สรปุ รายงานผลการดำเนนิ งาน การลงพื้นท่ีพบประชาชน ณ จังหวัดยะลา และจงั หวดั ปัตตานี ของ คณะอนกุ รรมการการมสี ว่ นร่วมของเยาวชน ในคณะกรรมการอำนวยการโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชน ระหว่างวันศุกร์ที่ ๑๓ – วนั อาทิตย์ที่ ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ ๑. ชือ่ โครงการ สมาชกิ วุฒสิ ภาพบประชาชน ณ จังหวดั ยะลา และจงั หวดั ปัตตานี ๒. วนั /เดอื น/ปีทด่ี ำเนินการ ระหวา่ งวันศุกรท์ ี่ ๑๓ – วนั อาทิตย์ที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ๓. สถานท่ี ๑. ศนู ย์อำนวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ๒. สมาคมพฒั นาเยาวชนชายแดนใต้ ๔. กล่มุ เป้าหมาย ๓. โรงเรียนตันหยงเปาว์ ๔. โรงแรมซเี อส ปตั ตานี ✓ หนว่ ยงานของรฐั ✓ ประชาชนทว่ั ไป ยp ✓ เด็ก - เยาวชน อืน่ ๆ (หนว่ ยงานราชการในพน้ื ท่)ี
๔ ๕. ความสอดคล้องกับรฐั ธรรมนูญหรือยุทธศาสตรช์ าติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา ๗๗ วรรคสอง กำหนดให้ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับต้องมีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ผลกระทบที่ อาจเกิดขึ้นอย่างรอบด้าน เป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผยผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ต่อประชาชน และนำมาประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน นอกจากนี้เมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้แล้ว ต้องประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย โดยการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย เพื่อพัฒนากฎหมาย ให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป ประกอบกับ หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ กำหนด ให้มีการปฏิรูปประเทศไว้ในมาตรา ๒๕๗ซึ่งสอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศที่มีผลบังคับใช้แล้ว กำหนดให้ มีแผนการปฏริ ปู ๑๒ ด้าน โดยมรี ะยะเวลาดำเนนิ การ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - พ.ศ. ๒๕๖๕) โดยมีเป้าหมาย ดังนี้ ๑. ประเทศชาตมิ ีความสงบเรยี บรอ้ ย มคี วามสามัคคีปรองดอง มกี ารพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมคี วามสมดุลระหวา่ งการพฒั นาดา้ นวัตถุกบั การพัฒนาด้านจติ ใจ ๒. สงั คมมคี วามสงบสขุ เปน็ ธรรม และมีโอกาสอนั ทัดเทยี มกันเพือ่ ขจัดความเหล่ือมล้ำ ๓.ประชาชนมคี วามสขุ มคี ณุ ภาพชีวิตที่ดี และมสี ่วนรว่ มในการพัฒนาประเทศและการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมขุ ทั้งนี้ มาตรา ๒๕๙ ได้กำหนดให้การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิรูปด้าน กระบวนการยุตธิ รรม และด้านการศึกษา ต้องมีการมสี ว่ นรว่ มของประชาชนและหนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง ๖. ข้อมูลทว่ั ไป ๖.๑จงั หวัดยะลา จังหวัดยะลา เป็นจังหวัดหนึ่งตั้งอยู่ในภาคใต้ของประเทศไทย มีพื้นที่ ๔,๕๒๑.๐๗๘ ตาราง กิโลเมตร มีประชากร ๕๓๒,๓๒๖ คน อาณาเขตทางใต้ติดกับประเทศมาเลเซีย เป็นจังหวัดเดียวใน ภาคใต้ที่ไม่ติดทะเล และเป็นจังหวัดที่อยู่ใต้สุดของประเทศไทย ดังปรากฏในคำขวัญประจำจังหวัดคือ \"ใต้สุดสยาม เมืองงามชายแดน จังหวัดยะลาเป็นหนึ่งในสี่จังหวัดที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนา อิสลาม และเป็นหนึ่งในสามจังหวัดที่ประชากรส่วนใหญ่ใช้ภาษามลายูปัตตานีในการสื่อสาร ประชากร ส่วนใหญ่เป็นชาวไทยเชื้อสายมลายู รองลงมาคือชาวไทยเชื้อสายจีนและชาวไทยพุทธ อย่างไรก็ตาม ยะลาถือเป็นจังหวัดที่ดำรงความเปน็ พหุวัฒนธรรมได้อย่างชัดเจน เพราะมคี วามแตกต่างกันทัง้ ด้านเชอ้ื ชาติ ภาษา และศาสนา แต่ชนทกุ กล่มุ ยังคงรักษาวิถีชวี ติ และประเพณขี องตนไวอ้ ย่างเหนียวแน่น การปกครองส่วนภมู ภิ าคการปกครองแบ่งออกเปน็ ๘ อำเภอ ๕๘ ตำบล ๓๔๑ หมู่บา้ น ๑. เมืองยะลา ๕. ยะหา ๒. เบตง ๖. รามนั ๓. บันนังสตา ๗. กาบัง ๔. ธารโต ๘. กรงปนิ ัง
๕ ภูมิศาสตร์และอาณาเขตจังหวัดยะลาจังหวัดยะลา เป็นจังหวัดที่อยู่ใต้สุดของประเทศไทย อยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ ๕ – ๗ องศาเหนือและ เส้นแวงที่ ๑๐๐ – ๑๐๒ องศาตะวันออก อยู่ห่างจาก กรุงเทพมหานครตามทางรถไฟสายใต้ ๑,๐๓๙ กิโลเมตร และตามถนนเพชรเกษมสายเก่า ๑,๓๙๕ กิโลเมตร หรือสายใหม่ ๑,๐๘๔ กิโลเมตร มีพื้นที่ประมาณ ๔,๕๒๑ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ ๒.๘ ลา้ นไร่ คดิ เปน็ ร้อยละ ๖.๔ ของพ้ืนท่ีภาคใต้ มีอาณาเขตตดิ ต่อกบั จังหวดั ใกลเ้ คียง คือ ทศิ เหนอื ติดต่อกบั จังหวัดสงขลา และปัตตานี ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกับ รฐั เปรัค ประเทศมาเลเซีย ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กบั จงั หวดั นราธวิ าส และรัฐเปรัค ประเทศมาเลเซีย ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กบั จังหวดั สงขลา และรัฐเคดาห์ ประเทศมาเลเซีย
๖ ลักษณะภูมิประเทศจงั หวัดยะลาภูมปิ ระเทศโดยทั่วไปของจังหวัดยะลา มีลักษณะเป็นภูเขา เนิน เขาและหุบเขา ตั้งแต่ตอนกลางจนถึงใต้สุดของจังหวัด มีที่ราบบางส่วนทางตอนเหนือของจังหวัด ได้แก่ บริเวณทร่ี าบแม่นำ้ ปตั ตานี และแมน่ ้ำสายบรุ ไี หลผ่าน อยูส่ งู กวา่ ระดบั น้ำทะเลปานกลางถึงสูงมาก โดยเฉลี่ย ระหว่าง ๑๐๐- ๒๐๐ เมตร พื้นที่ส่วนใหญ่ปกคลุมดว้ ยป่าดงดิบ และสวนยางพารา มีเทือกเขาที่สำคัญอยู่ ๒ เทือกเขา คือ เทือกเขาสันกาลาคีรี เริ่มจากอำเภอเบตง เป็นแนวยาวกั้นพรมแดนระหว่างประเทศไทย กับ ประเทศมาเลเซยี และเทือกเขาปโิ ล ซึ่งเป็นเทือกเขาอยู่ภายในจังหวดั ในเขตตำบลบุดี บันนังสาเรง ของอำเภอ เมืองยะลา กง่ิ อำเภอกรงปินัง และอำเภอรามัน ภูเขาที่สำคัญ ของจังหวัดยะลา คือ ภูเขาสันกาลาคีรี ซึ่งเริ่มต้นจากเขตอำเภอโคกโพธิ์ จังหวัด ปัตตานี ผ่านอำเภอยะหา อำเภอบันนังสตา อำเภอธารโต และอำเภอเบตง เป็นสันเขาที่แบ่งเขตแดนระหว่าง ประเทศไทยกันประเทศมาเลเซีย และเป็นต้นน้ำที่สำคัญ คือ แม่น้ำสายบุรี อีกภูเขาหนึ่ง คือ ภูเขาปิโล อยู่ ระหว่างตำบลบดุ ี ตำบลบันนังสาเรง และตำบลกรงปนิ ัง อำเภอเมืองยะลา เป็นเทือกเขา ยาวเหยีดติดต่อกบั เขตอำเภอรามันและอำเภอบันนังสตา นอกจากนั้นยังมีภูเขาปรินยอ ซึ่งอยู่ระหว่างเขตอำเภอรามันและ อำเภอบันนงั สตา จากสภาพภูมิประเทศท่ีอุดมไปด้วยภูเขา ทำให้จังหวัดยะลามีฝนตกเกอื บตลอดท้ังปี ทำให้อากาศ ชุม่ ชน้ื อากาศอบอุน่ ในตอน กลางวนั และเย็นสบายในเวลากลางคนื ลกั ษณะภูมอิ ากาศจงั หวัดยะลาจังหวัดยะลาต้ังอยใู่ นเขตมรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนอื และลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ ทำให้มีสภาพอากาศแบบร้อนชื้น มี ๒ ฤดู คือ ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ - พฤษภาคม และฤดฝู นเริ่มตัง้ แต่ พฤษภาคม - กมุ ภาพนั ธ์ อุณหภูมิตำ่ สุดเฉล่ยี ประมาณ ๒๓.๑ องศาเซลเซียส และสงู สดุ เฉลีย่ ๓๒.๗ องศาเซลเซียส ปรมิ าณนำ้ ฝนเฉลยี่ ๒,๒๘๑.๖ มิลลิเมตร ต่อปี มฝี นตกเฉล่ยี ๑๓๕ วนั ตอ่ ปี เดือนตลุ าคม - พฤศจกิ ายน มฝี นตกชุกที่สุด แหล่งน้ำจังหวัดยะลา มีแม่น้ำที่สำคัญ คือ แม่น้ำปัตตานี ต้นน้ำเกิดจากภูเขาในท้องที่ อำเภอเบตง ไหลผ่านอำเภอธารโต อำเภอบันนังสตา อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา อำเภอยะรัง อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีและไหลลงสู่ทะเลที่อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี ความยาว ประมาณ ๒๑๐ กิโลเมตร บริเวณที่แม่น้ำปัตตานีไหลผ่านเขตอำเภอเบตง อำเภอธารโตและอำเภอ บันนัสตาเป็นพื้นที่ระหว่างภูเขา การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยจึงได้ก่อสร้างเขื่อนบางลางขึ้น ท่ี ตำบลบาเจาะ อำเภอบันนงั สตา เปน็ เข่ือนไฟฟ้าพลงั น้ีอีกแหง่ หนงึ่ ของภาคใต้ ตดิ ตงั้ เครือ่ ง กำเนินไฟฟา้ ๓ เครือ่ ง มกี ำลังผลิตรวม ๗๒,๐๐๐ กิโลวัตต์ แม่นำ้ อีกสายหน่ึงที่ไหลผ่านจงั หวดั ยะลา คอื แม่นำ้ สายบุรี ตน้ กำเนดิ จาภูเขา สนั กาลาคีรี ซ่ึง กั้นเขตแดนระหว่างประเทศไทยกับ ประเทศมาเลเซีย ไหลผ่านอำเภอแว้ง อำเภอรือเสาะ จังหวัด นราธิวาส ผ่านอำเภอรามัน จังหวัดยะลา แล้วไหลลงสู่ทะเลที่อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี ความยาว ประมาณ ๑๕๐ กิโลเมตร
๗ ประชากรประชากรส่วนใหญข่ องจังหวดั ยะลาเปน็ ชาวไทยเช้อื สายมลายูเป็นพนื้ ในอดตี จะถกู เรียกอย่างรวม ๆ กับชาวชวา-มลายูทั่วไปว่าคนยาวี (Orang Jawi) แต่จะเรียกตัวเองว่าออแฆนายู และ พงึ ใจที่ผู้อ่นื เรยี กว่าคนนายมู ากกวา่ คนยาวี เม่อื ๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ ในสมัยหลวงพบิ ลู สงครามเป็น นายกรัฐมนตรีได้ออกประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยรัฐนิยมฉบับที่ ๓ เรื่องการเรียกชื่อชาวไทย โดยให้เรียกชาวมลายูมุสลิมว่าไทยอิสลาม และปัจจุบนั ทางราชการของไทยยงั คงเรียกคนเชื้อสายมลายู ว่าคนไทยหรือไทยมุสลิมอยู่ นอกจากนั้นก็จะมีชาวไทยพุทธและชาวไทยเชื้อสายจีนเป็นชนกลุ่มน้อย อาศัยอยู่ตามเมืองใหญ่ ๆ โดยเฉพาะอำเภอเบตงถือเป็นชุมชนชาวจีนที่มีขนาดใหญ่และเข้มแข็ง สามารถคงอัตลักษณ์ความเป็นจนี ไว้อย่างเหนียวแน่น โดยมากเปน็ ชาวจนี กวางไส บรรพบุรษุ อพยพจาก เขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง ส่วนชาวไทยเชื้อสายจีนในเทศบาลนครยะลาโดยมากเป็นชาวฮกเกี้ยน ขณะที่ชาวไทยพทุ ธมอี ยู่หนาแน่นในเขตเทศบาลนครยะลา แต่ระยะหลงั เมื่อเกิดเหตกุ ารณ์ความไมส่ งบ ในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทำให้ชาวไทยเชื้อสายจีนและชาวไทยพุทธอพยพออกจากพื้นท่ี เป็นจำนวนมาก เช่นชุมชนชาวจีนที่บา้ นเนียง อำเภอเมืองยะลา และชุมชนจีนบ้านแบหอ อำเภอรามนั ทลี่ ูกหลานโยกย้ายออกจากถิน่ ฐานเดมิ จนสิน้ ขณะที่ชาวซาไกเผ่ากันซิวและจำนวนน้อยเป็นเผ่ากินตัก ซึ่งเคยตั้งถิ่นฐานในเขตหมู่ ๓ ตำบล บ้านแหร อำเภอธารโต แต่ปัจจุบันส่วนใหญ่อพยพไปประเทศมาเลเซีย ด้วยเหตุผลด้านที่ทำกินและวิถี ชีวิตที่ดีกว่า ประกอบกับเหตุผลด้านความไม่สงบ นอกจากนี้ยังมีชาวพม่า ลาว และกัมพูชา เข้าเป็น แรงงานในยะลาเป็นจำนวนมากในเขตอำเภอเมืองยะลาและอำเภอเบตง โดยใน พ.