทพฯ: กองทุนเพอ่ื ความเสมอ ภาคทางการศกึ ษา.
| หนา้ ท่ี 112 เมตต์เมตต์ การุณ์จิต. (2553). การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม: ประชาชน องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถิ่นและราชการ. กรงุ เทพฯ: บุค๊ พอยท.์ วิจิตราภรณ์ โตแก้ว. (2558). การมีส่วนร่วมของภาคเี ครือข่ายในการบรหิ ารการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี. กาญจนบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏ กาญจนบุรี. วีระยุทธ สุดสมบูรณ์ และคณะ. (2563). การพัฒนาและประเมินรูปแบบการบริหารความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการของคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย ราชภัฏนครศรีธรรมราช. วารสารวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรม พระจอมเกล้าพระนคร เหนือ(1), 103-111. ศริ กิ าญจน์ โกสุมภ์. (2542). การมสี ว่ นรว่ มของชุมชนและโรงเรยี นเพอ่ื การจัดการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน (ปรญิ ญานพิ นธด์ ุษฎบี ัณฑติ สาขาพฒั นศกึ ษาศาสตร์). มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ. บณั ฑิตวทิ ยาลยั . รงุ่ นภา ต้งั จติ รเจรญิ กุล, วิชุดา กิจธรธรรม และจันทร์เพญ็ ตั้งจิตรเจริญกลุ . (2562). การพฒั นา รูปแบบเครอื ข่ายความร่วมมอื เพื่อเพิม่ คณุ ภาพการจัดการศึกษา ระดับปฐมวยั ของศนู ย์ พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น: การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม . กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลยั สวนดสุ ิต. สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2562). รายงานการศึกษารูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วมและ สมัชชาการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนกั มาตรฐานการศึกษาและพฒั นาการเรียนรู้. สำนักงานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. (2563). กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายวา่ ดว้ ย ระเบียบบรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กฎหมายว่าด้วยระเบียบขา้ ราชการครูและบคุ ลากร ทางการศกึ ษา (พิมพ์ครงั้ ที่ 5). กรงุ เทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกดั อีเลฟเว่น สตารอ์ ินเตอร์เทรด. สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งขาติ พ.ศ. 2560 – 2579 (พมิ พค์ รั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: บรษิ ทั พรกิ หวานกราฟฟคิ จำกัด สุรัตน์ ก้อนนาค. (2554). แนวทางส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด ชัยนาท. นครสวรรค:์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครสวรรค์. เอกชัย กี่สขุ พนั ธ.์ (2538). การบรหิ าร: ทกั ษะและการปฏบิ ัติ. กรงุ เทพฯ: สํานกั พิมพ์สุขภาพใจ. เอกพล ดวงดี. (2563). การมีสว่ นร่วมในการจดั การศึกษาของประชาชนตามร่างพระราชบญั ญตั ิ การศึกษาแหง่ ชาติ ฉบับใหม่. เชียงใหม่ :มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.
การศกึ ษาแนวทางการพฒั นากฎหมายเพ่อื นำร่องรูปแบบการต้งั คณะบคุ คลในระดับจงั หวดั ชมุ พร | หน้าท่ี 105 ภาคผนวก
ภาคผนวก ก เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการจัดเก็บข้อมลู
