Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการจัดโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จังหวัดยะลา และจังหวัดปัตตานี

รายงานการจัดโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จังหวัดยะลา และจังหวัดปัตตานี

Published by seijithai, 2021-09-07 01:25:36

Description: รายงานการจัดโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จังหวัดยะลา และจังหวัดปัตตานี ของคณะอนุกรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน ในคณะกรรมการอำนวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน วันที่ 20-21 มีนาคม 2564

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาํ เนินงาน การลงพนื้ ทพี่ บประชาชน ณ จังหวดั ยะลา และจงั หวัดปตั ตานี ของ คณะอนกุ รรมกาการมสี ว่ นร่วมของเยาวชน ในคณะกรรมการอาํ นวยการโครงการสมาชกิ วฒุ ิสภาพบประชาชน ระหว่างวนั ศุกรด์ ีท่ี ๑๓ – วนั อาทิตยท์ ่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ๑. ชือ่ โครงการ สมาชิกวฒุ สิ ภาพบประชาชน ณ จงั หวัดยะลา และจังหวดั ปตั ตานี ๒. วนั /เดอื น/ปที ่ีดาํ เนินการ ระหวา่ งวันศุกร์ดที ี่ ๑๓ – วันอาทิตย์ท่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ๓. รายชอ่ื คณะเดินทาง ๑. นางกอบกุล อาภากร ณ อยธุ ยา ประธานคณะอนกุ รรมการ / สมาชิกวฒุ สิ ภา ๒. นายกษิดิศอาชวคณุ สมาชกิ วฒุ ิสภา ๓. นายอนศุ าสน์ สวุ รรณมงคล สมาชิกวฒุ ิสภา ๔. นางสาวดาวนอ้ ย สุทธินิภาพนั ธ์ เลขานกุ ารอนุกรรมการ / สมาชิกวุฒสิ ภา ๕. นายอรรทิตยฌ์ าณ คูหาเรอื งรอง อนกุ รรมการ ๖. นายชนะชัย ประมวลทรัพย์ อนุกรรมการ ๗. นายธนพนธ์สิงหพนั ธุ์ อนกุ รรมการ ๘. นายกิตติกร กอบเงนิ อนกุ รรมการและผ้ชู ่วยเลขานกุ าร/วทิ ยากรปฏิบตั ิการ ๔. สถานท่ี ๑. ศนู ยอ์ ํานวยการบริหารจังหวดั ชายแดนภาคใต้จงั หวัดยะลา ๒. สมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใตอ้ ําเภอรามนั จังหวัดยะลา ๓. โรงเรยี นตันหยงเปาว์ อําเภอหนองจกิ จงั หวัดปตั ตานี ๔. โรงแรมซีเอส ปตั ตานี

