Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการจัดโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จังหวัดเชียงราย ของคณะอนุกรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชนในคณะกรรมการอำนวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน

รายงานการจัดโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จังหวัดเชียงราย ของคณะอนุกรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชนในคณะกรรมการอำนวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน

Published by seijithai, 2021-09-06 09:39:39

Description: รายงานการจัดโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จังหวัดเชียงราย ของคณะอนุกรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชนในคณะกรรมการอำนวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน วันที่ 20-21 มีนาคม 2564

Search

Read the Text Version

สรปุ รายงานผลการดาเนินงาน การลงพ้นื ทีพ่ บประชาชน ณ จังหวัดเชยี งราย ของ คณะอนกุ รรมการการมสี ว่ นร่วมของเยาวชน ในคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชกิ วุฒสิ ภาพบประชาชน ระหวา่ งวนั เสารท์ ี่ ๒๐ – วนั อาทิตย์ท่ี ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๔ ๑. ช่ือโครงการ สมาชิกวฒุ สิ ภาพบประชาชน ณ จังหวดั เชียงราย ๒. วัน/เดอื น/ปีท่ดี าเนนิ การ คณะอนุกรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน : กิจกรรมการมีส่วนร่วม ๓. สถานท่ี ของเยาวชนเพอ่ื พฒั นาบา้ นเกิด ๔. กล่มุ เปา้ หมาย ระหว่างวันเสาร์ที่ ๒๐ – วันอาทิตยท์ ่ี ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๔ ๑. วัดป่าดอยผาคา ตาบลหลา่ ยงาว อาเภอเวยี งแกน่ จังหวดั เชยี งราย ๒. โรงเรยี นนคิ มสร้างตนเองสงเคราะหช์ าวเขา ตาบลป่าซาง อาเภอแม่จนั จังหวดั เชยี งราย  หนว่ ยงานของรฐั  ประชาชนทว่ั ไป  เยาวชน อนื่ ๆ (หนว่ ยงานราชการในพนื้ ท)่ี

~๒~ ๕. ความสอดคลอ้ งกบั รฐั ธรรมนูญหรอื ยุทธศาสตรช์ าติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา ๗๗ วรรคสอง กาหนดให้ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับต้องมีการรับฟังความคิดเห็นของ ผเู้ ก่ียวขอ้ ง วิเคราะห์ผลกระทบท่อี าจเกิดขนึ้ อย่างรอบด้าน เปน็ ระบบ รวมท้ังเปดิ เผยผลการรับฟังความ คดิ เห็นและการวิเคราะห์ตอ่ ประชาชน และนามาประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมายทุก ข้ันตอน นอกจากน้ีเม่ือกฎหมายมีผลบังคับใช้แล้วต้องประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย โดยการรับฟัง ความคิดเห็นของผู้เก่ียวข้องประกอบด้วย เพื่อพัฒนากฎหมายให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับ หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ กาหนดให้มีการปฏิรูปประเทศไว้ ในมาตรา ๒๕๗ ซึ่งสอดคล้องกับแผนการปฏิรปู ประเทศที่มีผลบงั คับใช้แลว้ กาหนดให้มีแผนการปฏิรูป ๑๒ ดา้ น โดยมรี ะยะเวลาดาเนินการ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - พ.ศ. ๒๕๖๕) โดยมเี ปา้ หมาย ดังน้ี ๑. ประเทศชาตมิ ีความสงบเรยี บรอ้ ย มีความสามัคคปี รองดอง มีการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมคี วามสมดลุ ระหว่างการพฒั นาด้านวัตถกุ ับการพัฒนาด้านจิตใจ ๒. สังคมมคี วามสงบสุข เป็นธรรม และมีโอกาสอนั ทัดเทียมกนั เพ่อื ขจัดความเหลือ่ มลา้ ๓. ประชาชนมีความสุข มีคุณ ภาพชีวิตท่ีดี และมีส่วนร่วมในการพัฒ นาประเทศ และการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข ทั้งน้ี มาตรา ๒๕๙ ได้กาหนดให้การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิรูปด้าน กระบวนการยุติธรรม และด้านการศกึ ษา ต้องมกี ารมีส่วนรว่ มของประชาชนและหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง ๖. ขอ้ มลู โดยทว่ั ไป จังหวัดเชียงราย ตั้งอยู่ภาคเหนือของประเทศไทย ห่างจากกรุงเทพมหานคร 785 กิโลเมตร มีเนื้อท่ีประมาณ 11,678.369 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 7,298,981 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับ จังหวดั ใกล้เคียง ดังน้ี ทิศเหนอื ประเทศสหภาพพม่า และประเทศสาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ทิศใต้ จงั หวัดลาปาง และจงั หวัดพะเยา ทิศตะวันออก ประเทศสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว และจังหวดั พะเยา ทิศตะวันตก ประเทศสหภาพพม่า และจงั หวดั เชียงใหม่ ภมู ิศาสตร์ จังหวัดเชียงรายตั้งอยู่เหนือสุดของประเทศไทย อยู่ระหว่างเส้นรุ้งท่ี 19 องศาเหนือ ถึง 20 องศา 30 ลิปดาเหนือ และเส้นแวงท่ี 99 องศา 15 ลิปดา ถึง 100 องศา 45 ลิปดา ตะวันออก