| หน้าที่ 115 แบบสมั ภาษณ์การการศึกษาเรอ่ื ง “แนวทางการพฒั นากฎหมายเพือ่ นำร่องรูปแบบการตัง้ คณะ บุคคลในระดบั จังหวดั เพือ่ พัฒนาการศึกษาตามกฎหมายการศกึ ษาชาติ (จังหวดั ชุมพร)” ------------------------------- คำช้ีแจง 1. แบบสัมภาษณ์การศึกษาเรื่อง“แนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำร่องรูปแบบการต้ัง คณะบุคคลในระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวัดชุมพร)” มี วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพื่อ1) ศึกษาแนวทางการบูรณาการความร่วมมือในการจัดตั้งคณะบุคคล เพื่อพัฒนาการศึกษา กฎหมายการศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้องในระดับจังหวัดชุมพร 2) จัดทำและ การนำร่องรูปแบบ กลไก ในการบริหารจัดการของคณะบุคคลที่กำกับดูแลและสนับสนุนการศึกษาใน ระดับจังหวัดชุมพรโดยมีเป้าหมายและจุดเด่นที่ชัดเจนเป็นการเฉพาะ ซึ่งสามารถดำเนินการได้อย่างมี ประสิทธิภาพและส่งผลต่อการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา และ 3) จัดทำข้อเสนอการปรับปรุง กฎหมายการศึกษาและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การบริหารจัดการของคณะบุคคลที่ดูแลด้าน การศึกษาในระดบั จงั หวัดชมุ พรดำเนนิ การได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2. การเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ คณะผู้ศึกษามุ่งรวบรวมข้อมูลการสัมภาษณ์เพื่อวิเคราะห์ และจัดทำข้อเสนอแนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำร่องรูปแบบการตั้งคณะบุคคลในระดับจังหวัด เพ่ือพัฒนาการศกึ ษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ จังหวดั ชมุ พร สกู่ ารปฏบิ ตั เิ พ่ือนำไปสคู่ วามสำเร็จ ตาม การรับรู้ของท่าน ทั้งนี้ข้อมูลในครั้งนี้ผู้ศึกษาจะนำมาใช้ในการวิเคราะห์ผลในภาพรวมเท่านั้น ไม่มีการ เปิดเผยเปน็ รายบคุ คล จึงไมม่ ผี ลกระทบตอ่ ผูใ้ ห้สัมภาษณ์ 3. แบบสมั ภาษณ์ฉบบั นมี้ ีจำนวน 2 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนท่ี 2 แนวทางการพัฒนากฎหมายเพ่ือนำร่องรปู แบบการตงั้ คณะบุคคลในระดับ จังหวัด เพ่อื พฒั นาการศกึ ษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จงั หวัดชุมพร) 4. ผ้ศู ึกษาได้แนบผลการประชมุ ผมู้ ีส่วนเกี่ยวข้องดา้ นการจัดการศกึ ษาของจงั หวัดชุมพร ครง้ั ที่ 1 ระหว่างวันที่ 31 มีนาคม - 1 เมษายน 2564 ณ โรงแรมมรกต จังหวัดชุมพร ประเด็น การกำหนด กลไก แนวทางการบรู ณาการความร่วมมือโดยการสร้างเครือข่ายการพัฒนาการศกึ ษาในระดับพื้นที่ตาม กฎหมายการศึกษาและแผนปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เพื่อประกอบการพิจารณาให้ข้อเสนอแนะ เพิ่มเตมิ โปรดใหข้ อ้ มลู ตรงกับสภาพความเปน็ จรงิ ตามความคิดเห็นของท่าน ขอ้ มลู ท่ีได้รับจากทา่ นจะเปน็ ประโยชน์อยา่ งยงิ่ ต่อการนำข้อมูลมาวเิ คราะห์ เพื่อการพฒั นากฎหมายเพ่ือนำร่องรปู แบบการตง้ั คณะบุคคลในระดับจังหวดั เพอื่ พัฒนาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จงั หวัดชุมพร) ขอบพระคณุ ไว้ ณ โอกาสน้ี สำหรับความรว่ มมือในการตอบขอ้ มลู การสมั ภาษณ์ ช่ือ-สกลุ ............................................................. เบอร์ (............................................) ผู้ประสานงานคณะผู้ศึกษาจงั หวัดชุมพร
| หน้าที่ 116 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ คณะผู้ศึกษาได้กำหนดนิยามศัพท์เฉพาะต่าง ๆ ในการศึกษาครั้งนี้เพื่อให้เกิดความเข้าใจ ความหมายตรงกนั ดังตอ่ ไปน้ี 1 คณะบุคคลในระดับจังหวัด หมายถึงกลุ่มคนหรือคณะบุคคลที่รวมตัวกัน ตามกระบวนการ วิธกี ารทก่ี ฎหมายกำหนดให้ร่วมกนั โดยรวมตวั เพื่อเปา้ หมายในการวางแผน ปฏิบัติการ และตดิ ตามการ ดำเนินการด้านการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ครอบคลุมการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตาม อัธยาศยั ของจังหวัดชมุ พร ซง่ึ มีบทบาทในการให้การสนับสนนุ สง่ เสริมการพฒั นาการศึกษาและการจัด การศกึ ษาใหเ้ ป็นไปตามกฎหมายและแผนปฏิรูปประเทศดา้ นการศกึ ษา ตลอดจนทศิ ทางการพัฒนาตาม เป้าหมายของจงั หวัดชมุ พร 2 แนวทาง หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นจากกรอบความคิดที่กำหนด กระบวนการ วิธีการ และ องคป์ ระกอบต่าง ๆ ของคณะบุคคลในระดับจังหวัดชุมพร เกย่ี วกับแนวทางการบูรณาการความร่วมมือ ในการจัดตั้งคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศึกษา ในระดับจังหวัดชุมพร ตลอดจนรูปแบบ กลไก ในการ บริหารจัดการของคณะบุคคลที่กำกับดูแลและสนับสนุนการศึกษาในระดับจังหวัดชุมพรให้ประสบ ความสำเร็จ 3 กฎหมายการศึกษาชาติ หมายถึง กฎหมายรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 และ รา่ งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติฉบบั ใหม่ ของคณะกรรมการอสิ ระเพ่ือการปฏริ ปู การศึกษาที่ ผา่ นการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เม่อื วันท่ี 30 เมษายน 2562 ในมาตราทเี่ ก่ียวข้อง กับการตั้งคณะบุคคลในระดับจังหวัดเพื่อพัฒนาการศึกษา ซึ่งนำมาใช้เป็นกรอบในการวิเคราะห์ ให้ ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกฎหมายเพื่อให้การต้งั คณะบุคคลในระดับจังหวดั ชุมพรประสบความสำเร็จ 4 รปู แบบ หมายถึง กระบวนการ วธิ กี ารทหี่ น่วยงานหรือ องค์กรทางการศึกษา กำหนดให้คณะ บุคคลในระดับจังหวัดชุมพร สามารถรวมตัวกันเพื่อมีส่วนร่วมด้านการศึกษา ในการช่วยเหลือการ จัดการเรยี นรูต้ ามเปา้ หมายในการวางแผน ปฏบิ ัตกิ าร และตดิ ตามการดำเนินการดา้ นการจัดการศึกษา ตลอดชีวิต ครอบคลุมการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ให้เป็นไปตามกฎหมาย และแผนปฏริ ปู ประเทศด้านการศึกษา ตลอดจนทิศทางการพัฒนาตามเป้าหมายของจงั หวดั ชุมพร ด้วย รปู แบบ 333 หรือ 33 ใช้ภาษาอังกฤษว่า Triple Three Model ประกอบด้วย 4.1 3 ตวั แรก หมายถงึ ระดบั การมสี ว่ นรว่ มทางการศึกษา 3 ระดบั ได้แก่ 1) การมีสว่ นร่วมทางการศกึ ษาระดบั ชาติ 2) การมีสว่ นรว่ มทางการศึกษาระดับภูมภิ าค 3) การมีสว่ นรว่ มทางการศึกษาระดับจังหวัด 4.2 3 ตัวทีส่ อง หมายถึง องคป์ ระกอบของคณะบุคคลเพื่อพฒั นาการศึกษาในแตล่ ะระดับ ซึ่ง มี 3 ภาค โดยมกี ารสื่อสาร 2 ชอ่ งทาง ไดแ้ ก่ 1) ภาคองคค์ วามรู้
| หนา้ ที่ 117 2) ภาคประชาชน 3) ภาครฐั 4.3 3 กิจกรรมหลัก หมายถึง กจิ กรรมหลกั ของคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศกึ ษาในแต่ละระดับ ซ่ึงมี 3 กิจกรรมหลกั ได้แก่ 1) การศกึ ษาและพฒั นาองคค์ วามรู้ 2) การประชมุ คณะบุคคลเพอ่ื พฒั นาการศึกษา 3) การตดิ ตามผลข้อเสนอเชงิ นโยบายและยุทธศาสตรส์ กู่ ารปฏบิ ัติ 5 สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดชุมพร หมายถึงหน่วยงานทางการศึกษา สังกัดสำนักงาน ศึกษาธิการภาค 5 กระทรวงศึกษาธิการ ที่ดูแลรับผิดชอบด้านการจัดการศึกษาทุกระดับ และทุก ประเภท ในพื้นที่จังหวัดชุมพร โดยมีหนึ่งในหน้าที่ของหน่วยงานในการการวางแผน ดำเนินการ กำกับ ตดิ ตาม และเสนอแนวทางการพัฒนาการแต่งตง้ั คณะบุคคลในระดับจังหวัดชุมพร เพ่อื พัฒนาการศึกษา ตามกฎหมายการศกึ ษาชาติ (จงั หวดั ชมุ พร) ใหป้ ระสบความสำเร็จ
| หน้าท่ี 118 บนั ทกึ ผสู้ มั ภาษณ์ 1. วนั ท่ี ...................... เดือน ............................................... พ.ศ. ........................ เวลา .................... 2. สถานท่สี ัมภาษณ์ ........................................................................................................................... ตอนที่ 1 สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม คำชี้แจง โปรดทำเคร่ืองหมาย ✓ ใน ( ) หนา้ ขอ้ ความท่ีเป็นจรงิ 1. เพศ ( ) หญิง ( ) ชาย 2. อายุ ( ) 30-40 ปี ( ) ต่ำกวา่ 30 ปี ( ) มากกว่า 50 ปีขึ้นไป ( ) มากกวา่ 40-50 ปี 3. สถานภาพผใู้ ห้สมั ภาษณ์ ( ) ผเู้ ชย่ี วชาญด้านการจดั การศกึ ษา ( ) ผู้เชี่ยวชาญด้านการมีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษาของคณะบคุ คล ( ) ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นกฎหมาย ( ) ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นภมู ิสังคมของจังหวัดชมุ พร ( ) ผู้เชยี่ วชาญด้านนโยบายการศึกษา 4. ประสบการณ์ในการรับหน้าท/ี่ ดำเนินงานเกยี่ วขอ้ งกับการจดั การศกึ ษา ( ) ต่ำกวา่ 2 ปี ( ) 2-4 ปี ( ) มากกว่า4-6 ปี ( ) มากกวา่ 6 ปขี ้ึนไป 5. วฒุ ิการศึกษาสูงสดุ ( ) ปริญญาโท ( ) ปรญิ ญาตรี ( ) อนื่ ๆ (โปรดระบ)ุ .......................................... ( ) ปรญิ ญาเอก