ศ. ๒๕๕๒ มีจำนวน ไม่ต่ำกว่า ๕,๐๐๐ คน และมีชาวเขาจากภาคเหนืออพยพมาลงหลักปักฐานที่ยะลาหลายเผ่าเพื่อเป็น แรงงาน เชน่ เผ่ามง้ เข้ามาอาศยั ในอำเภอเบตงและอำเภอธารโตจำนวนหนึ่ง และพบวา่ ม้งสว่ นหน่ึงอาศยั อยูร่ ว่ มนิคมกับเผา่ ซาไกทบ่ี า้ นซาไก ส่วนชุมชนมเู ซอบ้านบ่อน้ำร้อนในอำเภอเบตงมีประชากรมากถึงขั้น ก่อต้ังโบสถ์ครสิ ต์ในชุมชนของตัวเอง ๖.๒จงั หวัดปัตตานี เมืองปตั ตานีตัง้ เมื่อ พ.ศ.๒๔๔๔ ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์ เมืองปัตตานีเป็นเมืองเก่าแก่ มีความอดุ มสมบรู ณด์ ว้ ยโภคทรพั ย์เปน็ อู่ข่าวอู่นำ้ มชี าวยุโรป หลายชาติ เขา้ มาทำการคา้ แต่โบราณ คำว่า\"ปัตตานี\"เป็นชื่อเมือง ไม่ปรากฏหลักฐานที่ชัดเจนว่ามีความเป็นมาอย่างไรเป็นเพียงคำ บอกเล่าท่ีสืบต่อกนั มา ซง่ึ มีหลกั ฐานในการเรยี กเปน็ ทางการตงั้ แตส่ มยั รชั การท่ี ๒ โปรดเกล้า ฯ ใหแ้ ยก ปตั ตานี เป็น ๗ หัวเมือง คอื ปตั ตานี ยะลา ยะหริง่ ระแงะ รามนั สายบุรี และหนองจิก ต่อมารัชการท่ี ๕ ทรงโปรดเกล้า ฯ ยกเลิกระบบหัวเมือง โดยแบ่งเป็นมณฑล คือ ปัตตานี ยะลา สายบุรี และราแงะ และในปี พ.ศ. ๒๔๗๕ ไดป้ ระกาศใช้พระราชบญั ญตั แิ ห่งราชอาณาจกั รสยามจัดการปกครองข้ึนใหม่เป็น จังหวัด คือ ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส โดยได้ผนวก หนองจิก สายบุรี และยะหริ่งให้อยู่ในจังหวัด ปัตตานี รามนั ให้อยู่ในจังหวดั ยะลา และระแงะอยใู่ นจงั หวัดนราธิวาส
๘ จังหวัดปัตตานี ตั้งอยูภ่ าคใต้ของประเทศไทย ห่างจากรุงเทพฯ ๑,๐๕๕ กม. มีเนื้อที่ประมาณ ๑,๙๔๐.๓๕ ตร.กม. หรือ ประมาณ ๑,๒๑๒,๗๒๓ ไร่ มอี าณาเขต ตดิ ต่อกับจังหวดั ใกล้เคยี ง ดงั นี้ ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กบั อา่ วไทย ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกบั เขตอำเภอเมอื งยะลา อำเภอรามัน จังหวัดยะลา และเขต อำเภอบาเจาะ จงั หวดั นราธวิ าส ทศิ ตะวนั ออก ติดตอ่ กับอ่าวไทย ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกับเขตอำเภอเทพา และอำเภอสะบ้าย้อย จงั หวัดสงขลา การปกครองสว่ นภมู ภิ าคแบง่ ออกเปน็ ๑๒ อำเภอ ๑๑๕ ตำบล ๖๔๒ หม่บู ้าน ๑. อำเภอเมืองปตั ตานี ๗. อำเภอสายบุรี ๒. อำเภอโคกโพธ์ิ ๘. อำเภอไมแ้ ก่น ๓. อำเภอหนองจิก ๙. อำเภอยะหรงิ่ ๔. อำเภอปะนาเระ ๑๐. อำเภอยะรงั ๕. อำเภอมายอ ๑๑. อำเภอกะพอ้ ๖. อำเภอทงุ่ ยางแดง ๑๒. อำเภอแมล่ าน
๙ ลักษณะภูมิประเทศจังหวัดปัตตานี แบ่งเป็น ๓ ลักษณะ ประกอบด้วย พื้นราบชายฝั่งทะเล ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนใหญ่ประมาณ ๑ ใน ๓ ของพื้นที่จังหวัด ได้แก่ ทางตอนเหนือและทางตะวันออกของ จังหวัดมีหาดทรายยาว และเป็นที่ราบชายฝั่งกว้างประมาณ ๑๐ - ๓๐ กิโลเมตร พื้นที่ราบลุ่ม บริเวณ ตอนกลาง และตอนใต้ของจังหวัด มีแม่น้ำปัตตานีไหลผ่านที่ดินมีความเหมาะสม ในการเกษตรกรรม และพ้ืนท่ภี ูเขา ซึ่งเปน็ พ้นื ทส่ี ่วนน้อยอยู่ทางตอนใตข้ องอำเภอโคกโพธ์ิ อำเภอกะพ้อ และทางตะวันออก ของอำเภอสายบรุ ี ลักษณะภูมิอากาศจงั หวดั ปตั ตานี อยภู่ ายใตอ้ ทิ ธพิ ลของลมมรสมุ ทพี่ ัดประจำฤดกู าล ๒ ชนิด คือ ฤดูมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือหรือฤดูหนาว จะมีลมจากทศิ ตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งเป็นลมเย็นและ แห้งจากประเทศจีนพัดปกคลุมประเทศไทย ทำให้ประเทศไทยตอนบนตั้งแต่ ภาคกลางขึ้นไปมีอากาศ หนาวเย็นและแห้งแล้งทั่วไป แต่ภาคใต้ตั้งแต่จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ลงไปกลับมีฝนตกชุกเพราะลม มรสุมนี้ พัดผ่านอ่าวไทยจึงพัดพาเอาไอน้ำไปตกเป็นฝนทั่วไป ตั้งแต่จังหวัดชุมพรลงไป อากาศจึงไม่ หนาวเย็นดงั เชน่ ภาคอน่ื ๆ ทอ่ี ยทู่ างตอนบนของ ประเทศ และจังหวัดปัตตานซี งึ่ อยทู่ างด้านฝั่งตะวนั ออก ได้รับอิทธิพลของลมนี้เต็มที่จึงมีฝนตกอยู่ในเกณฑ์ปานกลางและมีอากาศเย็นเป็นครั้งคราว ลมมรสุม อีกชนิดหนึ่งคือลมมรสมตะวันตกเฉียงใต้ซึ่งพัดผ่านมหาสมุทรอินเดีย จึงพาเอาไอน้ำและความชุ่มช้ืน มาสู่ประเทศไทย แต่เนอ่ื งจากเทือกเขาตะนาวศรดี ้านตะวันตกซงึ่ ปดิ กน้ั กระแสลมเอาไว้ จึงทำใหบ้ รเิ วณ ภาคใต้ฝั่งตะวนั ออกและจงั หวัดปตั ตานมี ฝี นน้อยกว่าภาคใต้ ฝง่ั ตะวนั ตกซ่ึงเป็นด้านรับลมมรสุม ประชากรประชากรจังหวัดปัตตานีประกอบด้วยผู้คนหลากหลายเชื้อชาติ อันได้แก่เชื้อชาติ มลายเชื้อชาติไทย และเชื้อชาติจีน โดยส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม รองลงมาคือศาสนาพุทธ และ ศาสนาอ่นื ๆ จำนวนประชากรจงั หวดั ปัตตานี ข้อมลู ณ วันที่ ๓๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๓ มีดังน้ี เพศ หนว่ ยบรกิ าร ชาย หญงิ รวม ๑. อำเภอเมอื งปตั ตานี ๕๕,๖๓๖ ๕๙,๘๘๓ ๑๑๕,๕๑๙ ๒. อำเภอโคกโพธิ์ ๒๙,๑๕๓ ๓๐,๕๕๙ ๕๙,๗๑๒ ๓. อำเภอหนองจิก ๓๒,๙๕๗ ๓๓,๔๙๖ ๖๖,๔๕๓ ๔. อำเภอปะนาเระ ๒๐,๐๐๖ ๒๐,๙๓๖ ๔๐,๙๔๒ ๕. อำเภอมายอ ๒๖,๘๖๐ ๒๘,๑๓๘ ๕๔,๙๙๘ ๖. อำเภอท่งุ ยางแดง ๙,๙๑๖ ๑๐,๕๖๒ ๒๐,๔๗๘ ๗. อำเภอสายบุรี ๓๑,๐๔๙ ๓๒,๕๕๘ ๖๓,๖๐๗
หนว่ ยบริการ ชาย ๑๐ รวม ๕,๑๓๕ ๑๐,๕๕๖ ๘. อำเภอไมแ้ ก่น ๓๙,๒๕๖ เพศ ๗๙,๖๔๒ ๙. อำเภอยะหรง่ิ ๔๐,๙๘๕ หญงิ ๘๓,๒๗๘ ๑๐. อำเภอยะรงั ๗,๒๗๓ ๕,๔๒๑ ๑๕,๐๔๕ ๑๑. อำเภอกะพ้อ ๖,๙๔๑ ๔๐,๓๘๖ ๑๔,๔๐๖ ๑๒. อำเภอแมล่ าน ๓๐๕,๑๖๗ ๔๒,๒๙๓ ๖๒๔,๖๓๖ รวมท้ังหมด ๗,๗๗๒ ๗,๔๖๕ ๓๑๙,๔๖๙ ๗. วธิ ีการดำเนนิ การ (ลกั ษณะกิจกรรม) ✓ จัดประชุมสัมมนา จัดเวทเี สวนา Focus Group ใช้เครื่องมือสอื่ สาร จดั ประชมุ เชงิ ปฏิบัตกิ าร ✓ อื่น ๆ ลงพน้ื ทจ่ี ริง ๘. วธิ กี ารประเมนิ ผล ✓ สงั เกต ✓ สอบถาม สมั ภาษณ์ อ่นื ๆ ๙. ผลการดำเนนิ งาน ๙.๑ เชงิ ปรมิ าณ - จำนวนเป้าหมาย ณ ศูนยอ์ ำนวยการบรหิ ารจงั หวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) ตัง้ ไว้ ๓๐ คน จำนวนผมู้ าเขา้ ร่วม ๒๘ คน - แบง่ ออกเป็น (อ้างอิงตามกลมุ่ เปา้ หมาย) ประชาชนทั่วไป ✓ เด็ก – เยาวชน ผู้บริหาร ร.ร./ครู ✓ ผู้แทนหน่วยงานภาครฐั ผู้แทนหน่วยงานเอกชน อืน่ ๆ
๑๑ - จำนวนเป้าหมาย ณ สมาคมพฒั นาเยาวชนชายแดนใต้ อำเภอรามนั จังหวดั ยะลาตง้ั ไว้ ๓๐ คน จำนวนผมู้ าเขา้ ร่วม ๒๘ คน - แบง่ ออกเปน็ (อ้างอิงตามกล่มุ เปา้ หมาย) ประชาชนท่ัวไป ✓ เยาวชน ผู้บรหิ าร ร.ร./ครู ✓ ผแู้ ทนหนว่ ยงานภาครัฐ ผู้แทนหนว่ ยงานเอกชน อื่นๆ - จำนวนเป้าหมาย ณ โรงแรมซเี อสปตั ตานีต้งั ไว้ ๑๐ คน จำนวนผู้มาเขา้ ร่วม ๑๕ คน - แบ่งออกเป็น (อา้ งองิ ตามกล่มุ เปา้ หมาย) ประชาชนทวั่ ไป ✓ เด็ก - เยาวชน ผูบ้ ริหาร ร.ร./ครู ✓ ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ ผ้แู ทนหนว่ ยงานเอกชน อืน่ ๆ ๙.๒ เชิงคณุ ภาพ - ผลลัพธ์/ความพึงพอใจ ได้แก่ เยาวชนนักศึกษาในพ้ืนที่ได้รับความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับ บทบาทหน้าทีแ่ ละอำนาจของวฒุ สิ ภาตามรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และเยาวชนได้แลกเปลี่ยน เรียนรู้ ความคดิ เห็น และได้รับคำแนะนำจากสมาชกิ วุฒสิ ภา รวมถงึ หน่วยงานในพื้นท่ีที่รบั ผิดชอบ และ มีส่วนร่วมในการนำเสนอแนวคิดในการพัฒนาพื้นที่ ตามวัตถุประสงค์ของโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบ ประชาชน ๙.๓ เชิงเวลา ✓ เหมาะสม ไมเ่ หมาะสม อื่น ๆ .......................................................................... ๙.๔ งบประมาณดำเนนิ การ ✓ เพยี งพอ/เหมาะสม ไมเ่ พยี งพอ
๑๒ ๑๐. สรุปสาระสำคัญของการดำเนนิ โครงการ รายละเอียดการลงพื้นที่พบประชาชนของ คณะอนุกรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน ในคณะกรรมการอำนวยการโครงการสมาชกิ วุฒิสภาพบประชาชนระหว่างวันศกุ ร์ที่ ๑๓ – วันอาทิตยท์ ่ี ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ณ จังหวดั ยะลา และจังหวดั ปัตตานี ๑. วันศุกร์ที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ นางกอบกลุ อาภากรสมาชิกวฒุ ิสภา ประธานอนกุ รรมการการมีสว่ นรว่ มของเยาวชน พรอ้ ม ด้วยอนุกรรมการเข้าประชุมหารือร่วมกับนางกนกรัตน์ เกื้อกิจผู้ช่วยเลขาธิการ ศอ.บต.กระทรวงการ พฒั นาสังคมและความมนั่ คงของมนุษย์ (พม.)และหน่วยงานในพ้ืนที่ ณ ห้องประชุม ศูนยอ์ ำนวยการบริหาร จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) โดยมีเยาวชนในพื้นท่ีนำเสนอโครงการเยาวชนกับการพัฒนาบัณฑิต จำนวน ๕ โครงการดังน้ี ๑.) โครงการจำลองการประชุมแบบ MUN (Model United Nationเพื่อการพัฒนาและ เสริมสรา้ งสันตสิ ขุ (MUN Meeting for Development and Peace Promotion) ๒.) โครงการตนั หยงเปาว์ โมเดล (Tanyongpao Model) หวั ข้อ ธนาคารขยะในชมุ ชนุ ๓.) โครงการสมาคมพฒั นาเยาวชนชายแดนใต้ ๔.) โครงการกระจายทนุ การศกึ ษาทไี่ ม่ท่วั ถึง ๕.) โครงการปลกุ ใจ หลอมรวมพลงั สูก่ ระบวนการเรยี นรู้ ฑูตสอ่ื สารชมุ ชนพงึ่ ตนเอง
๑๓ ๒. วันเสารท์ ี่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ เวลา ๑๐.๐๐ นาฬิกา นางกอบกุล อาภากร สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อม ด้วยอนกุ รรมการลงพ้นื ทพี่ บเยาวชนเพ่ือรบั ทราบ และใหข้ อ้ เสนอแนะกบั โครงการสมาคมพัฒนาเยาวชน ชายแดนใต้ ณ อำเภอรามัน จงั หวัดยะลา เพ่อื เย่ียมชมโครงการสมาคมพฒั นาเยาวชนชายแดนใต้ เวลา ๑๓.๐๐ นาฬิกา นางกอบกุล อาภากร สมาชกิ วุฒิสภา ประธานอนกุ รรรมการการมีสว่ นรว่ มของเยาวชน พรอ้ ม ดว้ ยอนกุ รรมการลงพ้นื ทพ่ี บประชาชนณ บ้านตนั หยงเปาว์อำเภอหนองจิก จังหวดั ปตั ตานี เพอ่ื รับฟัง ปญั หานำ้ ทะเลกดั เซาะชายฝง่ั พรอ้ มรบั ประสานงานไปยงั หนว่ ยงานทีเ่ ก่ยี วข้องต่อไป
๑๔ เวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา นางกอบกุล อาภากร สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อมด้วยอนุกรรมการเข้าเยี่ยมชมโครงการตันหยงเปาว์ โมเดล (Tanyongpao Model) หัวข้อ ธนาคารขยะในชมุ ชุน ณ โรงเรยี นบ้านตันหยงเปาว์ อำเภอหนองจิก จงั หวดั ปัตตานี เวลา ๑๖.๐๐ นาฬกิ า นางกอบกุล อาภากร สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อม ด้วยอนุกรรมการ เข้าเยี่ยมชมการแสดงศิลปะพน้ื บ้านปันจักสีลัตของชมรมเยาวชนจังหวัดปตั ตานี