๒   ๕. กลมุ่ เปา้ หมาย ๑. เยาวชน ๒. หนว่ ยงานของรัฐ ๓. ประชาชนทวั่ ไป จาํ นวนผรู้ ว่ มโครงการท้ังหมด ๑๐๖ คน ดังน้ี - ผมู้ าเขา้ รว่ ม ณ ศูนย์อํานวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)จํานวน ๒๘ คน - ผู้มาเขา้ รว่ ม ณ สมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใต้ อําเภอรามนั จังหวัดยะลาจํานวน ๒๘ คน - ผมู้ าเข้าร่วม ณ โรงเรียนบ้านตนั หยงเปาว์ จาํ นวน ๔๐ คน - ผ้มู าเข้าร่วม ณ โรงแรมซีเอสปตั ตานีจํานวน ๑๐ คน ๖. งบประมาณทก่ี ารดาํ เนนิ โครงการ งบประมาณที่การดําเนินโครงการ : คณะคณะอนุกรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน ได้รับ งบประมาณจากคณะกรรมการอํานวยการโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชน จํานวน 300,000 บาท (สามแสนบาทถ้วน) ลงพ้นื ที่ ณ จงั หวัดยะลา และจังหวดั ปัตตานี ใช้งบประมาณท้ังส้นิ 67,355.20 บาท (หกหมื่นเจ็ดพันสามร้อยห้าสิบห้าบาทย่ีสิบสตางค์) คงเหลืองบประมาณ 232,644.80 บาท (สองแสน สามหมืน่ สองพันหกรอ้ ยส่ีสบิ สีบ่ าทแปดสิบสตางค)์ ๗. ความสอดคล้องกบั รฐั ธรรมนญู หรอื ยทุ ธศาสตรช์ าติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา ๗๗ วรรคสอง กําหนดให้ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับต้องมีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ผลกระทบท่ี อาจเกิดข้ึนอย่างรอบด้าน เป็นระบบ รวมท้ังเปิดเผยผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ต่อประชาชน และนํามาประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมายทุกข้ันตอน นอกจากนี้เมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้แล้ว ต้องประเมินผลสัมฤทธ์ิของกฎหมาย โดยการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย เพื่อพัฒนากฎหมาย ให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับ หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ กําหนด ให้มีการปฏิรูปประเทศไว้ในมาตรา ๒๕๗ซึ่งสอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศที่มีผลบังคับใช้แล้ว กําหนดให้ มีแผนการปฏริ ูป๑๒ ดา้ น โดยมีระยะเวลาดําเนินการ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - พ.ศ. ๒๕๖๕) โดยมีเปา้ หมาย ดังนี้ ๑. ประเทศชาติมคี วามสงบเรียบร้อย มคี วามสามัคคีปรองดอง มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีความสมดลุ ระหวา่ งการพัฒนาดา้ นวัตถุกับการพัฒนาดา้ นจติ ใจ ๒. สงั คมมคี วามสงบสขุ เปน็ ธรรม และมีโอกาสอนั ทัดเทยี มกันเพอื่ ขจัดความเหลือ่ มลา้ํ ๓.ประชาชนมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศและการปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมขุ ท้ังนี้ มาตรา ๒๕๙ ได้กําหนดให้การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับการปฏิรูปด้าน กระบวนการยตุ ิธรรม และด้านการศกึ ษา ต้องมีการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและหนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

๓   ๘. วิธกี ารดําเนินการ (ลักษณะกิจกรรม) จัดประชมุ สัมมนา   จัดเวทเี สวนา   Focus Group ใชเ้ คร่อื งมือสื่อสาร  จดั ประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ าร  อ่นื ๆ ลงพ้ืนทจี่ รงิ ๙. วิธีการประเมินผล  สงั เกต  สอบถาม สัมภาษณ์ อื่น ๆ ๑๐. ผลการดาํ เนนิ งาน ๙.๑ เชิงปรมิ าณ - จาํ นวนเป้าหมาย ณ ศนู ย์อาํ นวยการบรหิ ารจังหวดั ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ตั้งไว้ ๓๐ คน จํานวนผมู้ าเขา้ ร่วม ๒๘ คน - แบ่งออกเปน็ (อา้ งอิงตามกลุ่มเปา้ หมาย) ประชาชนทั่วไป  เดก็ - เยาวชน   ผูบ้ ริหาร ร.ร./ครู  ผแู้ ทนหน่วยงานภาครัฐ ผแู้ ทนหนว่ ยงานเอกชน อน่ื ๆ - จํานวนเป้าหมาย ณ สมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใต้ อาํ เภอรามัน จงั หวัดยะลาตง้ั ไว้ ๓๐ คน จํานวนผมู้ าเขา้ ร่วม ๒๘ คน - แบง่ ออกเปน็ (อ้างองิ ตามกลุ่มเปา้ หมาย) ประชาชนทั่วไป  เด็ก - เยาวชน ผ้บู ริหาร ร.ร./ครู  ผแู้ ทนหน่วยงานภาครัฐ ผู้แทนหน่วยงานเอกชน อื่น ๆ