| หน้าที่ 119 ตอนที่ 2 แนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำร่องรูปแบบการตัง้ คณะบุคคลในระดับจังหวัด เพื่อพัฒนา การศึกษาตามกฎหมายการศกึ ษาชาติ (จงั หวดั ชุมพร) 2.1 แนวทางการบูรณาการความร่วมมือในการจัดตง้ั คณะบคุ คลเพ่ือพัฒนาการศึกษา ใน ระดับจังหวดั ชมุ พร (อ้างอิงขอ้ มลู สรปุ ผลการประชุม ครง้ั ท่ี 1 ระหว่างวนั ท่ี 31 มีนาคม - 1 เมษายน 2564 ณ โรงแรมมรกต จังหวัดชุมพร ประเด็น การกำหนดกลไก แนวทางการบูรณาการความรว่ มมือโดยการ สร้างเครือข่ายการพัฒนาการศึกษาในระดับพื้นที่ตามกฎหมายการศึกษาและแผนปฏิรูปประเทศด้าน การศึกษา) 1) ความต้องการด้านการพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์และการศกึ ษาของจงั หวดั ชมุ พร ตามข้อสรุปผลการประชมุ มีความเหมาะสมหรือไม่ อยา่ งไร ......................................................................................................................................... ......... ........................................................................................................................ ........................................... ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... 2) กลไกการบรู ณาการความรว่ มมอื โดยการสรา้ งเครือขา่ ยการพัฒนาการศกึ ษาใน ระดบั พนื้ ทีต่ ามกฎหมาย การศกึ ษาและแผนปฏริ ูปประเทศด้านการศึกษา มีความ เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร ............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................. ...................................... 3) แผนบูรณาการความรว่ มมือโดยการสรา้ งเครือขา่ ยการพัฒนาการศึกษาในระดับ พ้ืนทต่ี ามกฎหมายการศึกษาและแผนปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศึกษา มีความ เหมาะสมหรือไม่ อย่างไร ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................... .................................................... ............................................................................................................................. ......................................
| หน้าที่ 120 4) แนวทางการจดั ตั้งคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศึกษาในระดับจงั หวดั ชุมพร ควรเปน็ อย่างไร ............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................. ...................................... 2.2 การสรา้ ง และพัฒนา รูปแบบ กลไก ในการมสี ่วนร่วมทางการศึกษาของคณะบุคคลท่ี กำกบั ดแู ลและสนับสนนุ การศึกษาในระดบั จงั หวดั ชุมพร (อา้ งองิ เอกสารทฤษฎี 33 Triple Three Model) 3 ตัวแรก หมายถงึ ระดับการมสี ่วนร่วมทางการศึกษา 3 ระดบั ไดแ้ ก่ 1) การมีสว่ นร่วมทางการศึกษาระดบั ชาติ -คณะกรรมการระดับชาติ ควรมรี ปู แบบอยา่ งไร ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... -การประสานงาน และการส่อื สารของคณะกรรมการ ควรมีลักษณะใด ............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................. ...................................... -กระบวนการบริหารกระบวนการคณะกรรมการควรเปน็ อย่างไร .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... 2) การมีสว่ นร่วมทางการศึกษาระดบั ภมู ิภาค -คณะกรรมการระดับภมู ภิ าค ควรมีรูปแบบอย่างไร ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................ ....................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ...................................................................................................................................................................