๑๕ ๓. วันอาทติ ย์ที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ นางสาวดาวน้อย สุทธินิภาพันธ์ สมาชิกวุฒิสภา อนุกรรรมการและเลขานุการ คณะอนุกรรมการมีส่วนร่วมของเยาวชน บันทึกเทปสัมภาษณ์เยาวชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน ภาคใต้เพื่อรับฟงั ความคดิ เห็นของเยาวชน และนำไปเผยแพรใ่ นช่องทางตา่ ง ๆ เพื่อสังคมได้จะรบั ทราบ มุมมองความคิดของเยาวชน ในประเด็นการปฏิรูปประเทศ และภาพอนาคตของประเทศไทยท่ีเยาวชน ต้องการใหเ้ กิดขน้ึ รวมถึงเร่ืองทเ่ี กี่ยวขอ้ งกับเยาวชนและการพฒั นาท้องถิน่ การสรา้ งความรคู้ วามเข้าใจ ในการอยู่รว่ มกนั ในสงั คมอยา่ งสงบสขุ โดยมีเยาวชนรว่ มแสดงความคดิ เหน็ และสรปุ สาระสำคัญได้ดงั นี้ ๑. นายประดิษฐ์ หลำเล๊ะ ได้แสดงความคิดเห็นว่า สิ่งสำคัญที่จะทำให้ประเทศขับเคลื่อนไป ข้างหน้าได้คือความรักและความสามัคคีของคนในชาติ ในสังคมอาจมีมุมมองความคิดที่แตกต่างกันได้ แตจ่ ะต้องไมแ่ ตกแยกกัน และสถาบันการศกึ ษาเปน็ จดุ เร่ิมต้นและพื้นท่สี ำคญั ที่จะเปดิ โอกาสให้เยาวชน ได้แสดงความคดิ เห็นและลงมือทำ ผ่านการเรียน โครงการ และกิจกรรม โดยมีคณาจารย์ ผู้มีความร้ใู น ทอ้ งถน่ิ ให้การสนับสนนุ พรอ้ มแลกเปล่ียนขอ้ มลู กันเพอื่ หาจดุ ร่วมในการพัฒนาประเทศ ๒. นายมฮู มั หมดั ซอบรี ีน มะเซ ได้แสดงความคดิ เห็นเกี่ยวกับเรอ่ื งระบบการศกึ ษา เนื่องจากใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังมีเยาวชนที่ยังไม่เข้าถึงระบบการศึกษาอยู่จำนวนมาก เนื่องจาก ปัญหาความยากจนจึงต้องออกจากระบบการศกึ ษาเพ่ือไปประกอบอาชีพเลี้ยงดูตัวเอง และเมือ่ เยาวชน ไม่ได้รับการศึกษาจะเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสังคมอื่น ๆ ตามมา จึงให้ความคิดเห็น ว่าควรให้ปฏิรูป ระบบการศึกษาด้วยการกระจายทุนการศึกษาให้แต่ละพื้นที่อย่างทั่วถึง อีกทั้งได้แสดงความคิดเห็น ในเรื่องสาธารณสขุ โดยกลา่ ววา่ โรงพยาบาลปัตตานีมบี คุ ลากรทางการแพทยไ์ ม่เพยี งพอตอ่ จำนวนผู้ปว่ ย ทำให้เกิดความล่าช้าในการรักษา จึงมีความต้องการให้ปฏริ ูปการสาธารณสุข ด้วยการเพิ่มบุคลากรทาง การแพทย์ให้ทวั่ ถงึ ทุกพน้ื ที่ ๓.มูฮำหมัด อุเมะ ได้กล่าวถึงการเอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรมที่มีอยู่ดั้งเดิมในพื้นที่สาม จังหวัดชายแดนภาคใต้ คือการละเล่นปันจักสีลัต โดยรวมกลุ่มเยาวชนที่สนใจ ร่วมกันศึกษาข้อมูลและ รอื้ ฟน้ื การละเล่นปนั จักสลี ัต และเปดิ เปน็ ศนู ย์เรยี นรชู้ มุ ชนเพอื่ รวมกลุ่มคนทกุ ช่วงวยั ในท้องถนิ่ ให้มพี ื้นท่ี ในการทำกิจกรรมที่สร้างสรรค์ และได้ต่อยอดนำเอาศลิ ปะและวฒั นธรรมเหล่านั้นสรา้ งเป็นชิ้นงานเพอ่ื อกจำหน่าย ก่อใหเ้ กดิ รายได้ให้กบั ชุมชนและผูค้ นในท้องถิ่น ๔. อับดุลคอเดย์ พูลาได้กล่าวถึงโครงการตันหยงเปาว์ โมเดล (Tanyongpao Model) หัวขอ้ ธนาคารขยะในชุมชุน โดยจุดเริ่มต้นเกิดจากชมรมเยาวชนสานใจไทย สู่ใจใต้ ได้ยึดถือคำว่าเกิดมาต้อง ตอบแทนคุณแผ่นดิน เป็นหลักปฏิบัติในการดำเนินกิจกรรมของชมรม กิจกรรมหลักของชมรม คือ กิจกรรมจิตอาสาพหุวัฒนธรรมสร้างการอยู่ร่วมกันในหลากหลายมิติ ซึ่งจากการพิจารณาร่วมกันแล้ว ไดเ้ ลือกเขา้ ไปแกไ้ ขปญั หาและใหค้ วามช่วยเหลอื พนื้ ท่ีบ้านตนั หยงเปาว์ อำเภอหนองจิก จงั หวัดปัตตานี
๑๖ เนื่องจากในพ้ืนท่ีเป็นหมู่บ้านติดชายฝั่งทะเล เป็นทำเลที่ตั้งท่ีดีในการท่องเทีย่ ว แต่ได้รับผลกระทบจาก นำ้ ทะเลกัดเซาะชายฝง่ั อกี ทง้ั ยงั มีปญั หาเกีย่ วกบั ขยะท่ีถกู พัดพามากับคลื่นลม ทั่วพ้ืนท่ีของหมู่บ้านเต็ม ไปดว้ ยขยะ ทางชมรมเยาวชนสานใจไทย สใู่ จใต้ไดเ้ ขา้ รว่ มหารือกับชมุ ชน และไดร้ ว่ มกันจดั กิจกรรมจิต อาสา โดยมีเยาวชนกว่า ๓๐๐ คน ร่วมกันเก็บขยะและพัฒนาพื้นที่ให้สะอาดเรียบร้อย หลังจากนั้น โรงเรียนบ้านตันหยงเปาว์ได้เสนอว่าโรงเรยี นมีการจดั การขยะท่ดี แี ล้ว หากต้องการให้เกิดเปน็ ระบบและ มั่นคงมากขึ้นควรต้องมีธนาคารขยะดังนั้นทางชมรม ชุมชน และโรงเรียน จึงร่วมกันจัดทำธนาคารขยะ แลว้ พฒั นาให้ประสบความสำเรจ็ เพอ่ื ใหช้ ุมชนอ่นื ๆ ในจงั หวัดปัตตานนี ำไปเป็นแบบอยา่ ง ๕. อาดีลา ดอเลาะได้กล่าวถึงศักยภาพของเยาวชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ แต่ บริบทสังคมปัจจุบัน ส่งผลให้เยาวชนยังไม่ได้แสดงความสามารถเท่าที่ควร และได้แสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับการไม่เข้าถึงสถาบันการศึกษาของเยาวชน เนื่องจากปัญหาครอบครัว ปัญหาความยากจน ปัญหายาเสพติด รวมถึงปัญหาที่ตัวเยาวชนเอง โดยเสนอความคิดเห็นว่าสถาบันครอบครัวและ สถาบันการศึกษาควรทำงานร่วมกันถกถึงปัญหาทีเ่ กิดขึ้น และจะทำอย่างไรในการชว่ ยเหลอื เยาวชนให้ อยู่ในระบบการศึกษา การให้ทุนการศึกษา การทำให้ห้องเรียนหรือสถาบันกันศึกษามีความน่าสนใจ และการปรับเปลี่ยมมุมมองของเยาวชนให้เห็นถึงความสำคัญของการศึกษา ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะสามารถทำ ใหเ้ ยาวชนกลับเขา้ มาสรู่ ะบบการศกึ ษาเพิ่มมากขึ้น
๑๗ ๑๑. ขอ้ สังเกตและขอ้ จำกดั การลงพื้นที่ ณ จังหวัดยะลา และจังหวัดปัตตานี ของคณะอนุกรรมการการมีส่วนร่วมของ เยาวชนในครงั้ นี้ เปน็ การรว่ มประสานงานในประเด็นการขอสนบั สนุนงบประมาณจากหนว่ ยงานราชการ ในพื้นที่ให้แต่ละกลุ่มเยาวชนได้นำไปจัดโครงการและดำเนินงานตามกิจกรรมที่แต่ละกลุ่มได้ร่วมกนั คิด และจดั ทำ แต่การในการลงพนื้ ทจี่ ริงเพือ่ เยีย่ มชมกิจกรรมท่เี ยาวชนได้จดั ทำบางโครงการยังไม่มีความพร้อม ซึ่งอาจสง่ ผลตอ่ การได้รบั การพิจาณาสนับสนนุ งบประมาณ
๑๘
๑๙ สรปุ รายงานผลการดำเนินงาน โครงการสมาชกิ วุฒสิ ภาพบประชาชน ณ จังหวดั นา่ น ระหว่างวนั พฤหสั บดที ี่ ๑๑ – วนั ศกุ ร์ที่ ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๔ ๑. ชอื่ โครงการ สมาชกิ วุฒิสภาพบประชาชน ๒. วนั /เดือน/ปที ่ีดำเนนิ การ วันพฤหัสบดที ี่ ๑๑ – วนั ศกุ ร์ท่ี ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๔ ๓. สถานที่ ณ จังหวดั นา่ น ๔. กลุ่มเปา้ หมาย ✓ ประชาชนทวั่ ไป ✓ หนว่ ยงานของรฐั ✓ เยาวชน อน่ื ๆ ๕. ความสอดคลอ้ งกับรฐั ธรรมนญู หรือยุทธศาสตรช์ าติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ กำหนดให้ มีการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษาไว้ในมาตรา ๒๕๘ จ. ด้านการศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศ ที่มีผลบังคับใช้แล้ว กำหนดให้มีแผนการปฏิรูป ๑๒ ด้าน โดยมีระยะเวลาดำเนินการ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - พ.ศ. ๒๕๖๕) และการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา เป็นหนึ่งในจำนวน ๑๒ ด้าน ที่รัฐธรรมนูญกำหนดให้ มีการปฏิรูป โดยมีเป้าหมายและผลอันพึงประสงค์ เพื่อให้มีการยกระดับคุณภาพของการจัดการศึกษา ลดความเหล่ือมล้ำทางการศึกษา มุ่งความเปน็ เลศิ และสร้างขีดความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ และปรับปรุงระบบการศึกษาให้มีประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร เพิ่มความคล่องตัวในการรับรองรับ ความหลากหลายของการจดั การศึกษา ๖. ข้อมูลท่ัวไป จังหวัดน่าน ตั้งอยู่ติดกับชายแดนทางด้านทิศตะวันออกของภาคเหนือตอนบน ติดกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ( สปป.ลาว ) ห่างจากกรุงเทพมหานครโดยทางรถยนต์ ประมาณ ๖๖๘ กิโลเมตร บริเวณเส้นรุ้งที่ ๑๘ องศา ๔๖ ลิปดา ๓๐ ฟิลิปดาเหนือ เส้นแวงที่ ๑๘ องศา ๔๖ ลิปดา ๔๔ ฟิลิปดาตะวันออก ระดับความสูงของพื้นที่อยู่สูง ๒ ,๑๑๒ เมตร จากระดับน้ำทะเลปานกลาง มีพื้นที่ ๑๑,๔๗๒.๐๗๖ตารางกโิ ลเมตร หรือประมาณ ๗,๑๗๐,๐๔๕ ไร่
๒๐ อาณาเขตโดยรอบของจังหวัดน่าน ทิศเหนือ ประกอบด้วย อำเภอเชียงกลาง อำเภอปัว มีอำเภอทุ่งช้าง อำเภอเฉลิมพระเกียรติ อำเภอบอ่ เกลือ ทม่ี ีพื้นท่ตี ดิ ตอ่ กบั เขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ เชยี งฮ่อน - หงสา (สปป.ลาว ) ทิศตะวันออก ประกอบด้วย อำเภอภูเพียง อำเภอสันตสิ ุข โดยมีอำเภอแม่จรมิ อำเภอเวียงสามี พนื้ ทีต่ ิดตอ่ กับแขวงไชยบุรี ( สปป.ลาว ) ทิศใต้ ประกอบด้วย อำเภอนาน้อย อำเภอนาหมื่น มีพื้นที่ติดต่อกับจังหวัดอุตรดิตต์ อำเภอ นานอ้ ย มพี นื้ ท่ีติดต่อกับจังหวดั แพร่ อำเภอเวียงสา มพี ้ืนทต่ี ิดตอ่ กบั จังหวัดแพร่ ทิศตะวันตก ประกับด้วย อำเภอบ้านหลวง มีพื้นที่ติดต่อกับอำเภอเชียงม่วนจังหวัดพะเยา อำเภอท่าวังผา มีพื้นที่ติดกับอำเภอปง จังหวัดพะเยา อำเภอสองแคว มีพื้นที่ติดต่อกับอำเภอเชียงคำ จงั หวัดพะเยา สำหรับทิศเหนือและทิศตะวันออกมีอาณาเขตในส่วนท่ีติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว ( สปป.ลาว) เปน็ ระยะทางยาวประมาณ ๒๒๗ กโิ ลเมตร การปกครอง จงั หวัดนา่ นมีจำนวนประชากรทง้ั สน้ิ ๔๗๘,๒๒๗ คน ชาย ๒๓๙,๖๖๑ คน หญิง ๒๓๘,๕๖๖ คน แบง่ เขตการปกครองเป็น ๑๕ อำเภอ ได้แก่ ๑. อำเภอเมอื งนา่ น ๙. อำเภอเชยี งกลาง ๒. อำเภอแม่จริม ๑๐. อำเภอนาหมื่น ๓. อำเภอบา้ นหลวง ๑๑. อำเภอสนั ติสุข ๔. อำเภอนาน้อย ๑๒. อำเภอบอ่ เกลอื ๕. อำเภอปวั ๑๓. อำเภอสองแคว ๖. อำเภอท่าวังผา ๑๔. อำเภอภูเพยี ง ๗. อำเภอเวยี งสา ๑๕. อำเภอเฉลมิ พระเกียรติ ๘. อำเภอทุง่ ช้าง การปกครองทอ้ งถิน่ จำแนกได้ คือ องค์การบริหารส่วนจังหวัด ๑ แหง่ คอื องค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดน่าน เทศบาลเมอื ง ๑ แห่ง คอื เทศบาลเมอื งนา่ น เทศบาลตำบล ๑๘ แห่ง ประกอบดว้ ย ๑. เทศบาลตำบลดใู่ ต้ ๑๐. เทศบาลตำบลนาน้อย ๒. เทศบาลตำบลกองควาย ๑๑. เทศบาลตำบลศรีษะเกษ ๓. เทศบาลตำบลเวียงสา ๑๒. เทศบาลตำบลทงุ่ ชา้ ง ๔. เทศบาลตำบลกลางเวยี ง ๑๓. เทศบาลตำบลงอบ ๕. เทศบาลตำบลขง่ึ ๑๔. เทศบาลตำบลท่าวงั ผา ๖. เทศบาลตำบลปวั ๑๕. เทศบาลตำบลหนองแดง ๗. เทศบาลตำบลศิลาแลง ๑๖. เทศบาลตำบลบอ่ แก้ว ๘. เทศบาลตำบลเชยี งกลาง ๑๗. เทศบาลตำบลยอด ๙. เทศบาลตำบลพระพทุ ธบาทเชยี งคาน ๑๘. เทศบาลตำบลบอ่ เกลือใต้