~๓~ ภูมิประเทศ จงั หวัดเชยี งรายมีภูมปิ ระเทศเปน็ เทอื กเขาสงู ในทวีปตอนเหนอื (North Continental Highland) มีพื้นท่ีราบสูงเป็นหย่อม ๆ ในเขตอาเภอแม่สรวย อาเภอเวียงป่าเป้า และอาเภอเชียงของ บริเวณ เทือกเขาจะมีความสงู ประมาณ 1,500-2,000 เมตรจากระดบั น้าทะเล โดยมีดอยลังกาหลวง เปน็ ยอด เขาที่สูงท่ีสุดในจังหวัด มีความสูง 2,031 เมตร บริเวณ ส่วนที่ราบตามลุ่มแม่น้าสาคัญ ในตอนกลางของพ้ืนท่ี ได้แก่ อาเภอพาน อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอแม่จัน อาเภอแม่สาย อาเภอ เชยี งแสน และอาเภอเชยี งของ มีความสูงประมาณ 410-580 เมตร จากระดับน้าทะเล ภมู ิอากาศ จงั หวัดเชียงรายมีอณุ หภูมิเฉล่ียตลอดปีประมาณ 24 องศาเซลเซียส ฤดรู ้อน เร่มิ จากกลางเดือน กุมภาพันธ์-กลางเดือนพฤษภาคม มีอุณหภูมิประมาณ 37 องศาเซลเซียส ฤดูฝน เร่ิมจากกลางเดือน พฤษภาคม-กลางเดือนตุลาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 27 องศาเซลเซียส ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยปีละ 1,768 มลิ ลเิ มตร สภาพอากาศของจังหวัดเชียงราย ถอื ว่าหนาวจัดในพื้นที่ราบ อุณหภูมติ า่ สุดจะอยู่ท่ี 8 - 9 องศา เซลเซียส ส่วนบนยอดดอย อุณหภูมิต่าสุดจะอยู่ท่ี 0 - 5 องศาเซลเซียส จึงทาให้อากาศที่เชียงราย ในชว่ งฤดูหนาว เปน็ พ้นื ท่ี ๆ นกั ท่องเที่ยวอยากมาเป็นอยา่ งยง่ิ การปกครอง จงั หวดั เชียงราย มีอาเภอจานวนทัง้ หมด ๑๘ อาเภอ ดังน้ี ๑. อาเภอเมืองเชียงราย ๗. อาเภอเทงิ ๑๓. อาเภอเวียงชยั ๑๔. อาเภอแม่ลาว ๒. อาเภอแมส่ าย ๘. อาเภอเวยี งแกน่ ๑๕. อาเภอแมจ่ นั ๑๖. อาเภอเวียงเชยี งรงุ้ ๓. อาเภอเชยี งของ ๙. อาเภอปา่ แดด ๑๗. อาเภอเชียงแสน ๑๘. อาเภอดอยหลวง ๔. อาเภอแม่สรวย ๑๐. อาเภอขนุ ตาล ๕. อาเภอเวียงป่าเปา้ ๑๑. อาเภอพาน ๖. อาเภอพญาเมง็ ราย ๑๒. อาเภอแม่ฟ้าหลวง ประชากร ประชากรในเขตจงั หวัดเชยี งราย แบ่งออกได้ ดังนี้ ๑. คนไทยพ้นื ราบ ประกอบดว้ ยคนเมอื ง คนไทย ไทลือ้ ไทเขนิ ไทใหญ่ ดงั นี้ - คนเมือง เป็นประชากรกลุ่มใหญ่ที่สุดในอดีตเรียกว่า ไทยยวน ไทยยวนนอกล้านนา อาเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี ตาบลคูบัว จังหวัดราชบุรี บางขุนพรหม ผู้ชายจะมีรูปร่างโปร่งบางกว่า คนไทยภาคกลางเล็กน้อย ผู้หญิงมีรูปร่างผิวพรรณและหน้าตางดงาม มีภาษาพูดแตกต่างไปจากไทย ภาคกลางเล็กน้อย มีตัวหนังสือเฉพาะของตนเอง การแต่งกายพื้นเมือง ผู้หญิงนุ่งผ้าซ่ินยาวเกือบถึง

~๔~ ตาตุ่ม ใสเ่ ส้ือแขนกระบอก ห่มสไบ เกล้าผมทัดดอกไม้ ชายนิยมนงุ่ กางเกงขายาว ใส่เส้อื คอกลมแขนสั้น สีครามเข้ม มีผ้าขาวม้าคาดเอว บ้านเรือนยกใต้ถุนสูง หน้าจั่วหลังคามีไม้ไขว้กันประดับด้วยลวดลาย เรยี กว่ากาแล เครื่องดนตรที ส่ี าคัญได้แก่ เปีย๊ ะ สะล้อ ซงึ ป่ี แน กลอง นาฏศิลป์พน้ื บา้ นมกี ารฟอ้ นเมือง ฟ้อนม่าน ฟ้อนเง้ียว ประเพณีที่สาคัญคล้ายไทยภาคกลาง มีบางส่วนที่แตกต่างกันออกไป เช่น ปอยหลวง เรยี กขวญั สบื ชะตาเป็นตน้ - ไทล้ือเปน็ ชนกลุม่ หนง่ึ ทอี่ าศัยอยู่ตอนกลางและตอนบนต้งั แตแ่ ขวงไชยบุรี ประเทศลาวขน้ึ ไป - ไทยเขิน มีถ่ินฐานเดิมอยู่บริเวณลุ่มแม่น้าขิ่นในรัฐฉาน จึงได้ชื่อว่าไทขีน ได้เข้ามาอยู่ใน จังหวัดเชียงราย ในเขตอาเภอเมือง ฯ อาเภอแมส่ าย และอาเภอเชยี งแสน - ไทใหญ่ เรียกตนเองว่าไต ถูกคนเมืองเรียกว่า เงีย้ ว และพม่าเรยี กว่าฉาน ซึ่งแปลว่าคนภูเขา ผชู้ ายรูปร่างสูงใหญ่กวา่ คนไทยทว่ั ไป รูปร่างสูงโปร่งแข็งแรง มือเท้าเล็ก ผหู้ ญิงมีรูปร่างหน้าตาสวยงาม ผิวเนียนกว่าผู้หญิงพม่าเล็กน้อย หน้าตาเฉลียวฉลาด มีภาษาพูดแตกต่างไปจากคนเมือง และคนไทย ภาคกลางเลก็ นอ้ ย มตี ัวหนังสือของตนเอง การแต่งกายพืน้ บา้ น ผหู้ ญงิ นุ่งผ้าซน่ิ ยาวเกอื บถงึ ตาตุ่ม ใสเ่ ส้อื แขนกระบอกเขา้ รูป เกล้าผมมวยโพกศีรษะด้วยผ้า เจาะหใู สต่ มุ้ หู ผชู้ ายใสเ่ ส้ือแบบจนี นุ่งกางเกงขายาว และเกล้าผมมวย สวมหมวกปีกกว้าง เจาะหูใส่ตุ้ม บ้านเรือนยกใต้ถุนสูง มีไม้แกะสลักประดับ เครื่อง ดนตรสี าคญั ได้แก่ ฆ้อง กลอง ฉาบ นาฏศลิ ป์พน้ื บ้านมเี ต้นโต ฟ้อนนก ประเพณีสาคญั คลา้ ยคนไทยทวั่ ไป ๒. ชาวไทยภูเขา ประกอบด้วย อีกอ้ มเู ซอ เย้า กะเหรี่ยง ลีซอ มง้ ๓. ผู้พลัดถิ่นสญั ชาตพิ มา่ หมายถึง บุลคลหลายสัญชาติท่ีอพยพมาจากพม่าเข้าอยู่ในประเทศไทย ก่อนวันท่ี 9 มีนาคม 2519 การออกนอกเขตจังหวัดที่อยู่อาศัยต้องขออนุญาตจากปลัดกระทรวง มหาดไทย ๔. ชาวลาวอพยพ หมายถึง คนลาวที่อาศัยอยู่กับญาติพ่ีน้องตามแนวชายแดนของประเทศไทย เนื่องจากการเปล่ียนแปลงการปกครองของลาวในปี พ.ศ. 2517 ขณะนี้ทางการของไทยยังไม่อนุญาต ให้เดนิ ทางออกนอกเขตจังหวัดทีอ่ ยูอ่ าศยั ๕. ชาวจีน ชนกลุ่มน้อยซ่ึงสืบเช้ือสายจีน ซึ่งโดยส่วนใหญ่แล้วเป็นอดีตทหารพรรคก๊กมินตั๋ง ไดม้ าตงั้ รกรากในพนื้ ที่ ทม่ี คี วามโดดเดน่ ได้แก่ หมูบ่ า้ นสันตคิ ีรี ศลิ ปวฒั นธรรม และประเพณี ๑. แห่พระแวดเวียง ประเพณีอัญเชิญพระพุทธรูปแวดเวียงเชียงราย ซึ่งมีพื้นฐานความคิดมา จากตานานพระเจ้าเลียบโลก ด้วยมีจุดมุ่งหมาย ให้ประชาชนได้มีโอกาสสักการบูชาพระพุทธรูป ศกั ด์ิสิทธคิ์ ู่บ้านคเู่ มอื ง ซง่ึ ประดษิ ฐานอยตู่ ามวดั วาอารามต่าง ๆ ในตัวเมอื งเชียงราย เพ่อื เป็นสริ มิ งคลแก่ ชีวิตในวาระของการส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ โดยการอัญเชิญพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้ านคู่เมือง เชียงราย มาประดษิ ฐานบนบุษบกทไ่ี ด้สร้างข้นึ โดยช่างศิลปินทม่ี ีชือ่ เสียงของจงั หวัดเชียงราย จดั ตั้งเป็น