| หน้าที่ 121 -การประสานงาน และการสื่อสารของคณะกรรมการ ควรมีลกั ษณะใด .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................................. ...................... ............................................................................................................. ...................................................... -กระบวนการบริหารกระบวนการคณะกรรมการควรเป็นอย่างไร ............................................................................................................................. ..................... .............................................................................................................................. ..................................... .............................................................................................. ..................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... 3) การมสี ว่ นร่วมทางการศึกษาระดบั จังหวดั -คณะกรรมการระดบั จังหวัด ควรมรี ูปแบบอยา่ งไร ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................ ....................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... -การประสานงาน และการส่อื สารของคณะกรรมการ ควรมลี ักษณะใด .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................. ...................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... -กระบวนการบรหิ ารกระบวนการคณะกรรมการควรเป็นอยา่ งไร ............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ..................................................................................................................................... .............................. 3 ตัวที่สอง หมายถึง องค์ประกอบของคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศึกษาจังหวดั ชุมพร ซง่ึ มี 3 ภาค โดยมีการสื่อสาร 2 ช่องทาง ไดแ้ ก่ 1) ภาคองคค์ วามรู้ ประกอบด้วยองค์ความรู้หลกั 5 ประการ คอื สารสนเทศพื้นฐาน ในบริบทพื้นท่ี ผลการปฏิบตั ิด้านการศกึ ษาของพืน้ ที่ (ด้านคณุ ภาพ ดา้ นการขยายโอกาส และดา้ นการมี ส่วนร่วม) ผลการพัฒนาคน ความต้องการของประชาชนด้านการศึกษา และ การขับเคลื่อนการปฏิรูป ตามทัศนะของประชาชน เหมาะสม เพียงพอหรือไม่ อยา่ งไร ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ...................................... .......................................................................................... .........................................................................
| หน้าท่ี 122 2) ภาคประชาชน จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ประกอบด้วยสมาชิกรับเชิญ และ สมาชิกทรี่ บั สมคั ร ประกอบดว้ ย 7 กลุม่ หลัก ได้แก่ ผู้รบั บริการการศึกษา ผแู้ ทนองคก์ รท่ีใช้ผลผลิตจาก การศึกษา ผู้แทนองค์กรที่จัดการศึกษาทุกรูปแบบ ผู้แทนองค์กรบริหารและสนับสนนุ การจดั การศกึ ษา ทุกรูปแบบ ผู้แทนพรรคการเมือง ผู้แทนสื่อสารมวลชน และผู้แทนองค์กรชุมชนและภาคประชาสังคม เหมาะสมหรอื ไม่ อยา่ งไร .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................. ...................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... 3) ภาครัฐ จำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ประกอบด้วยสมาชิกรับเชิญ และสมาชิกที่ รับสมัคร ประกอบด้วย 4 กลุ่มหลัก ได้แก่ ผู้แทนองค์กรใช้กำลังคนที่เป็นผลผลติ จากการศึกษา ผู้แทน องคก์ รจัดการศึกษา ผแู้ ทนองค์กรบริหารและสนบั สนุนการจัดการศึกษา และผแู้ ทนสอ่ื สารมวลชน โดย มผี วู้ ่าราชการจงั หวัดเป็นประธานการขับเคลื่อนแผนพัฒนาการศึกษาจังหวดั สู่การปฏิบัติ ร่วมกับผู้แทน วิชาการ และผู้แทนภาครัฐในจังหวัดนั้นร่วมเป็นหน่วยงานรับผิดชอบ และมีศึกษาธิการจังหวัดเป็น เลขานุการ หรือผูป้ ระสานงานเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................. ...................................... .................................................................................... ............................................................................... 3 ตัวที่สาม หมายถึง กิจกรรมหลักของคณะบุคคลเพื่อพัฒนาการศึกษาในจังหวัด ชุมพร ซ่งึ มี 3 กิจกรรมหลัก ได้แก่ 1) การวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ หมายถึงการใช้เครือข่ายการวิจัยทั้งในหน่วยงาน ทางการศึกษา มหาวิทยาลัย หรือหน่วยงานเอกชน เพื่อพัฒนาการจัดการศึกษาของจังหวัด โดยมี สำนกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดเป็นหน่วยงานประสานการทำงาน เหมาะสมหรอื ไม่ อยา่ งไร .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................ .......................................................................