๔   - จํานวนเปา้ หมาย ณ โรงแรมซีเอสปัตตานตี ัง้ ไว้ ๑๐ คน จํานวนผมู้ าเขา้ รว่ ม ๑๕ คน - แบง่ ออกเป็น (อ้างองิ ตามกลุม่ เป้าหมาย) ประชาชนท่วั ไป  เด็ก - เยาวชน ผบู้ รหิ าร ร.ร./ครู  ผแู้ ทนหนว่ ยงานภาครัฐ ผแู้ ทนหน่วยงานเอกชน อนื่ ๆ ๙.๒ เชงิ คณุ ภาพ - ผลลัพธ์/ความพึงพอใจ ได้แก่ เยาวชนนักศึกษาในพื้นที่ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ บทบาทหนา้ ทีแ่ ละอาํ นาจของวฒุ ิสภาตามรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และเยาวชนได้แลกเปล่ียน เรียนรู้ ความคิดเห็น และได้รับคําแนะนําจากสมาชิกวุฒิสภา รวมถึงหน่วยงานในพ้ืนท่ีที่รับผิดชอบ และ มีส่วนร่วมในการนําเสนอแนวคิดในการพัฒนาพื้นท่ี ตามวัตถุประสงค์ของโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบ ประชาชน ๙.๓ เชงิ เวลา  เหมาะสม ไม่เหมาะสม อื่น ๆ .......................................................................... ๙.๔ งบประมาณดําเนนิ การ ไมเ่ พยี งพอ  เพียงพอ/เหมาะสม

๕   ๑๑.สรุปสาระสาํ คญั ของการดาํ เนินโครงการ รายละเอียดการลงพ้ืนท่ีพบประชาชนของ คณะอนุกรรมกาการมีส่วนร่วมของเยาวชนใน คณะกรรมการอํานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนระหว่างวันศุกร์ดีที่ ๑๓ – วันอาทิตย์ท่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ณ จังหวัดยะลา และจังหวัดปตั ตานี ๑. วันศุกรท์ ่ี ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ นางกอบกุล อาภากรสมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อมด้วยอนุกรรมการเข้าประชุมหารือร่วมกับนางกนกรัตน์ เกื้อกิจผู้ช่วยเลขาธิการ ศอ.บต.กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.)และหน่วยงานในพื้นท่ี ณ ห้องประชุม ศูนย์อํานวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสนับสนุนโครงการและกิจกรรมของ เยาวชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีเยาวชนในพื้นท่ีนําเสนอโครงการเยาวชนกับการพัฒนา บัณฑติ จํานวน ๕ โครงการดังนี้ ๑.) โครงการจําลองการประชุมแบบ MUN (Model United Nationเพ่ือการพัฒนาและ เสรมิ สรา้ งสันตสิ ขุ (MUN Meeting for Development and Peace Promotion) ๒.) โครงการตันหยงเปาว์ โมเดล (Tanyongpao Model) หัวข้อ ธนาคารขยะในชุมชุนโดย ชมรมเยาวชนสานใจไทย สู่ใจใต้จังหวัดปัตตานี และเครือข่าย SEED PROJECT เป็นผู้รับผิดชอบ โครงการ ๓.) โครงการสมาคมพฒั นาเยาวชนชายแดนใต้ ๔.) โครงการกระจายทุนการศึกษาทีไ่ มท่ ัว่ ถึง ๕.) โครงการปลุกใจ หลอมรวมพลัง สูก่ ระบวนการเรยี นรู้ ทูตสอ่ื สารชมุ ชนพ่ึงตนเอง นางกนกรัตน์ เกือ้ กิจผชู้ ว่ ยเลขาธิการ ศอ.บต.ได้กล่าวช่ืนชมโครงการทุกเครือข่ายเยาวชนนําเสนอ ต่อที่ประชุม พร้อมกล่าวต่อว่าหน่วยงานราชการ มูลนิธิ และกองทุนต่าง ๆ ในพื้นที่พร้อมให้การ สนับสนุนกิจกรรมของเยาวชนอันจะเสริมสร้างศักยภาพของเยาวชนและสร้างประโยชน์ต่อสังคม ส่วนรวม