~๕~ ขบวนอัญเชิญไปรอบเมืองเชียงราย ให้พุทธศาสนิกชนได้มีโอกาสกราบไหว้สักการบูชาด้วย ข้าวตอก ดอกไม้ เป็นการเร่มิ ต้นปีใหมท่ เี่ ป็นสิรมิ งคลยง่ิ นัก ๒. ปอยหลวง งานบญุ ปอยหลวงเป็นเอกลักษณ์ของชาวลา้ นนาซึ่งเป็นผลดีต่อสภาพทางสังคม หลายประการ นบั ตั้งแตช่ าวบา้ นไดม้ าทาบุญรว่ มกนั รว่ มกันจดั งานทาให้เกิดความสามัคคใี นการทางาน งานทาบุญปอยหลวงยงั เป็นการรวมญาติพ่ีน้องทอ่ี ยู่ต่างถิ่นได้มีโอกาสทาบุญร่วมกัน และมีการสืบทอด ประเพณีทเี่ คยปฏิบัติกันมาครั้งแตบ่ รรพชนไม่ให้สูญหายไปจากสงั คม ช่วงเวลา จากเดอื น 5 จนถึงเดือน 7 เหนือ (ตรงกับเดือนกุมภาพันธ์ ถึงเดือนเมษายนหรือเดือนพฤษภาคมของทุกปี) ระยะเวลาประมาณ 3 - 7 วัน ๓. ป๋าเวณี ป๋ีใหม่เมือง งานประเพณีสงกรานต์จัดข้ึนประมาณกลางเดือนเมษายน ในงานมี ขบวนแห่และสรงน้าพระเจ้าล้านทอง การแข่งเรือ และการละเล่นพื้นเมืองและมหรสพ จัดบริเวณ ตัวเมอื งเชียงราย และอาเภอเชียงแสน ๔. งานเทศกาลล้ินจี่และของดีเมืองเชียงราย เทศกาลท่ีชาวเกษตรกรต่างนาผลผลิตทางการ เกษตรของตนมาออกร้าน โดยเฉพาะล้ินจี่ที่มีช่ือเสียงมากของเชียงราย จัดข้ึนประมาณกลางเดือน พฤษภาคมของทุกปี ภายในงานมีการประกวดขบวนรถและธิดาลิ้นจี่ และการออกร้าน บริเวณสนาม กฬี ากลางจังหวดั เชียงราย ๕. งานไหว้สาพญามังราย จัดให้มีพิธีบวงสรวงพญามงั ราย มีการออกร้าน จัดนิทรรศการของ ส่วนราชการและเอกชน และงานรน่ื เรงิ อ่นื ๆ จัดวันท่ี 23 มกราคม - 1 กมุ ภาพนั ธ์ ๖. เป็งปุ๊ด “เป็งปุ๊ด” หรือ “เพ็ญพุธ” เป็นประเพณีตักบาตรเท่ียงคืนค่อนรุ่งเข้าสู่วันเพ็ญข้ึน 15 ค่าที่ตรงกับวันพุธ ตามวัฒนธรรมและความเช่ือของบรรพบุรุษล้านนาไทย ท่ีเชื่อกันว่าพระอุปคุต ซ่ึงเป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งแปลงกายเป็นสามเณรน้อยมาบิณฑบาตโปรดสัตว์โลกในยามเท่ียงคืน และชาวลา้ นนาในอดตี เช่อื ว่าการทาบุญตักบาตรถวายพระอุปคตุ ในวนั เป็งปุ๊ดก็จะไดช้ ื่อว่าเป็นผูม้ ีบุญ มี โชคลาภและร่ารวย บงั เกิดความเป็นสิริมงคลแก่ชวี ิต โดยบรรพบุรษุ ชาวลา้ นนาเชอื่ วา่ ทุกคืนท่ยี ่างเขา้ สู่ วันพุธข้ึน 15 ค่า เป็นวนั เป็งปดุ๊ และจะมีประชาชนชาวลา้ นนาจานวนมากมารอเพื่อประกอบพิธีทาบุญ ตักบาตรพระภิกษสุ ามเณร ๗. งานอนุรักษ์มรดกไทยล้านนา จัดในเดอื นเมษายน มีการจัดนิทรรศการและการแสดงแบบ ไทยลา้ นนา มีการสาธติ งานศิลปะ บรเิ วณหอวัฒนธรรมนิทัศน์ อาเภอเมอื ง ๘. งานประเพณีข้ึนพระธาตุดอยตุง จัดขึ้นในวันข้ึน 14 - 15 ค่า เดือนหกเหนือ หรือเดือน มีนาคม เป็นประเพณีของชาวล้านนา รวมท้ังชาวไทยใหญ่ในพม่าท่ีปฏิบัตสิ ืบตอ่ กันมา โดยชาวบ้านและ พระสงฆ์ จะเดินข้ึนพระธาตุในตอนกลางคืน เมื่อมาถึงก็จะพากันนมัสการองค์พระธาตุก่อน จากน้ัน จึงหาพ้ืนที่ประกอบอาหารเพ่ือตักบาตรในตอนเช้า หลังจากตักบาตรแล้วจะ ช่วยกันบูรณะบริเวณ องคพ์ ระธาตุ เมอื่ ถงึ ยามคา่ คืนกม็ ารวมกนั ทป่ี ะราพิธีเพ่อื ฟงั เทศน์

~๖~ ๙. ประเพณีบวงสรวงเจ้าพอ่ ปลาบกึ เปน็ ประเพณีเกยี่ วกบั ความเชอ่ื ของผู้คนที่อยู่รมิ แม่นา้ โขง โดยเฉพาะชาวประมง ในเขตบ้านหาดไคร้ ตาบลเวยี ง อาเภอเชยี งของ เก่ียวกับปลาบกึ ซึง่ เป็นปลาขนาดใหญ่ อาศัยอยู่ในแม่น้าโขงว่า เป็นปลาศักด์ิสิทธ์ิ มีเทพเจ้าคุ้มครอง ก่อนที่ชาวประมง จะจับปลาบึกต้องมี การบวงสรวงก่อน ฤดูกาลจับปลาบึกระหว่างเดอื นเมษายน-พฤษภาคม ๑๐. ประเพณีโล้ชิงช้าของชาวอีก้อ หรือที่เรียกตนเองว่า “อาข่า” มีเช้ือสายจากจีน-ทิเบต เดินทางอพยพมาอยู่บริเวณ ชายแดนไทย-พม่า แถบตอนเหนือของลาน้ากก โดยเฉพาะอาเภอแม่จัน และแม่สาย การโล้ชิงช้าเป็นการขึ้นไปขอพรและแสดงความราลึกถึงพระคุณของเทพธิดาแห่ง สรวงสวรรค์ ผู้ประทานความชุ่มชื่นอุดมสมบูรณ์ให้กับพืชพันธ์ุธัญญาหารและ ยังเป็นการเซ่นไหว้ บรรพบรุ ุษอีกดว้ ย จดั ในช่วงเดือนสิงหาคม ๗. วิธกี ารดาเนินการ (ลกั ษณะกจิ กรรม) จดั ประชุมสัมมนา จัดเวทีเสวนา  Focus Group จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ อื่น ๆ ๘. วธิ กี ารประเมนิ ผล  สงั เกต สอบถาม ใชเ้ ครอ่ื งมอื สอ่ื สาร อื่น ๆ สมั ภาษณ์ ๙. ผลการดาเนนิ งาน ๙.๑ เชิงปรมิ าน จานวนกลุม่ เป้าหมาย - ณ วดั ป่าดอยผาคา ตาบลหลา่ ยงาว อาเภอเวยี งแก่น จังหวัดเชียงราย ตงั้ ไว้ ๑๐ คน จานวนผมู้ าเข้าร่วม ๕ คน แบง่ ออกเป็น (อ้างองิ ตามกล่มุ เปา้ หมาย) ประชาชนทัว่ ไป  เดก็ - เยาวชน ผู้บรหิ าร ร.ร./ครู ผู้แทนหนว่ ยงานภาครัฐ ผแู้ ทนหนว่ ยงานเอกชน อน่ื ๆ

~๗~ - ณ โรงเรยี นนคิ มสรา้ งตนเองสงเคราะห์ชาวเขา ตาบลปา่ ซาง อาเภอแม่จัน จงั หวดั เชยี งราย ตั้งไว้ ๑๐๐ คน จานวนผูม้ าเขา้ ร่วม ๑๐๖ คน - แบง่ ออกเป็น (อา้ งองิ ตามกลุ่มเปา้ หมาย) ประชาชนทั่วไป  เด็ก - เยาวชน  ผู้บรหิ าร ร.ร./ครู  ผแู้ ทนหนว่ ยงานภาครฐั ผู้แทนหน่วยงานเอกชน อน่ื ๆ ๙.๒ เชงิ คุณภาพ ผลลัพธ์/ความพึงพอใจ ได้แก่ ทีมเยาวชนกลุ่มเป้าหมายในพ้ืนที่ได้รับความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกับบทบาทห น้าท่ีและอานาจของวุฒิ สภาตามรัฐธรรมนู ญ แห่ งราชอาณ าจักร ไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และวัตถุประสงค์ของการจัดโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน โดยเยาวชน มสี ่วนร่วมในการนาเสนอความคิดเห็นในการพัฒนาพื้นท่ี ตามวตั ถุประสงคข์ องโครงการสมาชิกวุฒิสภา พบประชาชน และปญั หาในพืน้ ทไ่ี ด้รับการแกไ้ ขอยา่ งเปน็ ระบบ ๙.๓ เชิงเวลา  เหมาะสม ไม่เหมาะสม อ่ืน ๆ .......................................................................... ๙.๔ งบประมาณดาเนนิ การ ไม่เพยี งพอ  เพยี งพอ/เหมาะสม