๒๑ การประกอบอาชพี อาชีพหลัก ได้แก่ ทำไร่ ๔๔ % และอาชีพรอง ได้แก่ ทำนา ๓๗ % ทำสวนอื่นๆ ๗ % ทำสวนยาง ๖ % รับจ้าง ๓ % (ร้อยละโดยประมาณ จากการสำรวจความเดือดร้อนของประชาชน เดือนกนั ยายน ๒๕๖๓) ๗. วิธีการดำเนนิ การ (ลกั ษณะกจิ กรรม) ✓ จัดประชมุ สมั มนา ✓ จัดเวทีเสวนา ✓ Focus Group จัดประชุมเชิงปฏิบตั ิการ อื่น ๆ ๘. วิธีการประเมินผล ✓ สอบถาม ใช้เครื่องมอื สื่อสาร ✓ สงั เกต อนื่ ๆ ✓ สัมภาษณ์ ๙. ผลการดำเนนิ งาน ๙.๑ เชงิ ปรมิ าณ - จำนวนเป้าหมายที่ตงั้ ไว้ ๑๐๐ คน - จำนวนผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรม ๑๔๔ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๔๔ ของ จำนวนเปา้ หมาย - แบง่ ออกเปน็ (อ้างองิ ตามกลมุ่ เปา้ หมาย) ✓ ประชาชนทัว่ ไป ✓ เด็ก - เยาวชน ✓ ผบู้ รหิ าร ร.ร./ครู ✓ ผ้แู ทนหนว่ ยงานภาครัฐ ผ้แู ทนหน่วยงานเอกชน อน่ื ๆ
๒๒ ๙.๒ เชิงคณุ ภาพ - สมาชิกวุฒิสภาได้รับทราบข้อมูลโครงการ/กิจกรรม ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ซึ่งสอดคลอ้ งกบั แผนการปฏริ ปู ประเทศ และแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ ชาติที่อยู่ในความรับผดิ ชอบของจงั หวัดนา่ น - รับทราบข้อมูลการดำเนินงาน แนวทางการจัดการเรียนการสอนของศูนย์การเรียนรู้ ชุมชนธรรมชาตบิ ้านหว้ ยพ่าน และปัญหาอุปสรรค สำหรบั ใชป้ ระกอบการพจิ ารณาของวุฒิสภา ๙.๓ เชิงเวลา ไม่เหมาะสม ✓ เหมาะสม อนื่ ๆ .......................................................................... ๙.๔ งบประมาณดำเนนิ การ ✓ เพยี งพอ/เหมาะสม ไมเ่ พยี งพอ ๑๐. สรุปสาระสำคัญของการดำเนินโครงการ รายละเอียดการลงพื้นท่ีจัดโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จังหวัดน่านระหว่าง วันพฤหัสบดที ี่ ๑๑ – วันศกุ ร์ท่ี ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๔ รายชอื่ คณะเดนิ ทาง ๑) พลเอก สงิ ห์ศกึ สิงห์ไพร รองประธานวุฒสิ ภา คนทีห่ นึง่ (หัวหนา้ คณะเดินทาง) ๒) พลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร สมาชิกวฒุ สิ ภา ๓) พลอากาศเอก อดศิ ักด์ิ กลน่ั เสนาะ สมาชกิ วฒุ ิสภา ๔) นายจเด็จ อินสว่าง สมาชิกวุฒิสภา ๕) พลเอก โปฎก บุนนาค สมาชิกวุฒิสภา ๖) พลเอก สำเริง ศิวาดำรงค์ สมาชิกวุฒิสภา ๗) นางกอบกุล อาภากร ณ อยุธยา สมาชกิ วุฒสิ ภา ๘) นายพลเดช ปนิ่ ประทปี สมาชิกวุฒิสภา ๙) ศาสตราจารย์พิเศษกาญจนารตั น์ ลีวิโรจน์ สมาชกิ วุฒสิ ภา ๑๐) นายดเิ รกฤทธิ์ เจนครองธรรม สมาชกิ วุฒิสภา ๑๑) นางสาวดาวนอ้ ย สทุ ธินภิ าพนั ธ์ สมาชิกวุฒิสภา ๑๒) นายสมชาย ชาญณรงค์กุล สมาชกิ วฒุ ิสภา ๑๓) นายดสุ ิต เขมะศกั ด์ิชัย สมาชิกวฒุ สิ ภา ๑๔) นางดวงพร รอดพยาธิ์ สมาชกิ วฒุ สิ ภา ๑๕) นายออน กาจกระโทก สมาชิกวฒุ สิ ภา ๑๖) นางจินตนา ชัยยวรรณาการ สมาชิกวุฒสิ ภา ๑๗) รองศาสตราจารย์ทวีศักด์ิ สูทกวาทิน กรรมการ ๑๘) นางเสาวคนธ์ จนั ทร์ผอ่ งศรี กรรมการ
๒๓ ๑๙) นายชัยยทุ ธ์ สนิ สงู สดุ อนุกรรมการดา้ นนโยบาย แผนงาน และประสานการปฏิบัติ ๒๐) นางวาสนา ทพิ ยส์ วุ รรณ อนกุ รรมการด้านนโยบาย แผนงาน และประสานการปฏิบัติ ๒๑) นายอรรทิตย์ฌาณ คูหาเรืองรอง อนกุ รรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน ๒๒) นายอาชวนิ ล้อมพิทักษ์ อนกุ รรมการประชาสัมพันธ์ส่ือดจิ ิทลั ในคณะกรรมการประชาสมั พนั ธ์ วุฒิสภา ๒๓) นายสาธิต วงศ์อนันตน์ นท์ ผอู้ ำนวยการสำนกั ประชาสัมพันธ์ ๒๔) นายบรรหาร กำลา ผบู้ งั คับบญั ชากลุ่มงานรองประธานวุฒสิ ภา คนทีห่ นึง่ ๒๕) นายณัฏฐกติ ติ์ ปัทมะ วิทยากรเช่ียวชาญ ๒๖) นายอดุ ร พนั ธมุ ติ ร วิทยากรชำนาญการพเิ ศษ ๒๗) นายอมร จงึ รุ่งฤทธิ์ วิทยากรชำนาญการ ๒๘) นายกติ ตกิ ร กอบเงนิ วิทยากรปฏบิ ตั ิการ ๒๙) นายนัฐวชิ แก้วพกิ ุล นักประชาสมั พนั ธ์ปฏิบตั ิการ ๓๐) นายเอกภักดิ์ หอมสมบัติ นกั ประชาสัมพันธป์ ฏิบตั กิ าร ๓๑) นางสาวปิยวรรณ แสนเมอื ง นกั ประชาสัมพันธ์ปฏิบตั กิ าร ๓๒) นายพลณัฐ เครือเชา้ นกั ประชาสัมพนั ธป์ ฏิบัติการ ๓๓) นางธริ าพร ณ เชียงใหม่ เจ้าพนกั งานธรุ การชำนาญงาน ๓๔) นางสาวณฐมน โพธเิ์ กษม เจ้าพนกั งานธุรการชำนาญงาน
๒๔ กิจกรรมรับฟงั การบรรยายการดำเนินงานโครงการ/กจิ กรรม ท่ไี ดร้ บั การจดั สรรงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ซ่ึงสอดคล้องกบั แผนการปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติที่อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบของจงั หวัดน่าน วนั พฤหัสบดีท่ี ๑๑ มีนาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๓๐ นาฬกิ า พลเอก สิงห์ศึก สิงห์ไพร รองประธานวุฒิสภา คนที่หน่ึง ได้นำคณะสมาชิกวุฒิสภาประชุมร่วมกับ นายนิพันธ์ บญุ หลวง ผู้ว่าราชการจงั หวดั นา่ น พรอ้ มด้วยหัวหน้าส่วน ราชการ และข้าราชการในจังหวัดน่านที่เก่ียวข้อง เพื่อรับ ฟังการบรรยายการดำเนินงานโครงการ/กิจกรรม ที่ได้รับ การจัดสรรงบประมาณประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ซึ่งสอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บท ภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาตทิ ีอ่ ยใู่ นความรับผดิ ชอบของจังหวัด นา่ น โดยมีสาระสำคญั สรุป ดังนี้ ๑. จังหวัดน่าน ดำเนินการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ชาติ และแผนการปฏิรูปประเทศ สู่การปฏิบัติ โดยเชื่อมโยงแผนระดับต่าง ต่าง ได้แก่ ยุทธศาสตร์ชาติ → แผนการปฏิรูปประเทศ →แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ → นโยบายของรัฐบาล → แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ →ทศิ ทางการพัฒนาภาคเหนอื → แผนพัฒนาจงั หวดั นา่ น
๒๕ ๒. ผลสัมฤทธิ์ในการพัฒนาจากการขับเคลื่อนแผนการปฏิรูปประเทศในพื้นที่จังหวัดน่าน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ท้งั ๕ ด้าน ๒.๑ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ : เพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขัน (สาขาอุตสาหกรรมแปรรูป การค้า พาณชิ ย์ และการลงทนุ ) เพมิ่ โอกาสผูป้ ระกอบการ และเปน็ ศูนยก์ ลางด้านการคา้ และการลงทุนของ ไทยในภมู ภิ าค ๒.๒ การทอ่ งเท่ยี วยง่ั ยืน : เพ่มิ ขดี ความสามารถดา้ นการแขง่ ขัน (สาขาการทอ่ งเทยี่ ว) ท่องเที่ยว คุณภาพสูง และทอ่ งเทีย่ วเชิงสรา้ งสรรค์และวฒั นธรรม ๒.๓ เกษตรปลอดภัยและประณีต : เพิ่มขีดความสามารถด้านการแข่งขัน (สาขาการเกษตร) การสร้างเกษตรมลู ค่าสงู และGPP สาขาการเกษตรเพมิ่ สงู ขึน้ ๒.๔ เมืองสุขภาวะดี ชุมชนเข้มแข็ง : พฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ (พัฒนาศักยภาพคน ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น) พัฒนาการจัดการเรียนการสอนสู่การเรียนรู้ฐานสมรรถนะเพื่อตอบสนองการ เปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ ๒.๕ ชุมชนป่าต้นน้ำ : สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (รักษาและ เพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม) เพิ่มและพัฒนาพื้นที่ป่าโดยการหยุดยั้งและป้องกันการทำลาย ป่าไม้ และมีการจดั ระเบียบและแกไ้ ขปัญหาการใชป้ ระโยชนท์ ีด่ นิ ป่าไม้
๒๖ ๓. ประเดน็ ข้อซักถาม ขอ้ เสนอแนะ ของสมาชิกวุฒิสภา ๓.๑ หน่วยงานตามภารกิจ (Function) ในจังหวัดน่าน ขาดการบูรณาการข้อมูลโครงการ/ กิจกรรม ที่รายงานในระบบตดิ ตามและประมวลผลแหง่ ชาติ (eMENSCR) แตล่ ะหนว่ ยรายงานผ่านระดบั กระทรวง หรือกรม ทาใหจ้ ังหวัดไม่ทราบผลการดำเนนิ งานตามโครงการ/กิจกรรมของหนว่ ยงานอน่ื ๓.๒ ส่วนราชการรายงานผลผลิตไม่สอดคล้องกับเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ อยา่ งครบถ้วน และผลสำเร็จไมม่ คี วามชัดเจน โดยเฉพาะเกยี่ วกับมลู ค่าการทอ่ งเท่ยี วทเ่ี พมิ่ ข้นึ ซ่งึ เป็นคา่ เป้าหมายที่ถา่ ยทอดจากแผนแม่บทภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติ ประเด็นการท่องเทย่ี ว ๓.๓ การจัดทำโครงการ/กิจกรรมของส่วนราชการตามกลุ่มภารกิจ ได้มีการถ่ายทอด ไปสู่ภาคปฏิบัติ และการวางแผนร่วมกันอย่างบูรณาการ รวมถึงสอดคล้องกับความต้องการ และประชาชนในพืน้ ท่ี มสี ว่ นร่วมในการตดั สนิ ใจหรือไม่ ๓.๔ ประเด็นการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวิถีถิ่น ควรเน้นการพัฒนาด้านการตลาดสินค้า มุ่งเน้น การท่องเที่ยวเป็นอาชีพเสริม ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการรวมกลุ่มผลิตสินค้าคุณภาพ และมมี ูลค่าสูง ที่ตลาดมีความตอ้ งการ ๓.๕ การขับเคลื่อนแผนการปฏิรูปประเทศในพื้นที่จังหวัดน่านด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม : เพิ่มและพัฒนาพื้นที่ป่าไม้ให้ได้ตามเป้าหมายการจัดหาที่ดินทำกินให้ชุมชนตามนโยบาย ทด่ี ินแหง่ ชาติ (คทช.) ท่ีใชแ้ นวทางแกไ้ ขปญั หาโดยกลไกพเิ ศษเฉพาะพ้ืนที่การบรหิ ารพ้นื ที่รูปแบบพิเศษ เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน : พื้นที่จังหวัดน่าน ( Nan Sandbox) มีความก้าวหน้า ชุมชนมีความสุข มีอาชีพ และการบูรณาการทำงานระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ใหป้ ระสบผลสำเร็จ ๓.๖ โครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับการปฏิรูปด้านการศึกษาที่มุ่งเน้นลดความเหลื่อมล้ำ การปฏิรูปการเรียนการสอนในทุกระดับไม่ว่าจะเป็นเด็กก่อนวัยเรียน จนถึงระดับมหาวิทยาลั ย และระดบั อาชวี ะศึกษาใหม้ งี านทำ โดยดำเนนิ การใหส้ อดคล้องกับบริบทและสภาพแวดล้อม ขับเคล่อื น กิจกรรม Big Rock ตามแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา กิจกรรมปฏิรูปที่ ๓ การปฏิรูปกลไก และระบบการผลิตและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐาน โดยเฉพาะเด็ก ชาวเขาที่อยู่บนดอยให้ได้รับโอกาสเข้าถึงระบบการศึกษาที่มีคุณภาพ และการจัดสรรงบประมาณ ทีเ่ พยี งพอ ๓.๗ การบูรณาการการจัดทำฐานข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นปัจจุบันของแต่ละหน่วยงาน ในจังหวัด เช่น ตัวเลขพื้นที่ป่าไม้ การเผาป่า ปริมาณน้ำด้านการชลประทาน เป็นต้น ยังมีความ คลาดเคลื่อน ไม่ตรงกัน ทาให้การดูแลรักษา การกำหนดมาตรการแก้ไขปัญหา และการจัดทำแผนงาน เปน็ ไปด้วยความยากลำบาก ๓.๘ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ของจังหวัดน่าน พบว่า ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงาน ภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) อยู่ในระดับต่ำมาก จึงต้องปรับปรุงแก้ไข อยา่ งจรงิ จัง และเร่งดว่ น โดยให้ถอื ว่าเปน็ วาระสำคัญของจังหวัด ๓.๙ งบประมาณตามภารกิจของส่วนราชการในจังหวัดน่าน มีความเป็นเรื่องเฉพาะ ของแต่ละหน่วยงาน ขาดการบูรณาการร่วมกันทำให้ยากต่อการติดตาม เสนอแนะ และเร่งรัดการ ดำเนินการ ดังนั้น ควรใช้แนวทางการจัดทำงบประมาณแบบภาพรวมให้สอดคล้องเชื่อมโยงกับแผน การปฏริ ูปประเทศ และยทุ ธศาสตรช์ าติ