๖   ๒. วนั เสาร์ที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ เวลา ๑๐.๐๐ นาฬกิ า นางกอบกุล อาภากร สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อม ด้วยสมาชิกวุฒิสภา และอนุกรรมการลงพื้นที่พบเยาวชน พร้อมหารือร่วมกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นและเจ้าหน้าท่ีเกษตรตําบลเนินงาม อําเภอรามัน จังหวัดยะลา เพื่อร่วมกันให้ข้อเสนอแนะและ ร่วมกันหาแนวทางในการสนับสนุนกับโครงการสมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใต้โดยมีนายอับดุลวาริส โลงซา นายกสมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใต้ รวมกลุ่มกับเยาวชนในพื้นท่ีทําการเกษตรปลูกสวน มะละกอ โดยมุ่งหวังจะทําในรูปแบบ smart farmer ซึ่งหลังจากประสานหารือแล้วเสร็จ หน่วยงาน ในพ้ืนท่ีพรอ้ มใหก้ ารสนบั สนนุ กจิ กรรมดงั กล่าว

๗   เวลา ๑๓.๐๐ นาฬิกา นางกอบกลุ อาภากร สมาชิกวฒุ ิสภา ประธานอนกุ รรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พรอ้ ม ด้วยอนกุ รรมการลงพื้นทีพ่ บประชาชนณ บา้ นตนั หยงเปาว์อาํ เภอหนองจกิ จังหวัดปัตตานี เพื่อรบั ฟงั ปัญหานาํ้ ทะเลกดั เซาะชายฝ่ัง พรอ้ มรับประสานงานไปยงั หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งต่อไป เวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา นางกอบกุล อาภากร สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อมด้วยอนุกรรมการเข้าเย่ียมชมโครงการตันหยงเปาว์ โมเดล (Tanyongpao Model) หัวข้อ ธนาคารขยะในชุมชุน ณ โรงเรียนบ้านตันหยงเปาว์ อําเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี อําเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีโดยมีผู้รับผิดชอบโครงการคือ ชมรมเยาวชนสานใจไทย สู่ใจใต้จังหวัดปัตตานี และ เครือข่าย SEED PROJECT ดําเนินโครงการร่วมกับชุมชุนและโรงเรียนบ้านตันหยงเปาว์

๘   เวลา ๑๖.๐๐ นาฬิกา นางกอบกุล อาภากร สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อม ดว้ ยอนุกรรมการ เข้าเย่ยี มชมการแสดงศิลปะพื้นบ้านปันจักสีลตั ของชมรมเยาวชนจังหวัดปัตตานี ตําบล ปยุ ดุ อําเภอเมอื งปัตตานี จังหวดั ปัตตานี พร้อมใหก้ ําลังใจกับชมรมเยาวชน ในการน้ีนายอนุศาสน์ สุวรรณมงคล สมาชิกวุฒิสภา ในพื้นที่จังหวัดปัตตานี ได้กล่าวชื่นชม ชมรมเยาวชน และประชาชนในพื้นที่ที่ร่วมกันสืบสานวัฒนธรรมท้องถิ่นให้คงอยู่กับสังคม และพร้อมให้ การสนบั สนุนกิจกรรมทดี่ แี ละสร้างสรรคต์ ่อสังคม