~๘~ ๑๐. สรุปสาระสาคัญของการดาเนนิ โครงการ รายละเอียดการลงพื้นท่ีโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ของคณะอนุกรรมการ การมีส่วนร่วมของเยาวชน ในคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ระหว่าง วันเสารท์ ่ี ๒๐ – วันอาทิตยท์ ี่ ๒๑ มนี าคม ๒๕๖๔ รายชื่อคณะเดินทาง ๑. ศาสตราจารย์พเิ ศษกาญจนารตั น์ ลวี โิ รจน์ ท่ีปรึกษาคณะอนุกรรมการ / สมาชิกวฒุ สิ ภา ๒. นางกอบกลุ อาภากร ณ อยธุ ยา ประธานอนกุ รรมการ / สมาชิกวฒุ สิ ภา ๓. นางสาวดาวน้อย สทุ ธนิ ภิ าพนั ธ์ อนกุ รรมการและเลขานกุ าร / สมาชกิ วฒุ สิ ภา ๔. นายอรรทติ ยฌ์ าณ คูหาเรืองรอง อนกุ รรมการ ๕. นายเพชรมงคล วสั สวุ รรณ อนุกรรมการ ๖. นางสาวปาริสา สัทธนิ ทรีย์ อนุกรรมการ ๗. นายอาชวนิ ลอ้ มพทิ ักษ์ อนุกรรมการประชาสมั พนั ธส์ อื่ ดิจิทลั ในคณะกรรมการประชาสัมพนั ธ์ วุฒิสภา ๘. นายกิตตกิ ร กอบเงนิ อนุกรรมการและผู้ชว่ ยเลขานุการ / วิทยากรปฏบิ ตั กิ าร โครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จังหวัดเชียงราย โดยคณะอนุกรรมการ การมสี ว่ นร่วมของเยาวชน มรี ายละเอียดของการจัดกิจกรรมตามลาดบั ดังนี้ วนั เสารท์ ี่ ๒๐ มนี าคม ๒๕๖๔ เวลา ๑๑.๓๐ นาฬกิ า น างก อบ กุ ล อ าภ าก ร ณ อยุธย า สม าชิก วุฒิ ส ภ า ป ระธาน อนุ ก รรรมก าร การมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อมด้วยทีป่ รกึ ษา อนุกรรมการ และอนุกรรมการ เข้าประชุมหารือ และรบั ชมการนาเสนอ “โครงการละอ่อนรักษ์แกน่ ๒” โดยทีมเยาวชน Seed Project อาเภอเวียงแก่น ณ ร้าน สกายวอล์ ค ต าบ ลห ล่ ายงาว อ าเภ อ เวียงแก่น จังหวัดเชียงราย โดยมีตัวแทนเยาวชน ในพื้นท่ี ๒ คน ได้แก่ นางสาวกัญญ์วรา แก้วสุข และนางสาวจุฑามณี จันทรฤทธิ์ ดาเนินการนาเสนอ โครงการฯ ทั้งนี้ได้มีนายสงบ อินเทพ ที่ปรึกษาโครงการฯ เข้าร่วมประชุมหารือด้วย โดยโครงการฯ มีวัตถุประสงค์เพ่ือปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนในพ้ืนที่มีจิตสานึกรักษ์บ้านเกิด และแก้ไขปัญหา ความแหง้ แลง้ ของพน้ื ป่าให้มคี วามชุ่มช้นื และมีสภาพแวดล้อมท่ีดีขนึ้

~๙~ โดยทีมเยาวชน Seed Project อาเภอเวียงแก่น ได้นาเสนอว่า โครงการละอ่อนรักษ์แก่น ๒ เป็นโครงการท่ีสืบเน่ืองจากโครงการละอ่อนรักษ์แก่น คร้งั ท่ี ๑ ซ่ึงจัดทา ณ พื้นท่ีโครงการหลวงห้วยแล้ง ลาน้าห้วยซ้าน โดยในโครงการฯ มีกิจกรรม คือ การอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจในการสร้างฝาย ชะลอน้า การให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกพืชผัก ปลอดสารพิษตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ และการนาเด็กและเยาวชนในพื้นที่ไปศึกษาแหล่งท่องเท่ียว แห่งใหม่ของอาเภอเวียงแก่น โดยให้เยาวชนที่ร่วมโครงการระดมความคิดในการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เพ่ือกอ่ ให้เกิดการมีส่วนร่วมของเยาวชนในการพัฒนาบา้ นเกดิ และโครงการละอ่อนรักษ์แก่น ๒ เป็นโครงการท่ีเน้นกิจกรรมสร้างฝายชะลอน้าเป็นหลัก กาหนดจุดทาฝายท่ีลาน้าห้วยขาม เป็นลาน้าสาขาของลาน้างาว ซึ่งเป็นลาน้าสายหลักของอาเภอเวียงแก่น ที่ประชาชนในพ้ืนท่ีใช้ในการอุปโภค บริโภค และการเกษตร แต่ในฤดูฝนน้าหลากไหลเร็ว ลาน้า ไม่สามารถกกั เก็บนา้ ได้ ในฤดูแล้งนา้ แห้งขอด เกิดปญั หาการขาดแคลนน้าในพื้นที่ นายสงบ อินเทพ ท่ีปรึกษาโครงการฯ กล่าวว่า อาเภอเวียงแก่นมีนโยบายและกลยุทธ์ ในการฟ้ืนฟูต้นน้า เพ่ือสร้างความสมบูรณ์ให้แก่ ผนื ป่าในพื้นที่ มีเป้าหมายในการสร้างฝายชะลอน้า กระจายตามลาน้าสาขาของลาน้างาว จานวน ๒,๗๕๒ ฝาย ภายในระยะเวลา ๕ ปี โดยมีการ แจกจ่ายให้หน่วยงานแต่ละแห่ง ร่วมกันช่วยเหลือ การสร้างฝาย ซึ่งสภาเด็กและเยาวชนอาเภอเวียงแก่น เปน็ อีกกล่มุ หนึ่งท่เี ขา้ ร่วมกจิ กรรมนี้ ประเด็นข้อสังเกตและคาถาม ศาสตราจารย์พิเศษ กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ สมาชิก วุฒิสภา มีข้อซักถามว่า มีวิธีเลือกจุดในการทาฝายอย่างไร มีการ ประเมนิ ผลหรอื ติดตามฝายชะลอนา้ ท่สี รา้ งไปหรือไม่ โดยทีมเยาวชนได้ตอบข้อซักถามว่า การเลือกจุดทาฝาย เป็นไปตามนโยบายของอาเภอ ซึ่งจะทาฝายในทุกลาน้าสาขาของ ลาน้างาว โดยในส่วนของโครงการละอ่อนรักษ์แก่น เริ่มทาจุดแรกที่