| หนา้ ที่ 123 2) การประชุมคณะบุคคลเพ่ือพัฒนาการศกึ ษา ในแตล่ ะประเด็นควรมีรายละเอียด อยา่ งไร (1) จำนวนสมาชกิ ผเู้ ข้าประชุม ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ...................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... (2) ระยะเวลาในการจดั ประชุม .......................................................................................................... ........................................ ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... (3) การรายงานผลการประชุม ............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................. ...................................... (4) หนว่ ยงานท่รี ับผดิ ชอบ .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ...................................... ...................................................................................................................................... ............................. ...................................................................................................... ............................................................. (5) การจดั งบประมาณ ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................ ....................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... 3) การตดิ ตามผลข้อเสนอเชิงนโยบายและยุทธศาสตร์สกู่ ารปฏบิ ตั ิ ควรมีรปู แบบ ระบบ หรอื กระบวนการตดิ ตามอย่างไร .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... 2.3 ข้อเสนอการปรับปรุงกฎหมายการศกึ ษาและกฎหมายท่เี ก่ียวข้อง เพ่ือให้การบริหาร จัดการของคณะบคุ คลทดี่ แู ลดา้ นการศกึ ษาในระดบั จังหวัดชมุ พร
| หนา้ ที่ 124 ท่านมีข้อเสนอแนะในการปรับปรุงกฎหมายต่อไปนี้อย่างไร เพ่อื ให้การบริหารจดั การของ คณะบุคคลที่ดแู ลด้านการศกึ ษาในระดับจงั หวดั ชุมพรดำเนินการได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 1) รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 มาตรา 54 วรรคสาม กำหนดให้ “รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่าง ๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มี การเรียนรู้ตลอดชีวิต และจดั ให้มีการร่วมมอื กนั ระหว่างรัฐ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ และภาคเอกชน ในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริม และสนับสนุน ให้การจัด การศึกษา ดงั กล่าวมคี ุณภาพและไดม้ าตรฐานสากล” ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................. ...................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... 2) ร่างพระราชบัญญตั ิการศกึ ษาแห่งชาติฉบบั ใหม่ ของคณะกรรมการอิสระเพ่ือการปฏิรูป การศึกษาท่ผี ่านการพจิ ารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา วาระ 3 เมอ่ื วันท่ี 30 เมษายน 2562 (อ้างอิงเอกสารการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาฯของสำนักงานสภาการศึกษา แห่งชาติ บทที่5 องค์ประกอบและกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ตามร่างพระราชบัญญัติ การศกึ ษา พ.ศ. ...) (1) คณะกรรมการนโยบายการศึกษาแหง่ ชาติ (มาตรา 82) ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................ ....................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ................................................................................................................................................................... (2) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 24) และคณะกรรมการสถานศกึ ษา (มาตรา 23) .................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................. ...................................... ........................................................................................ ........................................................................... (3) ผู้วา่ ราชการจังหวดั (มาตรา 24) ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ...................................... ...................................................................................... ............................................................................. ............................................................................................................................. ......................................