๒๗ ๓.๑๐ โครงการ/กิจกรรมของส่วนราชการในจังหวัดน่านยังไม่สามารถตอบโจทย์ ตามยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเทศ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติเท่าที่ควร ดังน้ัน การจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปี จาเป็นต้องศึกษาและทาความเข้าใจกับยุทธศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ซึง่ สำนกั งานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ (สศช.) สามารถใหค้ ำแนะนำแก่หนว่ ยงานราชการได้ กิจกรรมเยย่ี มชมโครงการ/กิจกรรมสำคัญทีป่ ระชาชนไดร้ ับประโยชนโ์ ดยตรง เวลา ๑๓.๐๐ นาฬิกา คณะสมาชิกวุฒิสภาได้เยี่ยมชมโครงการ/กิจกรรมสำคัญที่ประชาชนได้รับประโยชน์โดยตรง ของจงั หวดั นา่ น ซง่ึ ดำเนินการในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ โดยได้ แบ่งออกเป็น ๔ คณะ ดงั น้ี คณะที่ ๑. เยี่ยมชมการดำเนินการ : โครงการพัฒนาพื้นที่เฉพาะเมืองภูเพียง บ้านม่วงตึ๊ด หมู่ที่ ๔ ตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน (งบประมาณ ๓๔,๘๘๖,๕๐๐ บาท /ผู้รับผิดชอบ กรมโยธาธิการและผังเมือง กระทรวงมหาดไทย ภายใต้โครงการพัฒนากลุ่มท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ กิจกรรม : พัฒนากลุ่มท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ (ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการ แข่งขัน แผนแม่บทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ พน้ื ท่ีและเมืองนา่ อยอู่ ัจฉริยะ) คณะเดนิ ทางประกอบด้วย ๑. พลเอก สงิ หศ์ ึก สิงห์ไพร รองประธานวฒุ สิ ภา คนท่หี น่งึ ๒. ศ.พเิ ศษกาญจนารัตน์ ลีวิโรจน์ สมาชกิ วฒุ สิ ภา ๓. นายดสุ ิต เขมะศักดช์ิ ัย สมาชิกวุฒิสภา ๔. นางจินตนา ชยั ยวรรณาการ สมาชกิ วุฒสิ ภา ๕. นางพงษส์ วาท กายอรุณสทุ ธิ์ รกั ษาราชการแทนผอู้ ำนวยการสำนกั งาน ป.ย.ป. ๖. นางเสาวคนธ์ จนั ทร์ผอ่ งศรี กรรมการ ๗. นางวาสนา ทพิ ยส์ ุวรรณ อนุกรรมการด้านนโยบายฯ ๘. นายสาธิต วงศอ์ นันต์นนท์ ผอู้ ำนวยการสำนกั ประชาสัมพนั ธ์ ๙. นายบรรหาร กำลา ผู้บังคบั บัญชากลุม่ งานรองประธานวุฒิสภา คนทห่ี นึง่ ๑๐. นายนฐั วชิ แกว้ พกิ ุล นกั ประชาสัมพนั ธป์ ฏบิ ัตกิ าร พลเอก สิงห์ศึก สิงห์ไพร รองประธานวุฒิสภา คนที่หน่ึง นำคณะสมาชิกวุฒิสภา เดินทางไปยังบ้านม่วงตึด๊ หมู่ที่ ๔ ตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน เพื่อติดตามรับ ฟังการดำเนินโครงการพัฒนาพื้นที่เฉพาะเมืองภูเพียง ซึ่งรับผิดชอบโดยกรมโยธาธิการและการผังเมือง กระทรวงมหาดไทย ทั้งนี้ โครงการดังกล่าวตั้งอยู่บน พื้นที่สาธารณะประโยชน์หนองน้ำครก บ้านแสงดาว หม่ทู ี่ ๒ ตำบลฝายแก้ว ตามหนงั สือสำคญั สาหรบั ทหี่ ลวง ประมาณ ๑๒๓ ไร่ ๕๙ ตารางวา แบง่ พืน้ ท่ปี ระมาณ ๕o ไร่ เป็นที่ตั้งของหน่วยงานราชการ คงเหลือเนื้อที่ประมาณ ๗๓ ไร่ ๕๙ ตารางวา สงวนไว้เพื่อใช้
๒๘ ประโยชนร์ ่วมกันของราษฎรทั่วไป ตอ่ มาพื้นท่ีดังกล่าวอย่ใู นเขตการปกครองตำบลม่วงตึ๊ด ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย เรื่อง การกำหนดเขตตำบลซึ่งประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๔๑ ปัจจุบันพื้นที่ดังกล่าวเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของจังหวัดน่าน เป็นพื้นที่ศึกษาดูงานทาง ธรรมชาติ และให้สอดคล้องนโยบายของรัฐบาลในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให้มีความกินดี อยู่ดี สร้าง ความเข็มแข็งของชุมชน และเชอ่ื มโยงแหลง่ ทอ่ งเท่ียวจากวัดพระธาตแุ ชแ่ หง้ เปน็ จุดรองรับนกั ท่องเทย่ี ว สำหรับพักผอ่ นและรบั ประทานอาหาร โดยภายในโครงการฯ มีอาคารรา้ นค้าของชมุ ชนและสถานทอ่ี อก กำลงั กายเพ่ือให้บริการคนในชมุ ชนและพน้ื ท่ีข้างเคียงได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ กรมโยธาธกิ ารและผังเมอื ง ร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลม่วงตึ๊ดได้ทำการศึกษาความเป็นไปได้ และแนวทางการแก้ไขปัญหา เพื่อออกแบบและก่อสร้างโครงการพัฒนาเฉพาะ เมอื งภูเพียง วัตถุประสงค์ของโครงการ - เพือ่ ใหเ้ ปน็ พ้นื ทแ่ี กม้ ลิงรองรบั น้ำ เพอ่ื การเกษตร เปน็ แหลง่ เพาะพนั ธสุ์ ตั วน์ ้ำ เพ่อื เปน็ แหลง่ อาหารของชมุ ชน เป็นระบบ นเิ วศเพื่อรกั ษาสภาพแวดลอ้ ม - เพ่อื ให้เป็นพ้ืนท่ีสวนสาธารณะ เสน้ ทางจกั รยาน สถานทอ่ี อกกำลังกาย และกจิ กรรมสนั ทนาการตา่ ง ๆ - เพื่อเปน็ จดุ เช่อื มโยงการทอ่ งเทย่ี วของฝงั่ อำเภอเมือง และฝั่งอำเภอภูเพยี ง เปน็ จดุ พักรถ ของนกั ทอ่ งเทย่ี ว และส่งเสรมิ กจิ กรรมการทอ่ งเที่ยว - เพอื่ ส่งเสรมิ การท่องเทย่ี วของจงั หวดั นา่ น - เพื่อสรา้ งมูลคา่ เพมิ่ ใหก้ ับพนื้ ท่ี ส่งเสริมรายได้ และเปน็ แหลง่ ประกอบอาชีพของคนในระดับ หม่บู ้าน ระดับตำบล ระดับอำเภอ และระดบั จงั หวดั นา่ น เปา้ หมายของโครงการ - เพ่ิมพนื้ ทขี่ องแกม้ ลงิ สามารถเก็บกกั นา้ ได้มากขึ้น - ราษฎรมีพื้นที่สาธารณะประโยชน์ ใชร้ ่วมกัน - เป็นการบริหารทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ้ มท่ีมปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสทิ ธิผล ประเด็นการแสดงความคิดเห็นของประชาชน ๑. ประชาชนในชุมชนต้องการที่จะให้สถานที่ดังกล่าวเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความมั่นคง มั่งค่ัง และยั่งยืน อีกทั้งเป็นจุดพักรถของนักท่องเที่ยวและเป็นแลนด์มาร์คแห่งใหม่ของจังหวัดน่าน เชื่อมโยง เมืองเก่าภูมินทร์ และเมอื งเกา่ ภูเพียงแชแ่ ห้ง เป็นแหลง่ สรา้ งงาน สร้างรายได้ของคนในชมุ ชน โดยจะจัด รถรางเพื่อเชื่อมโยงส่งคนไปยังเมืองเก่าทั้งสองแห่งและเชื่อมโยงไปยังหมู่บ้านทั้ง ๕ หมู่บ้านในตำบล ม่วงตึ๊ด สร้างเรื่องเล่าทางประวัติศาสตร์ ฝึกสอนมัคคุเทศก์ท้องถิ่น โดยตำบลม่วงตึ๊ดมีสินค้าที่น่าสนใจ ทั้งบ้านโคมคำ ที่ผลิตโคมแขวน นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุ์ปลา และเป็นแหล่งผลิตผักปลอด สารพิษอกี ด้วย ๒. โครงการดังกล่าวมีความคุ้มค่าทั้งทางด้านสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวแห่งใหม่ของจังหวัดน่านที่มีทำเลที่ตั้งที่ไม่กระจุกตัวอยู่เฉพาะแต่ในเมืองเท่านั้น อีกท้ังหนอง นำ้ ครกยังเป็นแหลง่ เมืองเก่า มเี ร่อื งราวเล่าขาน มีศักยภาพท่จี ะพัฒนาได้
๒๙ ๓. ปจั จัยแหง่ ความสำเร็จของโครงการดังกลา่ วเกดิ จากความรว่ มมอื รว่ มใจของคนในชุมชน ๔. ในอนาคตควรพัฒนาพื้นที่ให้มีความน่าสนใจและดึงดูดนักท่องเที่ยว เช่น ควรมีอุโมงค์ปลา เพ่ือแสดงพนั ธุ์สตั วน์ ้าตา่ ง ๆ เปน็ ต้น ประเดน็ การแสดงความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของสมาชกิ วฒุ สิ ภา ๑. เพื่อให้สอดคล้องกับการพัฒนาพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉรยิ ะ การออกแบบควรคำนึงถึงการ ใชพ้ ลังงานทดแทนหรอื พลังงานสะอาดดว้ ย ๒. การที่จะทำให้โครงการดังกล่าวเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน นนั้ ต้องเกิดจากการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในพื้นที่ ท้ังในขน้ั ตอนการวางแผน รว่ มคิดรว่ มทำ และรว่ ม ดำเนินการ ควรมีการให้ความรู้แก่ประชาชน และมีการเตรียมการอบรมมัคคุเทศก์หรือไกด์ท้องถิ่น เพื่อทำหน้าทีใ่ ห้ความช่วยเหลือ ให้ข้อมูล ความเข้าใจทางด้านวฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ และเหตุการณ์ ร่วมสมัยต่าง ๆ แก่นักทอ่ งเทีย่ ว ๓. โครงการดงั กลา่ วพสิ จู น์ให้เหน็ วา่ ปัญหาทุกปัญหาสามารถแก้ไขไดด้ ้วยคนในชุมชนท่ีมองเห็น ปัญหาร่วมกัน และช่วยกันแก้ไข นอกจากนี้ ยังสะท้อนให้เห็นว่าคนในชุมชนแห่งนี้ยึดถือความถูกต้อง ทีไ่ มย่ อมให้มกี ารบกุ รุกและถอื ครองทสี่ าธารณประโยชน์ ๔. การเกิดขึ้นของโครงการดังกล่าว เริ่มต้นมาจากความต้องการของชุมชน และได้รับ การสนับสนุนจากภาครฐั นับว่าเป็นเรื่องที่ดี และที่สำคัญคือผู้นำชุมชนสามารถทีจ่ ะสื่อสาร สร้างความ เข้าใจให้ชาวบ้านเกิดความเข้าใจหรือมองเห็นความส ำคัญจนรวมใจกันสร้างแหล่งท่องเที่ยวนี้ข้ึน ทง้ั น้ี เมื่อการก่อสรา้ งเสรจ็ แล้ว ควรมีการวางระบบบริหารจดั การทีม่ คี วามเป็นมืออาชพี คณะที่ ๒. เยี่ยมชมการดำเนินการ : งานก่อสร้างทำนบกั้นน้ำ บ้านสัน ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน (งบประมาณ ๑,๙๑๕,๗๐๐ บาท /ผู้รับผิดชอบ กองบัญชาการกองทัพ ไทย กระทรวงกลาโหม ภายใต้แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศและความ พร้อมเผชิญภัยคุกคามทุกมิติ (ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น ความมัน่ คง) คณะเดินทางประกอบดว้ ย ๑. พลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร สมาชกิ วุฒสิ ภา ๒. นายจเดจ็ อนิ สวา่ ง สมาชกิ วฒุ สิ ภา ๓. นายดเิ รกฤทธิ์ เจนครองธรรม สมาชิกวุฒิสภา ๔. นางดวงพร รอดพยาธ์ิ สมาชิกวุฒิสภา ๕. รองศาสตราจารย์ทวีศกั ดิ์ สทู กวาทิน กรรมการ ๖. นายชัยยทุ ธ สนิ สูงสุด อนกุ รรมการด้านนโยบายฯ ๗. นายอดุ ร พนั ธุมติ ร วทิ ยากรชำนาญการพิเศษ ๘. นายอมร จึงร่งุ ฤทธิ์ วทิ ยากรชำนาญการ ๙. นายเอกภักดิ์ หอมสมบัติ นกั ประชาสัมพนั ธป์ ฏบิ ัติการ