~ ๑๐ ~ ลาน้าห้วยซ้าน บริเวณโครงการหลวงห้วยแล้งเพราะอยู่ในพื้นท่ีสูง จะชะลอน้าให้ค่อย ๆ ไหลลงสู่พื้นท่ี ถัดมา ก่อให้เกิดความชุ่มช้ืนให้พื้นดินเพื่อความอุดมสมบูรณ์ต่อไป และหลังจากการสร้างฝายเสร็จแล้ว ไดม้ ีการเข้าไปสารวจพื้นทีอ่ ย่เู ปน็ ระยะ ๆ เพ่อื บารุงรักษา นางสาวดาวน้อย สทุ ธินิภาพนั ธ์ สมาชิกวุฒิสภา ให้ข้อสังเกตว่า ทมี เยาวชนที่ดาเนินโครงการน้ี มีบางส่วนท่ีอยู่ในช่วงเตรียมไปศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา จะมีการสานต่อโครงการหรือไม่ ในกลุ่ม เครือข่ายเยาวชนมกี คี่ น เข้าร่วมกิจกรรมท้งั หมดหรือไม่ มีกิจกรรมอยา่ งอืน่ และงบประมาณจากทใี่ ด โดยทีมเยาวชนกล่าวว่า ในเครือข่ายทีมเยาวชนมีหลายช่วงวัยและพร้อมจะสานต่อการดาเนิน โครงการ โดยมีสมาชิกอยู่ประมาณ ๘๐ คน ซึ่งผลัดเปล่ียนหมุนเวียนกันมาทากิจกรรม และมีกิจกรรม อื่น ๆ ที่เคยดาเนินการ เช่น การอบรมเรื่องเพศศึกษา และการให้ความรู้เรื่องการต้ังครรภ์ในวัยเรียน เป็นต้น ส่วนงบประมาณได้รับการสนับสนุนทั้งอาเภอ เทศบาล บ้านพักเด็กและเยาวชน รวมถึงจาก โครงการ To be number 1. ในรอบปีหน่ึงจะได้รับงบประมาณ ไม่เพียงพอต่อการดาเนินงาน จึงขอความอนุเคราะหใ์ ห้คณะอนุกรรมการการมีส่วนรว่ มของเยาวชนช่วยประสานหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วข้อง เพอ่ื ดาเนนิ การต่อไป นางกอบกุล อาภากร ณ อยุธยา สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วม ของเยาวชน ได้ตง้ั ข้อสงั เกตว่า ไดม้ ีการเก็บข้อมลู หรอื มีการทาวิจยั การเปล่ียนแปลงของพ้นื ที่บรเิ วณที่มี การสรา้ งฝายหรือไม่ นายสงบ อินเทพ ท่ปี รึกษาโครงการฯ กล่าววา่ มีการประเมินผลหลงั จากการสร้างฝายอยู่เป็น ระยะ แต่ในสว่ นของการเก็บขอ้ มลู หรอื การทาวิจยั สาหรบั เด็ก ๆ ยงั ไมไ่ ด้ไปถึงข้ันน้ัน แตใ่ นอนาคตจะมี วางแผนเพือ่ สอนเด็ก ๆ และเยาวชนใหม้ คี วามรคู้ วามเข้าใจมากยิง่ ข้ึน นายอาชวิน ล้ อมพิ ทักษ์ อนุกรรมการ ได้ซักถามว่า การดาเนิ นงานของทีมเยาวชน มีการประชาสมั พันธบ์ า้ งหรือไม่ ทีมเยาวชนกล่าวว่า การประชาสัมพันธ์มีท้ังก่อนและหลังดาเนินกิจกรรม ก่อนทากิจกรรม จะเป็นการประชาสัมพันธ์เพ่ือเชิญชวนให้เด็กเยาวชนเข้าร่วมโครงการ ส่วนหลังกิจกรรมจะเป็น การประชาสมั พนั ธ์ผลการดาเนนิ งานให้สาธารณชนรบั ทราบ ในการนี้นางสาวดาวน้อย สุทธินิภาพันธ์ สมาชิกวุฒิสภา ได้กล่าวว่าจะ มีการดาเนินการ ประสานเรอื่ งงบประมาณเพือ่ นามาสนับสนนุ โครงการของทมี เยาวชน Seed Project เวยี งแก่นต่อไป

~ ๑๑ ~ เวลา ๑๓.๓๐ นาฬกิ า นางกอบกุล อาภากร ณ อยุธยา สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วม ของเยาวชน ได้นาที่ปรึกษาอนุกรรมการ และอนุกรรมการ พร้อมด้วยทีมเยาวชน Seed Project อาเภอเวียงแก่น ลงพ้ืนที่จริงท่ีจะใช้ในการดาเนินการจัดกิจกรรม ณ ฝายก้ันน้าในพื้นที่ป่า บริเวณวัดป่าดอยคา อาเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย ซ่ึงในขณะน้ีมีความแห้งขอด โดยมีการสร้าง ฝายเกเบี้ยนก้นั ลาน้าไวแ้ ลว้ ๑ จุด เวลา ๑๗.๓๐ นาฬิกา นางกอบกุล อาภากร ณ อยุธยา สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วม ของเยาวชน พร้อมด้วยที่ปรึกษาอนุกรรมการ และอนุกรรมการ ได้ผ่านจุดคัดกรองท่ีเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขตาบลจัดไว้ และเขา้ เยี่ยมชมกิจกรรม วิถีชีวติ ความเป็นอยู่ของนักเรียน และเด็กด้อยโอกาส ณ บ้านพักนักเรียนนิคมของโรงเรียนนิคมสร้างตนเองสงเคราะห์ชาวเขา ตาบลป่าซาง อาเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย และรับฟังการเสนอ “โครงการเครือข่าย SEED อาสาปันใจให้น้อง”จากทีมเยาวชน Seed Project จงั หวดั เชียงราย โดยมนี ายกรวิชญ์ อนิ ศวร ผู้ประสานโครงการฯ เป็นผนู้ าเสนอ

~ ๑๒ ~ ในการน้ีคณะอนุกรรมการฯ ได้มอบอาหารม้ือเย็นให้กับเด็กนักเรียน ประกอบด้วย ไก่ทอด สูตรเคเอฟซี แกงเผ็ดไก่ ขนมโดนัท และผลไม้ ซึ่งเป็นงบประมาณจากโครงการสมาชิกวุฒิสภา พบประชาชน