| หนา้ ที่ 125 (4) สำนกั งานศึกษาธิการจังหวดั /สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษา/องค์การบรหิ ารสว่ น จงั หวัด (มาตรา 24) ............................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................. ...................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... (5) คณะบุคคล (มาตรา 18) ............................................................................................................................. ..................... ...................................................................................................... ............................................................. ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................................................. ...... (6) หนว่ ยงานรัฐ (มาตรา 24) ............................................................................................ ...................................................... ............................................................................................................................. ...................................... .................................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ...................................... (7) เอกชน (มาตรา 24) ............................................................................................................................. ..................... ................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ...................................... ............................................................................................................................. ......................................
| หนา้ ที่ 126 แบบสอบถามเพ่ือการศกึ ษา “แนวทางการพฒั นากฎหมายเพอ่ื นำรอ่ งรูปแบบการตั้งคณะบคุ คลในระดบั จังหวัด เพื่อพัฒนา การศกึ ษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวดั ชุมพร)” .............................................. คำชีแ้ จงในการตอบแบบสอบถาม 1. แบบสอบถามฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อใช้เก็บข้อมูลสำหรับการศึกษาเรื่อง“แนวทางการพัฒนา กฎหมายเพื่อนำร่องรูปแบบการตั้งคณะบุคคลในระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาการศึกษาตามกฎหมาย การศึกษาชาติ (จังหวัดชุมพร)” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ จัดทำข้อเสนอการปรับปรุงกฎหมายการศึกษา และกฎหมายท่ีเก่ยี วข้อง 2. ผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดชุมพรโดยข้อมูลที่ได้จาก ความคิดเหน็ ของทา่ นมีค่าอย่างยิ่งต่อการวิจัยนี้ ผู้ศกึ ษาขอรบั รองว่าข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามฉบับน้ี จะเป็นความลบั และการนำเสนอข้อมลู จะเปน็ ข้อมูลในภาพรวมเทา่ น้ัน ผูศ้ ึกษาขอความอนเุ คราะห์จาก ทา่ นในการตอบแบบสอบถามให้ครบทกุ ข้อและทุกตอน 3. แบบสอบถามฉบับนี้มี 2 ตอน คอื ตอนที่ 1 เปน็ แบบสอบถามเกย่ี วกับสถานภาพทั่วไปของผตู้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 เป็นคำถามเกี่ยวกบั ขอ้ เสนอการปรับปรุงกฎหมายการศกึ ษาและกฎหมายท่ี เกย่ี วขอ้ ง จากข้อสรปุ การสมั ภาษณ์เชงิ ลึก และ Focus Group จากผู้เชี่ยวชาญ และผทู้ ี่มีสว่ นเก่ยี วขอ้ ง ด้านการศึกษาของจงั หวดั ชมุ พร ผ้ศู ึกษาขอขอบพระคณุ ผู้ตอบแบบสอบถามทุกท่านเป็นอย่างสูง ทก่ี รณุ าใหค้ วามร่วมมือในการ ตอบแบบสอบถามมา ณ โอกาสนี้ คณะผู้ศึกษา ของศึกษาธิการจงั หวดั ชุมพร
| หนา้ ท่ี 127 แบบสอบถามเพ่ือการศกึ ษา เรอ่ื ง แนวทางการพัฒนากฎหมายเพ่ือนำรอ่ งรปู แบบการตง้ั คณะบุคคลในระดบั จงั หวัด เพือ่ พฒั นา การศึกษาตามกฎหมายการศกึ ษาชาติ (จังหวดั ชุมพร) ....................................................................... ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลเกีย่ วกับสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม โปรดทำเครอื่ งหมาย ✓ ลงในชอ่ ง หนา้ ขอ้ ที่ตรงกับสถานภาพของท่าน สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม สำหรบั ผวู้ จิ ยั 1. เพศ ชาย หญงิ 2. อายุ ไมเ่ กนิ 30 ปี 31 – 40 ปี 41 – 50 ปี 51 ปีขึ้นไป 3. ประสบการณ์การทำงานด้านการศึกษา ของจังหวดั ชุมพร ต่ำกวา่ 1 ปี 1-5 ปี 6-10 ปี 11-15 ปี 16-20 ปี 21-25 ปี 26 ปีขึ้นไป 4. วฒุ กิ ารศกึ ษา ปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาโท ปรญิ ญาเอก