๙   ๔. วนั อาทิตย์ที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ นางสาวดาวน้อย สุทธินิภาพันธ์ สมาชิกวุฒิสภา อนุกรรรมการและเลขานุการ คณะอนุกรรมการมีส่วนร่วมของเยาวชน บันทึกเทปสัมภาษณ์เยาวชนในพ้ืนที่สามจังหวัดชายแดน ภาคใต้เพ่ือรับฟังความคิดเห็นของเยาวชน และนําไปเผยแพร่ในช่องทางต่าง ๆ เพื่อสังคมได้จะรับทราบ มุมมองความคิดของเยาวชน ในประเด็นการปฏิรูปประเทศ และภาพอนาคตของประเทศไทยท่ีเยาวชน ต้องการให้เกิดข้ึน รวมถึงเร่ืองท่ีเก่ียวข้องกับเยาวชนและการพัฒนาท้องถ่ิน การสร้างความรู้ความเข้าใจ ในการอยรู่ ่วมกันในสงั คมอยา่ งสงบสขุ โดยมีเยาวชนรว่ มแสดงความคิดเหน็ และสรุปสาระสาํ คญั ไดด้ ังนี้ ๑. นายประดิษฐ์หลําเล๊ะ ได้แสดงความคิดเห็นว่า สิ่งสําคัญที่จะทําให้ประเทศขับเคลื่อนไป ข้างหน้าได้คือความรักและความสามัคคีของคนในชาติ ในสังคมอาจมีมุมมองความคิดท่ีแตกต่างกันได้ แต่จะต้องไม่แตกแยกกัน และสถาบันการศึกษาเป็นจุดเริ่มต้นและพื้นที่สําคัญที่จะเปิดโอกาสให้เยาวชน ได้แสดงความคิดเห็นและลงมือทํา ผ่านการเรียน โครงการ และกิจกรรม โดยมีคณาจารย์ ผู้มีความรู้ใน ท้องถิ่น ให้การสนับสนุน พรอ้ มแลกเปลี่ยนขอ้ มูลกนั เพ่ือหาจุดร่วมในการพัฒนาประเทศ ๒. นายมูฮัมหมัดซอบีรีน มะเซ ได้แสดงความคิดเห็นเก่ียวกับเรื่องระบบการศึกษา เน่ืองจากใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังมีเยาวชนท่ียังไม่เข้าถึงระบบการศึกษาอยู่จํานวนมาก เนื่องจาก ปัญหาความยากจนจึงต้องออกจากระบบการศึกษาเพ่ือไปประกอบอาชีพเลี้ยงดูตัวเอง และเมื่อเยาวชน ไม่ได้รับการศึกษาจะเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสังคมอ่ืน ๆ ตามมา จึงให้ความคิดเห็นว่าควรให้ปฏิรูป ระบบการศึกษาด้วยการกระจายทุนการศึกษาให้แต่ละพื้นที่อย่างทั่วถึง อีกทั้งได้แสดงความคิดเห็น ในเรอ่ื งสาธารณสุข โดยกลา่ ววา่ โรงพยาบาลปัตตานมี บี ุคลากรทางการแพทย์ไม่เพียงพอต่อจํานวนผู้ป่วย ทําให้เกิดความล่าช้าในการรักษา จึงมีความต้องการให้ปฏิรูปการสาธารณสุข ด้วยการเพ่ิมบุคลากรทาง การแพทย์ให้ท่ัวถึงทุกพ้ืนที่ ๓.มูฮําหมัด อุเมะ ได้กล่าวถึงการเอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรมท่ีมีอยู่ดั้งเดิมในพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือการละเล่นปันจักสีลัต โดยรวมกลุ่มเยาวชนที่สนใจ ร่วมกันศึกษาข้อมูลและ รอื้ ฟืน้ การละเล่นปนั จักสีลัต และเปิดเปน็ ศูนย์เรียนรูช้ มุ ชนเพ่ือรวมกลุ่มคนทุกช่วงวัยในท้องถ่ินให้มีพ้ืนท่ี ในการทํากิจกรรมที่สร้างสรรค์ และได้ต่อยอดนําเอาศิลปะและวัฒนธรรมเหล่านั้นสร้างเป็นชิ้นงานเพ่ือ อกจําหน่าย ก่อให้เกิดรายไดใ้ ห้กับชุมชนและผ้คู นในท้องถน่ิ ๔. อับดุลคอเดย์ พูลาได้กล่าวถึงโครงการตันหยงเปาว์ โมเดล (Tanyongpao Model) หัวข้อ ธนาคารขยะในชุมชุน โดยจุดเริ่มต้นเกิดจากชมรมเยาวชนสานใจไทย สู่ใจใต้ ได้ยึดถือคําว่าเกิดมาต้อง ตอบแทนคุณแผ่นดิน เป็นหลักปฏิบัติในการดําเนินกิจกรรมของชมรม กิจกรรมหลักของชมรมคือ กิจกรรมจติ อาสาพหวุ ัฒนธรรมสรา้ งการอยู่ร่วมกันในหลากหลายมิติ ซึ่งจากการพิจารณาร่วมกันแล้ว ได้ เลือกเขา้ ไปแกไ้ ขปัญหาและใหค้ วามช่วยเหลือพ้ืนที่บา้ นตนั หยงเปาว์ อําเภอหนองจิก จงั หวดั ปัตตานี