~ ๑๓ ~ วนั อาทติ ย์ท่ี ๒๑ มีนาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๐๐ นาฬิกา นางกอบกุล อาภากร ณ อยุธยา สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วม ของเยาวชน พรอ้ มด้วยท่ปี รึกษาอนกุ รรมการ และอนกุ รรมการ ไดเ้ ดนิ ทางมายังบ้านพักนักเรยี นนคิ ม ของโรงเรียนนคิ มสรา้ งตนเองสงเคราะหช์ าวเขาอีกครง้ั เพอื่ ร่วมประชุมหารอื เก่ยี วกบั การดาเนนิ งานของ โรงเรยี น ในการนี้ได้มี นายนิคม หวายบุตร ผอู้ านวยการศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นท่ีสูงจังหวดั เชียงราย นางอรนุช ชัยชาญ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงราย นายจรัญ คุณะแสงคา ผูอ้ านวยการโรงเรียนนิคมสรา้ งตนเองสงเคราะหช์ าวเขา และบุคลากรของโรงเรียน เข้ารว่ มหารือดว้ ย โดยสรปุ ประเด็นสาคัญได้ ดงั น้ี ๑. ประเด็นการขอความอนุเคราะห์เพื่อประสานใช้พ้ืนท่ีในความดูแลของศนู ยพ์ ัฒนาราษฎรบน พ้ืนที่สูงจังหวัดเชียงราย ที่อยู่ติดกับบริเวณบ้านพักนักเรียนนิคม เพ่ือให้นักเรียนได้จัดทาโครงการทา การเกษตรแบบผสมผสาน โดยพื้นที่ดังกล่าวมีเน้ือที่ประมาณ ๔ – ๕ ไร่ ซ่ึงทางคณะอนุกรรมการฯ ไดห้ ารอื กับผูอ้ านวยการศูนย์พัฒนาราษฎรบนพ้ืนท่ีสงู จงั หวดั เชยี งราย และพัฒนาสงั คมและความมั่นคง ของมนุษยจ์ ังหวดั เชยี งราย ได้ขอ้ หารอื วา่ ทางศูนย์พฒั นาราษฎรบนพืน้ ที่สงู จงั หวดั เชยี งราย อนุญาตให้ ทางบ้านพักนักเรียนนิคมสามารถใช้พ้ืนท่ีสนับสนุนการทาโครงการการทาการเกษตรของนักเรียนได้ โดยใหม้ ีการจดั ทาหนังสือข้อตกลงในการใชพ้ ื้นท่ี ระหว่างศูนย์พฒั นาราษฎรบนพ้ืนท่ีสูงจังหวดั เชยี งราย และโรงเรียนนิคมสงเคราะหช์ าวเขา

~ ๑๔ ~ ในส่วนของงบประมาณในการทาโครงการเกษตรแบบผสมผสานของนักเรียน ทางพัฒนาสังคม และความม่ันคงของมนุษย์จังหวัดเชียงราย แนะนาว่าสามารถจัดทาโครงการเพ่ือเสนอของบประมาณ จากกองทนุ คุ้มครองเดก็ และมีอกี หนึ่งกองทนุ อาจขอได้เร็วกว่าคอื กองทนุ สง่ เสรมิ การจัดสวสั ดิการสงั คม ศาสตราจารย์พิเศษ กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ สมาชิกวุฒิสภา ได้ให้ข้อแนะนาว่าในการจัดทา โครงการฯ เพื่อเสนอของบประมาณควรทาแบบเต็มรูปแบบและครบวงจร ในครง้ั แรกท่ีของบประมาณ ไปอาจจะไม่ได้เตม็ จานวน แตร่ ายละเอยี ดโครงการน้ันจะเปน็ ขอ้ พจิ ารณาในการของบครัง้ ต่อ ๆ ไปได้ ภาพประกอบ พ้ืนทใี่ นความดแู ลของศูนย์พฒั นาราษฎรบนพ้ืนที่สงู จงั หวดั เชียงราย ซึ่งทางโรงเรยี นจะขอความอนเุ คราะห์เพ่ือนาใช้ทาโครงการเกษตรแบบผสมผสานให้กับนกั เรยี น ๒. ประเด็นเรื่องน้าอุปโภค บริโภค ของนักเรียนที่ใช้ภายในบ้านพักนักเรียน ไม่เพียงพอต่อการ ใช้งาน และประสบปัญหาเร่ืองแหล่งน้าปนเป้ือนสารเคมีจากการทาการเกษตรของชุมชนใกล้เคียง รวมท้ังโรงเรียนมีความต้องการในการสร้างฐานพักน้าเพื่อรองรับน้าฝนเพื่อใช้ในบ้านพักนักเรียนนิคม เนื่องจากของเดิมมีสภาพทรุดโทรม นางสาวดาวน้อย สุทธินิภาพันธ์ สมาชิกวุฒิสภา ได้ขอคาปรึกษาหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยผู้อานวยการศูนย์พัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัดเชียงราย ได้กล่าวว่ากรมชลประทานได้ขุดลอก อ่างเก็บน้าไว้บนพ้ืนท่ีสูงที่อยู่ถัดขึ้นไป แล้วปล่อยน้าตามท่อเพ่ือกระจายน้าให้พื้นท่ีโดยรอบได้ใช้ เนือ่ งจากปัญหาการขาดแคลนนา้ เกิดขึน้ ในบริเวณพื้นทีใ่ กล้เคียงด้วย ศาสตราจารยพ์ ิเศษ กาญจนารัตน์ ลวี ิโรจน์ สมาชกิ วุฒิสภา ไดใ้ ห้คาแนะนาใหผ้ ู้ดแู ลบ้านพัก นักเรยี นนิคมสบู น้าจากสระน้าในพื้นท่ีบ้านพักขึ้นมากรองโดยวิธแี บบง่าย ๆ เพ่ือใช้ในการอุปโภค ไม่ใช่ เพื่อบรโิ ภค จะไดม้ ีนา้ ใช้เพยี งพอ ภาพประกอบ สระเกบ็ น้าภายในบรเิ วณบา้ นพกั เพื่อใชใ้ นการอปุ โภค