๓๐ พลเอก วรพงษ์ สง่าเนตร สมาชิก วุฒิสภา เป็นหัวหน้าคณะนำสมาชิกวุฒิสภาลง พื้นท่ีทำนบกั้นน้ำ บ้านสัน ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน เพื่อติดตามการ ดำเนินการก่อสร้างทำนบกันน้ำ ซึ่งรับผิดชอบ ดำเนินการโดยหน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ ๓๑ สำนกั งานพัฒนาภาค ๓ หน่วยบัญชาการทหาร พัฒนา ซึ่งเป็นโครงการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่ได้ดำเนินการแล้วเสร็จ โดยเริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๖๔ ถึง วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๔ รวมใช้ระยะเวลาในการก่อสร้างจนกระทั้งเสร็จสิ้น เป็นระยะ ๕๕ วัน โดยโครงการดังกล่าว ข้างต้น เป็นหนึ่งในโครงการพัฒนาศักยภาพด้านการพัฒนาประเทศและการช่วยเหลือประชาชน กิจกรรม การจัดหาน้ำกนิ น้ำใช้ในพืน้ ทีเ่ ปา้ หมาย สภาพปัญหาและเหตผุ ลความจำเปน็ ของการดำเนนิ การโครงการ หมู่บ้านสัน และหมู่บ้านน้ำหิน ตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดน่าน มีราษฎรที่อาศัยอยู่ จำนวนครัวเรือน ๒๑๒ ครัวเรือน จำนวนประชากร ๗๒๑ คน สภาพทั่วไปของหมู่บ้านตั้งอยู่ บนพื้นที่ ช่องหุบเขาและตามไหล่เขา ปัญหาภายในหมู่บ้านยังขาดแคลนน้ำในการทำการเกษตรที่ไม่เพียงพอ ต่อความต้องการ เนื่องจากการทำการเกษตรที่เพิ่มมากขึ้น และลำห้วยเดิมไม่สามารถกักเก็บน้ำได้ ในช่วงฤดูแล้ง อีกทั้งฤดูฝนมีน้ำไหลเข้าท่วมพ้ืนที่การเกษตร ปัจจุบันปริมาณน้ำไม่เพียงพอต่อความ ตอ้ งการในการทำการเกษตร และการใช้เลีย้ งสัตว์ เน่อื งจากลำหว้ ยไม่มแี หลง่ กักเก็บน้ำฤดูแล้ง แหล่งน้ำ แห้งขอดไม่เพียงพอ ดังนั้น หน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ ๓๑ สำนักงานพัฒนาภาค ๓ หน่วยบัญชาการ ทหารพัฒนา (นพค. ๓๑ สนภ. ๓ นทพ.) จึงเหน็ ความสำคัญของปัญหาและเข้าดำเนินการประชาคมกับ ราษฎร ซ่งึ องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลเชียงของ อำเภอนาน้อย จังหวัดนา่ น ไดพ้ ิจารณาถึงความเหมาะสม แล้วจึงได้ดำเนินการตามโครงการก่อสร้างทำนบกั้นน้ำขนาดสัน กว้าง ๔ เมตร ยาว ๓๕ เมตร สูง ๔ เมตร ทบี่ ้านสนั ตำบลเชยี งของ อำเภอนานอ้ ย จงั หวัดนา่ น โดยทำนบกั้นน้ำแหง่ นส้ี ามารถกักเก็บน้ำเตม็ ความจุไดถ้ ึง ๒๓,๐๐๐ ลูกบาศกเ์ มตร เพ่ือแก้ไขปญั หาดังกลา่ วอย่างเรง่ ด่วน และยั่งยืนต่อไป
๓๑ ผลลพั ธจ์ ากการดำเนนิ การ ๑. ราษฎรบ้านสัน และบา้ นน้ำหนิ ตำบลเชยี งของ อำเภอนาน้อย จังหวดั น่าน มคี ุณภาพชวี ิตทดี่ ี ข้ึน เกิดความศรัทธา และเชอื่ มั่นตอ่ เจ้าหนา้ ที่รัฐ ๒. เป็นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อดำรงชีพและความเป็นอยู่โดยการพัฒนาแหล่งน้ำ เพือ่ การเกษตร ๓. เปน็ แหลง่ กกั เกบ็ น้ำธรรมชาติ เพือ่ การเกษตรและเพ่ิมโอกาสในการเพาะปลูกให้มากขึ้น ๔. ลดความเสยี หายจากภยั แลง้ หรือภาวะฝนท้ิงช่วงโดยเฉพาะในหว้ งทพี่ ชื ตอ้ งการน้ำ ๕. ยกระดับคุณภาพชวี ติ ของราษฎรบา้ นสัน และบ้านน้ำหิน นอกจากนี้ยังมีการแต่งตั้งตัวแทนจากหมู่บ้านสัน และหมู่บ้านน้ำหิน ตำบลเชียงของ อำเภอ นาน้อย จังหวัดน่าน จำนวน ๗ คน มาเป็น “คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำ” เพื่อทำหน้าที่บริหาร จดั การน้ำจากทำนบกนั้ น้ำแหง่ น้ี ให้ได้ประโยชนส์ ูงสดุ ต่อสว่ นรวมในพื้นที่ต่อไป ประเด็นข้อสังเกต และข้อเสนอแนะของสมาชกิ วฒุ ิสภา สรปุ สาระสำคญั ได้ ดังน้ี ๑. การสร้างทำนบกน้ั น้ำแหง่ น้ี เมอื่ แล้วเสรจ็ จะมี ความมน่ั คงแข็งแรงเพียงใด มีมาตรการใด รองรับหรอื ปอ้ งกัน การพังทลายของของทำนบกนั้ นำ้ หรอื ไม่ ผู้บังคับหน่วยพัฒนาการเคลื่อนที่ ๓๑ สำนักงาน พัฒนาภาค ๓ หน่วยบัญชาการทหารพัฒนาได้ชี้แจ้งว่า การสร้างทำนบกั้นน้ำบ้านสันแห่งนี้ เป็นการก่อสร้างตาม ขั้นตอนโครงสร้างที่ได้มาตรฐานของหน่วยบัญชาการทหาร พัฒนา ซึ่งทำนบกั้นน้ำบ้านสันแห่งนี้ เป็นหนึ่งในพื้นที่ เป้าหมาย โดยที่ก่อนหน้านี้มีการสร้างทำนบกั้นน้ำตาม ขั้นตอนโครงสร้างดังกล่าวเสร็จสิ้นแล้ว ๔ แห่ง ตั้งแต่ปี ๒๕๖๐ จนถึงปัจจุบัน ยังไม่มีทำนบกั้นน้ำใดที่เสียหาย นอกจากน้ียังให้ชาวบ้านในแตล่ ะพ้ืนที่ปลูกหญ้าแฝกบรเิ วณ สันทำนบกั้นน้ำ เพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดินอีก ประการหนึง่ ด้วย
๓๒ ๒. คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำ ที่จะต้องเข้าทำหน้าที่บริหารจัดการน้ำจากทำนบ กั้นน้ำแห่งนี้ มีขั้นตอนหรือมาตรการใดบ้าง เพื่อป้องกันหากเกิดกรณีพิพาทของชาวบ้านในการขัดแยง้ จากการใชป้ ระโยชน์ของทำนบกั้นน้ำแหง่ นี้ ผู้ใหญ่บ้านบา้ นสัน ชี้แจงว่า เนื่องจากการสรา้ งทำนบกั้นน้ำแห่งน้ี เพิ่งแล้วเสร็จยังไม่มีน้ำให้กกั เก็บ ประกอบกับคณะกรรมการบริหารจัดการน้ำชุดนี้เป็นชุดแรก จึงยังไม่ได้มมี าตรการรองรับดงั กล่าว แต่จะไดน้ ำขอ้ สังเกตของคณะกรรมาธิการไปดำเนนิ การหารือต่อไป ๓. สมาชิกวุฒิสภาเสนอแนะให้ทางอำเภอนาน้อย พิจารณาจัดทำแผนงานเพื่อทำคำขอ งบประมาณเพอ่ื บำรงุ รักษาทำนบเสนอจงั หวดั เพือ่ บรรจใุ นแผนพฒั นาจังหวดั และของบประมาณตอ่ ไป พร้อมท้ังเสนอแนะให้ประชาชนในพื้นที่ร่วมกันหาแนวทางหรือมาตรการที่จะดูแลบ ำรุงรักษาทำนบ กั้นน้ำแห่งนี้ เพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดร่วมกันของประชาชน คุ้มค่ากับเงินงบประมาณของแผ่นดินที่ได้ นำมาพฒั นาในพ้นื ที่ คณะที่ ๓. เยี่ยมชมการดำเนินการ : สถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้าพร้อมระบบส่งน้ำบ้านไผ่งาม พื้นที่ชลประทาน ๑,๐๐๐ ไร่ ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน (งบประมาณ ๑๕,๐๐๐,๐๐๐ บาท /ผู้รับผิดชอบ กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ภายใต้แผนงานบูรณาการพัฒนา พื้นที่ระดับภาค (ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตรช์ าติ ประเด็น การบรหิ ารจัดการน้ำท้ังระบบ) คณะเดนิ ทางประกอบดว้ ย ๑. พลเอก โปฎก บุนนาค สมาชกิ วฒุ ิสภา ๒. พลอากาศเอก อดิศกั ด์ิ กลัน่ เสนาะ สมาชิกวุฒสิ ภา ๓. พลเอก สำเรงิ ศวิ าดำรงค์ สมาชิกวฒุ สิ ภา ๔. นายสมชาย ชาญณรงค์กุล สมาชกิ วุฒิสภา ๕. นายพลเดช ปิ่นประทปี สมาชิกวฒุ ิสภา ๖. นายณฏั ฐกติ ติ์ ปัทมะ วิทยากรเช่ียวชาญ ๗. นายพลณัฐ เครอื เช้า นักประชาสัมพนั ธป์ ฏบิ ตั ิการ ๘. นางธิราพร ณ เชยี งใหม่ เจา้ พนักงานธุรการชำนาญงาน
๓๓ พลเอก โปฎก บุนนาค สมาชิกวุฒิสภา เป็นหัวหน้าคณะนำสมาชิกวุฒิสภาลงพื้นท่ีบ้านไผ่งาม ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน เพื่อติดตามการดำเนินงานโครงการสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า พร้อมระบบสง่ น้ำ ซึ่งรับผิดชอบโดยกรมโยธาธิการและการผังเมือง เพื่อให้เกษตรกรใช้น้ำได้อยา่ งทั่วถงึ ในพน้ื ท่ีบ้านไผง่ ามสำหรับช่วยเหลือพื้นทก่ี ารเกษตรประมาณ ๑,๐๐๐ ไร่ วตั ถุประสงคโ์ ครงการ เพื่อสูบน้ำใช้ในการเกษตรในพื้นที่บ้านไผ่งาม ตำบลส้าน อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน พื้นท่ี รับประโยชนป์ ระมาณ ๑,๐๐๐ ไร่ สถานะของโครงการ โครงการชลประทานน่าน กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ดำเนินการ ทำสัญญาจัดซื้อจัดจ้างกับผู้รับเหมาแล้ว แต่เนื่องจากมีผู้ร้องคัดค้านผลการประกวดราคา และมีการ ส่งเรื่องการอุทธรณ์ เพอื่ ให้กรมบัญชีกลางพจิ ารณาวินิจฉยั ตามกฎหมาย (หน่วยงานโครงการชลประทาน นา่ นสง่ เร่อื งการอทุ ธรณไ์ ปยงั กรมบัญชีกลาง)
๓๔ ประเด็นขอ้ คำถาม ข้อสังเกต และข้อเสนอแนะของสมาชกิ วฒุ ิสภา ๑. สร้างแหลง่ กกั เกบ็ น้ำให้เพยี งพอตอ่ ความตอ้ งการของประชาชนในพ้นื ที่ เน้นแหล่งกักเก็บน้ำ บนภเู ขา (อา่ งเก็บน้ำ) เพือ่ ใช้อปุ โภค บรโิ ภค การเกษตร เป็นแหล่งท่องเทย่ี ว และท่ีพกั นักทอ่ งเทีย่ ว ๒. การกระจายน้ำจากสถานีสูบน้ำด้วยไฟฟ้า ครอบคลุมพื้นที่รับประโยชน์ให้ครอบคลุมและ ทว่ั ถึง ๓. สถานีสบู น้ำแจกจา่ ยใหป้ ระชาชนในพื้นทเ่ี ฉพาะในฤดูฝนหรือในฤดูแล้ง หรือตลอดทั้งปี ๔. การบริหารจัดการน้ำอย่างมีประสิทธิภาพ มีการตั้งคณะกรรมการและมีการวางแผน การใช้น้ำ มกี ารกำหนดกฎเกณฑ์ ระเบียบรว่ มกนั เพื่อใหเ้ กิดความเป็นธรรมและโปรง่ ใสอย่างไร ๕. ผู้รับผิดชอบในการบริหารจัดการค่าไฟฟ้า และค่าใช้จ่ายในการบำรุงดูแลรักษาอย่างเป็น ระบบ ๖. การใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด การปลูกพืชที่มีมูลค่าสูง เช่น พริกไทย พืชใช้น้ำน้อย และตลาดมคี วามต้องการ ๗. การตงั้ กลุ่มผใู้ ชน้ ้ำ เพอื่ สรา้ งการมีสว่ นรว่ ม/ความรับผดิ ชอบรว่ มกนั ของประชาชนในพืน้ ท่ี คณะที่ ๔. เยี่ยมชมการดำเนินการ : โรงเรียนคุณภาพประจำตำบลโรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร) ถนนข้าหลวง ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน (ยุทธศาสตร์ชาตดิ ้านการ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็น การ พฒั นาการเรยี นรู้) คณะเดนิ ทางประกอบดว้ ย ๑. นายออน กาจกระโทก สมาชกิ วุฒิสภา ๒. นางกอบกุล อาภากร ณ อยธุ ยา สมาชกิ วฒุ สิ ภา ๓. นางสาวดาวนอ้ ย สุทธนิ ภิ าพันธ์ สมาชกิ วฒุ สิ ภา ๔. นายอรรทิตยฌ์ าณ คหู าเรอื งรอง อนกุ รรมการการมสี ว่ นรว่ มของเยาวชน ๕. นายอาชวิน ลอ้ มพทิ กั ษ์ อนกุ รรมการประชาสมั พันธ์ฯ ๖. นายกติ ติกร กอบเงนิ วทิ ยากรปฏบิ ตั ิการ ๗. นางสาวปิยวรรณ แสนเมือง นักประชาสมั พนั ธ์ปฏิบตั ิการ ข้อมลู โรงเรียนบา้ นดอน (ศรีเสริมกสิกร) ตั้งอยู่ที่ ถนนข้าหลวง ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน มีครูและบุคลากร จำนวน ๑๐๖ คน นกั เรยี น จำนวน ๑,๗๘๑ คน