| หน้าท่ี 128 ตอนท่ี 2 เปน็ คำถามเก่ยี วกับข้อเสนอการปรบั ปรงุ กฎหมายการศึกษาและกฎหมายทีเ่ ก่ียวขอ้ ง จาก ขอ้ สรุปการสมั ภาษณ์เชงิ ลกึ และ Focus Group จากผเู้ ช่ียวชาญ และผ้ทู ่ีมีสว่ นเกีย่ วข้อง ดา้ น การศกึ ษาของจงั หวัดชมุ พร คำชแ้ี จง โปรดพจิ ารณาข้อเสนอการปรบั ปรุงกฎหมายการศกึ ษาและกฎหมายที่เก่ียวข้อง เพื่อใหก้ ารบริหารจดั การของคณะบุคคลท่ีดูแลด้านการศกึ ษาในระดับจังหวดั ชมุ พร เกดิ ความสอดคล้อง เหมาะสม โดยใส่เครื่องหมาย ✓ ลงในช่องที่ตรงกับระดับความคิดเห็นของท่านเพียงช่องเดียว ซ่ึง กำหนดระดับความคดิ เหน็ ดังนี้ ระดบั 5 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยกบั ขอ้ เสนอในการแกไ้ ขกฎหมายทเี่ ก่ยี วขอ้ งในระดบั มากท่สี ุด ระดบั 4 หมายถึง เหน็ ดว้ ยกบั ขอ้ เสนอในการแก้ไขกฎหมายท่เี กย่ี วขอ้ งในระดับมาก ระดบั 3 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยกบั ข้อเสนอในการแกไ้ ขกฎหมายท่ีเกีย่ วขอ้ งในระดบั ปานกลาง ระดบั 2 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยกับข้อเสนอในการแก้ไขกฎหมายทเี่ ก่ียวข้องในระดบั น้อย ระดับ 1 หมายถึง เห็นดว้ ยกับข้อเสนอในการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องในระดบั น้อยที่สุด ข้อ รายการ ระดบั ความคดิ เหน็ สำหรับ ที่ 5 4 3 2 1 ผู้ศึกษา รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 54 วรรคสาม (ควรเพิม่ เตมิ รายละเอียด ดงั น้ี) 1 ประชาชนได้รบั การศกึ ษาตามความตอ้ งการในระบบต่าง ๆ อย่างมีคณุ ภาพ เสมอภาค ทวั่ ถงึ และเป็นธรรม รวมท้ังส่งเสรมิ ใหม้ ีการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2 จัดให้มกี ารรว่ มมือกนั ระหวา่ งรฐั องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน และภาคเอกชน และภาคประชาสงั คมในการจัดการศึกษา ร่างพระราชบญั ญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาตฉิ บบั ใหม่ ของคณะกรรมการอสิ ระเพือ่ การปฏริ ปู การศึกษาทผี่ า่ นการพจิ ารณาของคณะกรรมการกฤษฎกี า วาระ 3 เมื่อวนั ที่ 30 เมษายน 2562 3 มาตรา 82 คณะกรรมการนโยบายการศึกษาแห่งชาติ ควรเพ่ิมเติม เลขาธิการ คุรสุ ภา ผูแ้ ทนครู และ ผู้แทนผบู้ ริหารสถานศกึ ษา 4 ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษา (มาตรา 24) ในแต่ละจงั หวัด ให้ผ้วู ่า ราชการจงั หวัดจัดให้มกี ารประชุมร่วมกนั ของประธานในคณะกรรมการ สถานศึกษาตามมาตรา 23 ทุกแหง่ อย่างนอ้ ยปีละ 2 ครง้ั (เดมิ 1 ครงั้ ) 5 คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 23) ควรมี บุคคลทีเ่ กีย่ วขอ้ งกับนโยบาย ของท้องถน่ิ เหลา่ นเี้ ปน็ กรรมการในตำแหนง่ ได้แก่ นายกเทศมนตรี นายก อบต. ผอ.รพ.สง่ เสริมสขุ ภาพตำบล ผกก.สถานีตำรวจภูธรในท้องถน่ิ
| หนา้ ที่ 129 ข้อ รายการ ระดบั ความคดิ เหน็ สำหรับ ที่ 5 4 3 2 1 ผู้ศึกษา 6 คณะกรรมการสถานศึกษา (มาตรา 23) ควรมี บุคคลทเ่ี ก่ียวข้องกับความ ปลอดภัยของนักเรยี น และบุคลากรเปน็ กรรมการในตำแหนง่ ได้แก่ ผอ.รพ. ส่งเสริมสขุ ภาพตำบล ผกก.สถานตี ำรวจภูธรในทอ้ งถิน่ 7 มาตรา 18 เพอ่ื ประโยชนใ์ นการปฏิบัตหิ น้าท่ตี ามมาตรา 11 วรรคหนึ่ง (6) ประชาชนซึ่งมีภมู ลิ ำเนาหรือเปน็ ธุรกจิ ที่เกย่ี วข้องหรอื มีเครือขา่ ยในจังหวัด ใด อาจรวมตวั กันเปน็ คณะบุคคล เพอ่ื ใหก้ ารสง่ เสริม สนับสนุน ช่วยเหลือ เสนอแนะ อุดหนนุ หรือให้ความร่วมมือในการจัด การศึกษาของ สถานศึกษาในจังหวัดนนั้ หรอื จังหวัดใกล้เคยี งได้ 8 มาตรา 24 (7) เอกชน เพ่ิมเติมเป็น เอกชนหรือบคุ คลที่เก่ยี วข้องมาร่วม ประชมุ มีสว่ นร่วม/สง่ เสริมสนบั สนุนเพอื่ ให้ข้อมูลหรือแสดงความคิดเหน็ ได้ให้เปน็ หนา้ ที่ของคณะกรรมการนโยบายทจี่ ะตอ้ งปรับปรงุ ระเบยี บตาม วรรคสอง 9 กฎหมายควรใหอ้ ำนาจในการบรหิ ารจัดการขององคค์ ณะตามมาตราท่ี 18 อย่างแทจ้ รงิ 10 ควรมกี ฎหมายทส่ี ่งเสริมใหข้ ้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษานำประเด็น ความตอ้ งการด้านการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์และการศกึ ษาไปสูก่ ารปฏิบตั ิ ดว้ ยวิธกี าร/รปู แบบตา่ ง ๆ ตามความเหมาะสม
| หน้าที่ 130 คณะผศู้ ึกษา การศึกษา “แนวทางการพัฒนากฎหมายเพื่อนำรอ่ งรูปแบบการตงั้ คณะบุคคลในระดับจังหวดั เพือ่ พัฒนาการศึกษาตามกฎหมายการศึกษาชาติ (จังหวัดชมุ พร)” หวั หน้าคณะผศู้ ึกษา นางสาวพรรณา พรหมวิเชียร รองศึกษาธกิ ารจังหวัดชมุ พร คณะผ้ศู กึ ษา ผู้อำนวยการโรงเรียนเมืองหลงั สวน นางกษมาพร ชวาลติ สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา สรุ าษฎร์ธานี ชุมพร นางอรษา รชั ณาการ ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ นางสาวนวพร จินดาชน่ื สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดชมุ พร นางพรทิพย์ สงั ขช์ ู ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ นางสาววราลี ทองแกว้ สำนกั งานศึกษาธิการจังหวดั ชุมพร นายสามารถ พนั คง ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ นายชชั วาล พรหมเรอื ง สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั ชุมพร ศึกษานิเทศกช์ ำนาญการพเิ ศษ สำนกั งานศึกษาธิการจังหวัดชมุ พร ศกึ ษานิเทศกช์ ำนาญการ สำนักงานศึกษาธิการจังหวดั ชุมพร ศึกษานเิ ทศกช์ ำนาญการ สำนักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั ชุมพร
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145