~ ๑๕ ~ ๓. ประเด็นการขาดแคลนของใช้ในชีวิตประจาวันของนักเรียนบ้านพักนักเรียนนิคม เช่น สบู่ ยาสีฟนั ผงซกั ฟอก ข้าวสาร อาหารแห้ง เปน็ ตน้ นางสาวดาวน้อย สุทธินภิ าพนั ธ์ สมาชกิ วุฒิสภา ไดก้ ล่าวว่า จะประสานหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เพื่อสนบั สนุนขา้ วสาร และของใชอ้ ่ืน ๆ ให้กบั นกั เรียนของบ้านพักนักเรียนนิคม ผ่านมาทางทีมเยาวชน Seed Project ที่อย่ใู นพื้นที่ตอ่ ไป ศาสตราจารย์พิเศษ กาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ สมาชิกวุฒิสภา ได้ให้ความคิดเห็นว่า การลงพ้ืนท่ีของอนกุ รรมการการมีส่วนรว่ มของเยาวชนครงั้ น้ี ทาใหเ้ หน็ ถึงการดาเนนิ งานทีส่ บื เนอื่ งจาก โครงการ Seed Project Thailand ซ่ึงเป็นโครงการท่ีได้นาเยาวชนในแต่ละพื้นท่ีทั่วประเทศอบรม แลกเปล่ียนความคิดเห็นกัน แสดงออกถึงศักยภาพในการร่วมพัฒนาบ้านเกิดของตัวเอง โดยไม่ได้เป็น เพียงโครงการที่จัดอบรบแล้วแยกย้ายไป แต่มีการสานต่อกิจกรรมจากการอบรมสู่การลงมือทาจริง จนเกิดเป็นแรงบันดาลใจให้เยาวชนด้วยกัน นางกอบกุล อาภากร ณ อยุธยา สมาชิกวุฒิสภา ได้กล่าวในตอนท้ายว่า การลงพ้ืนที่ในคร้ังน้ี เป็นการติดตามผลการอบรมโครงการ Seed Project Thailand ที่เคยจัด ซ่ึงทาให้เห็นว่าเยาวชน ณ พื้นที่แห่งน้ี มีความตั้งใจจริงในการลงมือทาเพื่อบ้านเกิดของตัวเอง เป็นกิจกรรมท่ีดีและมีประโยชน์ ทางวฒุ สิ ภาพรอ้ มใหค้ วามช่วยเหลอื และประสานงานหน่วยงานทเ่ี กย่ี วข้องให้ร่วมกันดาเนินงานตอ่ ไป ตอ่ มาคณะอนุกรรมการได้เยย่ี มชมกิจกรรมของเดก็ นักเรียนบริเวณบ้านพกั นักเรยี นตามท่ีผู้ดูแล บา้ นพักนักเรยี นนิคมได้จัดเตรียมไว้ กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมนันทนาการของเด็กเล็กที่พักอาศัยอยู่ ณ บ้านพักนักเรียน ของโรงเรยี น นิคมสร้างตนเองสงเคราะห์ชาวเขา กิจกรรมท่ี ๒ กิจกรรมการทาการเกษตรพชื ผกั สวนครัว ซง่ึ นักเรยี นได้เพาะปลกู และดูแลกันเอง ได้แก่ กะหล่า ผักกาด พริก มะเขือ และอื่นๆ เพื่อนาผลผลิตจากแปลงเพาะปลูกเหล่านั้น มาประกอบ อาหารรบั ประทานภายในบา้ นพกั สว่ นทเ่ี หลือจากการบริโภคไมท่ นั จะนาออกขายส่ตู ลาด

~ ๑๖ ~ กิจกรรมที่ ๓ กิจกรรมการทาโรงเพาะเห็ด ซ่ึงได้รบั การสนับสนุนจากโครงการเครือข่าย SEED อาสาปันใจให้น้อง เม่ือวันท่ี ๗ มีนาคม ๒๕๖๔ เพ่ือให้เด็กนักเรียนได้ฝึกทักษะการเพาะเห็ด แลว้ นาผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารรับประทานภายในบ้านพักนักเรียน กิจกรรมท่ี ๔ กิจกรรมการทาโรงเลี้ยงไก่ไข่ ซึ่งทางโรงเรียนได้จัดซื้อพันธุ์แม่ไก่ไข่ จานวน ๑๐๐ ตัว เพ่ือให้เด็กนักเรียนได้ฝึกทักษะการเล้ียงไก่ และแบ่งหน้าท่ีความรับผิดชอบในการดูแลโรงเรือนเลี้ยงไก่ กันเอง แล้วนาผลผลิตที่ได้มาประกอบอาหารรับประทานภายในบ้านพักเรียน โดย 1 วัน สามารถเก็บ ผลผลิตไข่ไก่ไดป้ ระมาณ ๙๐ ฟอง

~ ๑๗ ~ หลังจากนั้นคณะอนุกรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน ได้มอบอาหารม้ือกลางวันให้กับเด็ก นักเรียนอีกหน่ึงม้ือ ประกอบด้วย ลาบคั่ว ผัดผักใส่วุ้นเส้น ขนมแซนวิช ผลไม้ และไอศกรีม ซ่ึงเป็น งบประมาณจากโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน พร้อมกันนี้คณะอนุกรรมการฯ ได้ร่วม รบั ประทานอาหารกลางวันกับคณะครู และเจ้าหน้าที่หน่วยงานราชการในพ้ืนที่ และก่อนเดินทางกลับ ทางโรงเรียนได้มอบของท่ีระลึกจากฝีมือนักเรียนโรงเรียนนิคมสร้างตนเองสงเคราะห์ชาวเขาให้กับ สมาชิกวฒุ สิ ภาด้วย

~ ๑๘ ~ ๑๑. ข้อสงั เกตและข้อจากดั การลงพ้ืนท่ีทากิจกรรม ณ อาเภอเวียงแก่น จานวนกลุ่มเป้าหมายไม่เป็นไปตามท่ีคาดไว้ เน่ืองจากมีเยาวชนติดการสอบ และมีธุระเร่งด่วน จึงส่งตัวแทนและบุคคลอื่น ๆ เข้าร่วมเพียง ๕ คน จากเป้าหมายท่ีต้ังไว้ ๑๐ คน ซึ่งอาจส่งผลต่อการนาเสนอโครงการท่ี กลุ่มเยาวชนจัดทา และการแลกเปล่ียนความคิดเห็นระหว่างสมาชิกวุฒิสภากับเยาวชนไม่เกิดความหลากหลาย ความคดิ เหน็ ทส่ี ะท้อนกลบั มาอาจไม่ครบถ้วนสมบรู ณ์ การลงพื้นที่ ณ บ้านพักนักเรียนนิคมของโรงเรียนนิคมสร้างตนเองสงเคราะห์ชาวเขา การจัด สถานที่พบปะหารือกับทีมเยาวชน นักเรียน และหน่วยงานราชการท่ีเก่ียวข้อง อาจไม่เป็นทางการ เทา่ ทค่ี วร เปน็ ไปตามสภาพพ้ืนท่ีเนื่องจากเปน็ ชนบท แตใ่ นภาพรวมของการพบปะหารือสามารถส่ือสาร จุดประสงค์การลงพ้ืนที่ของคณะอนุกรรมการได้เป็นอย่างดี และสามารถประสานงานหน่วยงาน ทีเ่ กย่ี วขอ้ งเพือ่ สนับสนนุ ความช่วยเหลอื ให้บา้ นพักนกั เรยี นนิคมไดต้ ามความต้องการ