๓๕ การจัดการศกึ ษาของโรงเรียนตามแนวทางปฏิรูปการจัดการศกึ ษา ๑. จัดเนื้อหาและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยค ำนึงถึง ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ๒. ฝึกทักษะกระบวนการคิดการจัดการ การเผชิญสถานการณ์ การประยกุ ตค์ วามรู้เพื่อนำไปใช้ ในการป้องกนั และแก้ไขปญั หา ๓. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียน เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้คิดเป็นทำเป็น รักการอ่าน และเกิดการเรยี นรอู้ ย่างต่อเนอ่ื ง ๔. จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระ ความรู้ต่าง ๆ ให้ได้สัดส่วนสมดลุ ปลูกฝังค่านิยมและ คุณลกั ษณะอนั พ่งึ ประสงค์ ในทกุ สาระวชิ า ๕. จัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการ เรียน และอำนวยความสะดวกให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ สามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของ กระบวนการเรียนรู้ ผู้สอนและผู้เรียนเรียนรู้ไปพร้อม กัน จากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการ ประเภทตา่ ง ๆ ๖. จัดการเรียนรู้ให้เกิดทุกเวลา ทุกสถานที่ ประสานความร่วมมือจากผู้ปกครอง และชุมชน เพือ่ พฒั นาผ้เู รียนตามศกั ยภาพ ผลการพัฒนาการศกึ ษาด้านส่งเสริมวิชาการ ทางโรงเรียนได้กำหนดกลยุทธ์และจัดทำแผนพัฒนา คุณภาพการศกึ ษา มีการวางแผนกระบวนการคน้ หานวตั กรรม ดำเนินการค้นหานวัตกรรมที่เหมาะสม หลังจากนั้นได้ ตรวจสอบและเพม่ิ เตมิ ขั้นตอนท่เี หมาะสม และประชาสัมพนั ธ์ ใหบ้ ุคลากรในองคก์ รไดร้ ับทราบ โดยพฒั นารปู แบบดงั ต่อไปนี้ การดำเนนิ งานตามผลงานตามกจิ กรรมตามวงจร ADLI ๑. การวางแนวปฏิบัติ Approach ทางโรงเรียนได้ทำ การวิเคราะห์กลยุทธ์แล้วนำการกำหนด กลยทุ ธ์เพ่ือให้มนี วตั กรรมใช้ในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒. การดำเนินการ Deployment โรงเรียนได้ใช้กระบวนการ PDCA – S/P โรงเรียน บ้านดอน (ศรเี สริมกสกิ รรม) Model ในการจัดการเรียนรู้ P (PLAN) การวางแผน มีการประชุมคณะกรรมการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ D (DO) จดั การเรียนรู้ตามกระบวนการเรยี นรู้ ตรากระบวนการเรยี นรูใ้ นศตวรรษท่ี ๒๑ ดังน้ี ๑. กระบวนการเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ ๒. กระบวนการเรยี นรู้ผา่ นการส่อื สารอยา่ งสรา้ งสรรค์ ๓. การเรียนรแู้ บบข้ันบันได (IS) C (CHECK) การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล การนิเทศภายในอย่างต่อเนื่อง เพื่อตรวจสอบ และใหค้ ำแนะนำ รวมทง้ั หาแนวทางแก้ไข A (ACTION) ประเมิน ปรับปรุงและวิเคราะห์ผล RT, NT, O – NET และข้อสอบมาตรฐาน ปลายปี S (Smart) ความเป็นเลิศทางวิชาการ การดำเนินการตามโครงการ กิจกรรมสนับสนุน และ กจิ กรรมการเรียนการสอน
๓๖ P (Presentation) การประชาสมั พนั ธ์ตอ่ สาธารณชนอื่น ๆ ๓. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Learning) โรงเรียนมีการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในการ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสัปดาห์ละ ๒ ครั้งโดยจัดภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้เดียวกันและภายใน ชัน้ เรียนแต่ละสายช้ัน ๔. การบูรณาการ (Integration) ทางโรงเรียนได้ใช้กระบวนการในการบริหารทั้ง ๔ งาน โดยการบูรณาการแบบองค์รวม การพฒั นาการศกึ ษาดา้ นสง่ เสรมิ วชิ าการ แบง่ เปน็ ๕ ประเด็น ได้แก่ ๑. การจัดการเรยี นการสอนภาษาตา่ งประเทศ ๒. การพฒั นาด้านทักษะชีวติ ๓. การพฒั นาทักษะอาชีพ ๔. กจิ กรรมลดเวลาเรียน เพิม่ เวลารู้ ๕. กิจกรรมคา่ ยวชิ าการ ภาวะผนู้ ำและการบริหารจัดการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา สรา้ งทกั ษะผนู้ ำตามคุณลักษณะผูน้ ำการเปลยี่ นแปลง Transformational Leadership ๑. เป็นแบบอย่างและตวั อย่างท่ีดี Idealized Influence ๒. เป็นนกั สรา้ งแรงบนั ดาลใจ Inspirational Motivation ๓. กระตุ้นใหเ้ กิดการเรียนร้ทู กุ สถานการณ์ Intellectual Stimulation ๔. เขา้ ใจลักษณะเฉพาะแต่ละบคุ คล Individualized consideration ๕. การสรา้ งทมี งาน Teams การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ๑. มคี รคู รบชน้ั เรยี น ตรงสาขา มบี คุ ลากรธุรการ นกั การภารโรง และครมู ที กั ษะวชิ าชีพ ๒. หลักสูตรการจัดการเรียนรู้และประเมินผลการเรียนรู้ ตามการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ ประกอบด้วย ทักษะพื้นฐานในการรู้หนังสือ ทักษะการคิด ทักษะการทำงาน ทักษะการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ และทักษะการใช้ชีวิต โดยการประเมินการจัดการเรียนรู้ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ใช้แบบทดสอบตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับสากล ควบคู่ไปกับการวัดและประเมินผลการ เรียนรตู้ ามสภาพจริงในห้องเรยี น ๓. การจัดการชั้นเรียน การออกแบบการจัดการเรียนการสอนให้มีความหลากหลาย อาทิ การเรียนรู้แบบรายบุคคล การเรียนแบบกลุ่ม สนับสนุนและส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านทรัพยากร และช่องทางการเรยี นรู้ท่หี ลากหลายท้งั ในห้องเรียนและการเรยี นร้แู บบออนไลน์ และจดั การให้มี การเชอ่ื มตอ่ การเรยี นรู้ ทง้ั ภายในและภายนอกห้องเรยี น ๔. ภาษาและการสื่อสาร (อย่างน้อย ๒ ภาษา ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) โดยมีการพัฒนา ทักษะการสื่อสารภาษาที่ ๒ และภาษาที่ ๓ ได้แก่ ภาษาอังกฤษ และภาษาจีน ในระดับการพัฒนาการ สือ่ สารเบอ้ื งต้นเพื่อการสือ่ สารในชีวติ ประจำวัน ๕. การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนครูมีศักยภาพในการแยกความสามารถของนักเรียน ได้เป็นรายบุคคล มีกระบวนการดำเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบ มีขั้นตอนชัดเจน พร้อมทั้งมีวิธีการและเครื่องมือที่มีมาตรฐาน คุณภาพ และมีหลักฐานในการทำงานที่ตรวจสอบได้ เพอื่ มงุ่ ผลสมั ฤทธใ์ิ นการแก้ปัญหาผู้เรยี นเป็นรายบุคคลและส่งเสรมิ ผเู้ รียนอย่างเต็มศักยภาพ
๓๗ ๖. การวิจัยและการพัฒนาเรียนการสอน ครูผู้สอนควรทำวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน อย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ เรื่อง เพื่อเป็นการแก้ปัญหาและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ในชั้นเรียนอย่างเป็น ระบบ ๗. การพัฒนาตนเองแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ เป็นกระบวนการสร้างการเปลี่ยนแปลง โดยเรียนรจู้ ากการปฏิบัตงิ านของกลมุ่ บุคคลทม่ี ารวมกัน เพ่ือทำงานร่วมกัน และสนับสนุนซึง่ กนั และกัน โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อพัฒนาการเรียนรูข้ องผู้เรียนรว่ มกัน มุ่งเน้นและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้อย่าง เป็นองค์รวมมรี ูปแบบ และข้นั ตอนการสร้างชุมชนทางวชิ าชพี ดงั นี้ ๑. ระบุความต้องการของผเู้ รียนและความสำคญั ๒. ครรู ่วมกนั วางแผนการเรยี นรแู้ ละทดลองใช้ ๓. ตรวจสอบแผนและกระบวนการนำไปใช้ ๔. ปรบั ปรงุ แก้ไขบนพืน้ ฐานของข้อมูล ๕. ศกึ ษาแนวทางวธิ กี ารสอนและทดลองใช้วธิ ใี หม่ ๖. สะทอ้ นผลการทำงานและพจิ ารณาแนวทางทเ่ี หมาะสมกบั ผเู้ รียน ๘. ครสู ามารถใชเ้ ทคโนโลยี ICT ในการจดั การเรียนการสอนและคน้ ควา้ หาความรเู้ พิ่มเติม การสรา้ งเครอื ข่ายและการมสี ่วนรว่ ม ๑. การสร้างเครือข่ายความสัมพันธ์โรงเรียนและชุมชนโดยใช้หลัก ๓S’s ในการสร้างความ ร่วมมือและการสนบั สนุนจากชมุ ชน ๑.๑ Shared Vision การสร้างชุมชุนมวี ิสัยทัศน์ร่วมกันกบั สถานศกึ ษา ๑.๒ Synergy การรวมพลังประสานความร่วมมอื กบั ชมุ ชนใหท้ ำงานรว่ มกับสถานศึกษา ๑.๓ School – Based Activities การสร้างสถานศึกษาใหเ้ ป็นแหล่งความรู้ศูนย์กลางพฒั นา ทรพั ยากรมนุษยข์ องชมุ ชน ๒. การสร้างความสมั พันธร์ ะหวา่ งเครอื ข่ายการพฒั นา การมีสว่ นร่วมของเครอื ข่ายประกอบด้วย ๒.๑. เครอื ขา่ ยศษิ ยเ์ กา่ สมาคมครแู ละผู้ปกครองนกั เรียน ๒.๒ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ๒.๓ เครอื ข่ายกลมุ่ โรงเรียน ๒.๔ เครอื ข่ายของชมุ ชนในทอ้ งถ่นิ วดั องคก์ รและหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน ๒.๕ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒.๖ กระทรวงมหาดไทย ๒.๗ กระทรวงดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม ๒.๘ กระทรวงสาธารณสขุ ๒.๙ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม ๒.๑๐ กระทรวงพลังงาน
๓๘ ปญั หาและอปุ สรรคในการดำเนนิ งานตามโครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล ๑. ดา้ นโครงสรา้ งพืน้ ฐาน จำนวนโครงสรา้ งพ้นื ฐานไม่สามารถตอบสนองกบั จำนวนนกั เรยี น ทเี่ พมิ่ ขน้ึ ทกุ ปี ทำใหม้ ปี ญั หาความไมเ่ พียงพอของอาคารเรยี นและอาคารประกอบตอ่ จำนวนนกั เรยี น โดยเฉพาะในสว่ นของโรงอาหารทก่ี อ่ สรา้ งเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๔ ระยะเวลาประมาณ ๔๐ ปี มีความชำรดุ ผพุ ังท่ตี อ้ งซอ่ มแซมและการบำรุงรักษา แตย่ งั ไม่ได้รบั การจดั สรรงบประมาณ ๒. ด้านการส่งเสรมิ การศึกษาการพัฒนาทกั ษะวิชาชีพยังมีพฒั นาการทีไ่ ม่เด่นชัด ยังไม่สามารถ พัฒนาทักษะวิชาชีพในลักษณะของโครงงานอาชีพให้ครบวงจร ทำได้เพียงกระบวนการผลิตชิ้นงาน เท่านั้น ในส่วนของการบริหารจัดการด้านการซื้อขาย การหาตลาดและการกระจายสินค้า รวมถึงการ ดำเนนิ การในการจดั ทำบัญชีรายรบั รายจ่ายยงั ไมส่ ามารถดำเนินการใหเ้ หน็ ชัดและครบวงจรได้ ๓. การจัดการเรยี นการสอนในช่วงของการใช้มาตรการป้องกนั covid - ๑๙ ทำให้เกิดอุปสรรค ในการเรียนการสอนและการจัดการเรียน โดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ยังมีข้อจำกัด ในประเด็นของประสิทธิภาพและความพร้อมของระบบการศึกษา รวมถึงการที่ผู้ปกครองสะท้อน ความคดิ เห็นวา่ เป็นการเพ่ิมภาระให้ผปู้ กครอง และยงั สะทอ้ นถึงภาพปญั หาความเหลื่อมล้ำของนักเรียน ทม่ี อี ยา่ งหลากหลายอกี ดว้ ย ๔. การที่โรงเรียนเป็นโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษ มีจำนวนนักเรียนมาก และด้วยสภาพสังคม ท่เี ปลย่ี นไปอยา่ งรวดเรว็ ทำใหจ้ ำนวนนักเรยี นมคี วามบกพรอ่ งในการเรยี นรู้เพม่ิ สัดส่วนมากขึน้ ส่งผลถึง อปุ สรรคในการบรหิ ารจัดการชน้ั เรียนและประสทิ ธิภาพการเรียนรแู้ ละผลสมั ฤทธ์ิในภาพรวม ๕. ด้านการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมการสร้างเครือข่ายและการมีส่วนร่วมใน เชิงวชิ าการยังไมเ่ ข้มแข็งเทา่ ท่ีควรอันเน่ืองมาจากความจำกัดในเร่อื งของทรัพยากรและการเข้าถงึ การใช้ ทรัพยากรร่วมกันของเครือข่ายที่เป็นหน่วยงานภายนอกอันเนื่องมาจากนโยบายของหน่วยงาน ท่ไี ม่ตอ่ เนอื่ ง ประเดน็ ข้อแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ ๑. ประเด็นการสอนให้นักเรียนมีความรักถิ่นฐาน สอนให้เด็กมีมารยาท เคารพรักพ่อแม่ ครูอาจารย์ มีความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งต้องมีเทคนิคในการสอน มิใช่การคิดว่าเป็นไปตามยุคสมัย แต่ครูต้องพยายาม สอนใหไ้ ด้ ๒. ประเด็นการสอนเด็กในดา้ นพหปุ ัญญา ตามศกั ยภาพของนักเรียน คอื ด้านดนตรี กฬี า หรือสายอาชีพ ต่าง ๆ ซึ่งจะทำให้สามารถพัฒนาเด็กได้ ไม่ทำให้เด็กถูกทิ้งจากระบบการศึกษาที่เน้นวิชาการ จนต้องออกจาก ระบบการศกึ ษา ซ่ึงเดก็ จะไดร้ บั การพฒั นาจนอาจประสบความสำเร็จในความถนดั หรือศักยภาพของตนเองได้ ๓. ประเด็นการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศถอื ว่ามคี วามจำเป็นซึ่งต้องทำให้นกั เรียนมีความกลา้ ที่ จะสนทนาภาษาต่างประเทศได้ ๔. ประเด็นร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ซึ่งคาดว่าจะเข้าสู่การพิจารณาของรัฐสภาในห้วง เดอื นมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๔ ในกรณีใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ครู ซ่งึ ยงั มคี วามไม่ชดั เจนเนอ่ื งจากความคดิ เหน็ ยงั แตกต่างน้นั จะมีความชดั เจนในการพจิ ารณาในช้ันกรรมาธกิ าร ซ่ึงจะได้แลกเปลีย่ นความเห็นจนไดข้ ้อยุติ ๕. ที่มาของโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลเกิดจากการคดั เลือกภายในเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา น่านเขต ๑ สืบเนือ่ งมาจากโครงการของรฐั บาลตงั้ แตใ่ นอดตี คือ โครงการโรงเรยี นในฝัน แตโ่ ครงการส้นิ สดุ ลงใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๐ ต่อมาได้ร่วมโครงการของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง ได้แก่ โรงเรียนดีใกล้บ้าน โรงเรียนดีศรีตำบล