๑๐   เน่ืองจากในพื้นที่เป็นหมู่บ้านติดชายฝั่งทะเล เป็นทําเลท่ีต้ังที่ดีในการท่องเที่ยว แต่ได้รับผลกระทบจาก น้ําทะเลกัดเซาะชายฝั่ง อีกทั้งยังมีปัญหาเกี่ยวกับขยะท่ีถูกพัดพามากับคล่ืนลม ทั่วพื้นท่ีของหมู่บ้านเต็ม ไปด้วยขยะ ทางชมรมเยาวชนสานใจไทย สู่ใจใต้ได้เข้าร่วมหารือกับชุมชน และได้ร่วมกันจัดกิจกรรมจิต อาสา โดยมีเยาวชนกว่า ๓๐๐ คน ร่วมกันเก็บขยะและพัฒนาพื้นท่ีให้สะอาดเรียบร้อย หลังจากนั้น โรงเรียนบ้านตันหยงเปาว์ได้เสนอว่าโรงเรียนมีการจัดการขยะท่ีดีแล้ว หากต้องการให้เกิดเป็นระบบและ มั่นคงมากขึ้นควรต้องมีธนาคารขยะดังนั้นทางชมรม ชุมชน และโรงเรียน จึงร่วมกันจัดทําธนาคารขยะ แลว้ พฒั นาใหป้ ระสบความสาํ เร็จ เพื่อให้ชุมชนอ่ืน ๆ ในจงั หวดั ปัตตานนี ําไปเป็นแบบอย่าง ๕. อาดีลา ดอเลาะได้กล่าวถึงศักยภาพของเยาวชนในพื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ แต่ บริบทสังคมปัจจุบัน ส่งผลให้เยาวชนยังไม่ได้แสดงความสามารถเท่าที่ควร และได้แสดงความคิดเห็น เก่ียวกับการไม่เข้าถึงสถาบันการศึกษาของเยาวชน เนื่องจากปัญหาครอบครัว ปัญหาความยากจน ปัญหายาเสพติด รวมถึงปัญหาท่ีตัวเยาวชนเอง โดยเสนอความคิดเห็นว่าสถาบันครอบครัวและ สถาบันการศึกษาควรทํางานร่วมกันถกถึงปัญหาที่เกิดข้ึน และจะทําอย่างไรในการช่วยเหลือเยาวชนให้ อยู่ในระบบการศึกษา การให้ทุนการศึกษา การทําให้ห้องเรียนหรือสถาบันกันศึกษามีความน่าสนใจ และการปรับเปล่ียมมุมมองของเยาวชนให้เห็นถึงความสําคัญของการศึกษา ซ่ึงส่ิงเหล่านี้จะสามารถทํา ใหเ้ ยาวชนกลบั เขา้ มาสรู่ ะบบการศึกษาเพมิ่ มากข้ึน