๓๙ และโรงเรียนดีประจำตำบล จนมาถึงในปัจจุบันคือ โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล โดยโรงเรียนบ้านดอน (ศรี เสรมิ กสิกร) ไดร้ บั การคดั เลือกเนอ่ื งจากการประเมินจาก ๒ ปัจจยั ได้แก่ ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ โดยเฉพาะคะแนนสอบ O - NET ของนักเรียนโรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร) มีคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ โดย ค่าเฉลี่ยคะแนนสอบ O – NET ทั้งประเทศอยู่ท่ี ร้อยละ ๓๖ แตค่ ่าเฉลีย่ ของโรงเรียนบา้ นดอน (ศรีเสริมกสิกร) อย่ทู ่ีร้อยละ ๔๘ โดยสงู กว่าคา่ เฉลยี่ ทกุ วชิ า ๒. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรียนโรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร) มุ่งเน้นให้ นกั เรยี น เกง่ ดี และมคี ุณคา่ ทั้งนี้ ปัจจุบันโรงเรียนยังไม่ได้รับเงินสนับสนุนการเป็นโรงเรียนคุณภาพประจำตำบลจาก รฐั บาล ๖. ผู้บริหารและครูผู้สอนของโรงเรียนมีคุณภาพจำนวนมาก ส่งผลให้เกิดการแข่งขันในการทำงาน ส่งผลให้นักเรยี นได้รับความรู้อย่างมีคุณภาพจากครูผู้สอนโดยมีวธิ กี ารสอนที่เหมาะสม สามารถเป็นแบบอย่าง ให้กบั โรงเรยี นอืน่ ๆ ได้ ๗. โรงเรียนเห็นว่าหลักสูตรทุจริตศึกษาเป็นหลักสูตรที่ดี มีรายละเอียดชัดเจน แต่มีความเป็นทฤษฎี มากเกินไปทำให้เกิดปัญหาขึ้นกับทั้งครูผู้สอนและนักเรียนโรงเรียนในการจัดการเรียนการสอน จึงมีการ ประยกุ ต์หลกั สูตรทจุ ริตศึกษาใหส้ อดคลอ้ งกับกิจกรรมและเนอ้ื หาการเรียนใน แต่ละวิชา โดยมีแนวทางดงั น้ี ๑. จดั เปน็ วิชาเพิ่มเตมิ ในหลกั สตู ร ๒. จัดเป็นกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน ๓. จดั การเรยี นแทรกกับหลักสูตรปกติ ๔. จัดการเรียนแทรกในชวี ติ ประจาวันในสถานศกึ ษา ความต้องการของโรงเรยี นเพอ่ื แก้ไขปัญหา ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ โรงเรียนบ้านดอน (ศรีเสริมกสิกร) ได้รับการจัดสรรและอนุมัติงบประมาณ ในการก่อสร้างอาคารเรียนแบบพิเศษ เป็นงบผูกพันปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ และ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ซง่ึ ทางโรงเรยี นมีความพรอ้ มในเร่ืองสถานทกี่ อ่ สร้างและดำเนนิ การตกลงเกี่ยวกับ ผู้รับจ้าง เรียบร้อยแล้ว แต่ยังไม่ได้รับเงินงบประมาณจากสำนักงานงบประมาณเพื่อเบิกจ่าย จึงยังไม่สามารถ ดำเนินการตามระเบียบได้ ซึ่งทางโรงเรียนเกรงว่าหากเกิดความล่าช้าจนเกินระยะเวลา ที่กำหนด จะทำให้งบประมาณของโครงการดังกล่าวต้องส่งคืนกะทรวงการคลัง และไม่สามารถดำเนินการ ก่อสร้างได้ จึงประสงค์ขอให้วุฒิสภาเร่งรัดการอนุมัติเบิกจ่ายงบประมาณจาก สำนักงบประมาณ ใหแ้ กโ่ รงเรียนดว้ ย
๔๐ วนั ศกุ ร์ท่ี ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๔ เวลา ๐๙.๓๐ นาฬิกา กิจกรรมสมาชกิ วุฒสิ ภาพบประชาชน ณ ศนู ยก์ ารเรยี นชุมชนธรรมชาติบา้ นห้วยพา่ น ตำบลเปือ อำเภอเชียงกลาง จงั หวัดน่าน พลเอก สงิ ห์ศกึ สงิ หไ์ พร รองประธานวฒุ ิสภา คนท่หี นึง่ ได้นำคณะสมาชิกวฒุ ิสภาเดินทางไปยัง ศูนยก์ ารเรยี นชมุ ชนธรรมชาตบิ า้ นหว้ ยพ่าน ตำบลเปือ อำเภอเชยี งกลาง จังหวดั น่าน เพอื่ พบปะประชาชน ชุมชนบ้านห้วยพ่าน และเยี่ยมชม ศูนย์การเรียนชุมชนธรรมชาติบ้านห้วยพ่าน ทั้งนี้ นายสมบูรณ์ ใจปิง ผู้อำนวยการศูนย์การเรียนชุนชนธรรมชาติบ้านห้วยพ่าน และผู้ใหญ่บ้านห้วยพา่ น ได้กล่าวถึงความเป็นมา ของศูนย์การเรียนแหง่ นี้ว่าเพ่ือแกไ้ ขปญั หาการสง่ บตุ รหลานไปเรยี นหนังสอื ในโรงเรียนหมู่บ้านใกล้เคียง ซึ่ง ทุกโรงเรียนอยู่ไกลจากหมู่บ้านห้วยพ่าน ประมาณ ๑๐ - ๑๕ ก.ม. การเดินทางไกลไปโรงเรียนก่อให้เกิด ผลกระทบโดยเฉพาะช่วงฤดูฝน เพราะถนนทางเข้าหมู่บ้านระยะทาง ๗ ก.ม. เป็นถนนดินลูกรังลัดเลาะ ไปตามภเู ขาสงู และชาวบ้านสว่ นใหญใ่ ช้รถจักรยานยนต์เป็นพาหนะในการรับ-สง่ นกั เรียน บางครัง้ หากมีฝน ตกหนักก็ทำให้ไม่สามารถเข้า-ออกหมู่บ้านได้ ดังนั้นการเรียนของเด็ก ๆ จึงไม่มีความต่อเนื่องและเกิด อบุ ตั ิเหตุบ่อยคร้งั นอกจากนั้นเด็ก ๆ บางส่วนยังเข้าเรียนหนังสือในโรงเรียนศึกษาสงเคราะห์ จ.น่าน อยู่ห่างจาก หมู่บ้านประมาณ ๑๒๐ ก.ม. ซึ่งเป็นโรงเรียนประจำ เด็ก ๆ จึงต้องออกจากหมู่บ้านตั้งแต่อายุ ๗ ขวบ ซึ่งทั้งผู้ปกครองค่อนข้างเป็นห่วงกังวลเนื่องจากเด็กยังเล็กเกินไปไม่สามารถรับผิดชอบตัวเองได้ แต่ก็ต้อง ตัดใจส่งให้ลูกไปเรียนหนังสือเพื่อการศึกษาของเด็ก ความยากลำบากด้านการศึกษาของบุตรหลาน ทั้งในอดีตและปัจจุบัน เป็นความมุ่งมั่นและแรงบันดาลใจที่ชาวห้วยพ่านพยายามศึกษาช่องทางในการ แก้ไขปัญหาและหาทางออกท่เี หมาะสม และเมือ่ พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ เปิดพ้ืนท่ี การจัดการศกึ ษาหลากหลายรูปแบบมากยงิ่ ขึ้น ทำใหผ้ นู้ ำชมุ ชนห้วยพ่านเริ่มทำการศึกษารายละเอียดและ มีความหวังมากยิ่งขึ้นในการแก้ไขปัญหาด้านการศึกษาของบุตรหลาน ตามที่พระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพิ่มเติม โดยเฉพาะในมาตรา ๑๒ ได้ให้การรับรองสิทธิในการจัด การศึกษาแก่ภาคสังคมและประชาชน โดยกำหนดว่า นอกเหนือจากรัฐ เอกชนและองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น ให้บุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งในขณะนี้ กระทรวงศึกษาธกิ ารได้ออกกฎกระทรวงว่าด้วยสทิ ธอิ งค์กรชุมชนและองค์กรเอกชนในการจดั การศึกษาขั้น พืน้ ฐานในศนู ย์การเรียน พ.ศ. ๒๕๕๕ กำหนดให้องค์กรชมุ ชน และองค์กรเอกชนมสี ิทธิในการจัดการศึกษา ขั้นพื้นฐานในศูนย์การเรียน และให้สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎกระทรวงดังกล่าวนี้ เรียกวา่ “ศูนยก์ ารเรยี น”
๔๑ ต่อมาปี พ.ศ. ๒๕๕๓ ชาวห้วยพ่านได้ร่วมกับทางมูลนิธิส่งเสริมพัฒนาเด็กและเยาวชน เรียนรู้ และศึกษากระบวนการจัดศึกษาในรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งร่วมเรียนรู้กับเครือข่ายการศึกษาทางเลือก แห่งประเทศไทย กระทั่งเมื่อกฎกระทรวงว่าด้วยสิทธิขององค์กรชุมชนและองค์กรเอกชนในการ จดั การศกึ ษาข้นั พื้นฐานในศนู ยก์ ารเรียน พ.ศ.๒๕๕๕ ซึง่ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันท่ี ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ชาวห้วยพ่านจึงมีความประสงค์จะดำเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานภายในศูนย์การเรียนรู้ ตามกฎกระทรวงดังกล่าว รวมทั้งได้พัฒนาหลักสูตรชุมชนขึ้นเพื่อดำเนินการจัดการเรียนการสอนให้กับ บุตรหลานต่อไป อย่างไรก็ตามด้วยประสบการณ์การดำเนินงานพัฒนาด้านต่าง ๆ ของชาวชุมชน บ้านห้วยพ่าน ไม่ว่าจะเป็นด้านการอนุรักษ์ป่า จำนวน ๑๐,๓๑๕ ไร่ ๘๘ ตารางวา อนุรักษ์น้ำและปลา ทั้งในลำน้ำน่านและลำห้วยพ่านมายาวนานกว่า ๓๐ ปี รวมถึงการสืบสานประเพณีวัฒนธรรมชุมชน ประสบผลสำเร็จเป็นที่รับรู้และยอมรับโดยทั่วไปทั้งจากภาครัฐและภาคประชาชน ซึ่งความเข้มแข็ง และพลังของชุมชนเป็นความเชื่อมั่นของชาวห้วยพ่านว่า พวกเขาสามารถจัดการศึกษาให้กับบุตรหลาน ไดต้ ามหลกั การทกี่ ระทรวงศกึ ษาธกิ ารกำหนดไว้ การจดั การศึกษาโดยองค์กรชมุ ชนบ้านหว้ ยพ่าน มเี จตจำนงม่งุ หมายจดั การเรียนการสอนให้ผู้เรียน เรียนรู้อย่างมีความสุข พัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ เป็นคนดีและคนเก่ง สอดคล้องกับวิถีชีวิตชุมชนและ กลมกลืนกบั วิทยาการสมัยใหม่ เพือ่ นำไปสคู่ วามเปน็ มนุษย์ทสี่ มบูรณ์ พรอ้ มดว้ ยคณุ ธรรม ภูมิปัญญา และ สำนกึ ในความเปน็ พลเมืองดี ในการลงพื้นที่บ้านห้วยพ่าน นอกเหนือจากการเยี่ยมชมศูนย์การเรียนชุมชนธรรมชาติ บ้านห้วยพ่านแล้ว สมาชิกวุฒิสภาได้มอบอุปกรณ์สำหรับการจัดการเรียนการสอน ของที่ระลึกและอื่น ๆ ใหแ้ กศ่ ูนยก์ ารเรยี นชุมชนธรรมชาตบิ ้านห้วยพ่าน และผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ ประกอบไปด้วยคอมพิวเตอร์และ อุปกรณต์ อ่ พว่ ง จำนวน ๑ ชุด โทรทัศนส์ ีดจิ ิทัล Smart TV จำนวน ๑ เครือ่ ง ผา้ ขนหนู ผนื ใหญ่ ผา้ ขนหนู ผนื เล็ก ลกู พันธุ์ไก่ไข่ เมลด็ พันธ์ุผักสวนครวั และเจลลโี่ ภชนา
๔๒ ทง้ั น้ี สมาชกิ วฒุ สิ ภาได้รับฟงั และแลกเปลยี่ นความคิดเห็นกบั ชาวชุมชนบ้านหว้ ยพา่ นอยา่ งใกลช้ ิด หลังจากนั้น สมาชิกวุฒิสภาได้ร่วมรับประทานอาหารกลางวันกับชาวบ้านห้วยพ่าน ท่ามกลาง บรรยากาศเป็นกนั เองฉนั ท์มติ ร
๔๓ ปญั หาและอปุ สรรคในการดำเนนิ งานของศนู ย์การเรยี นชุมชนธรรมชาติบ้านหว้ ยพ่าน จากการรับฟังผลการดำเนินงานของศูนย์การเรียนชุมชนธรรมชาติบ้านห้วยพ่านของสมาชิก วุฒิสภา ได้รับทราบปัญหาสำคัญประการหนึ่ง ซึ่งเป็นอุปสรรคในการพัฒนาศูนย์การเรียนชุมชน ธรรมชาติบ้านห้วยพ่าน คือ ชุมชน และศูนย์การเรียน ตั้งอยู่ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ทำให้ไม่สามารถ ของบประมาณจากภาครัฐในการพัฒนาพื้นที่ ทั้งแหล่งน้ำและสิ่งปลูกสร้าง สำหรับใช้ประโยชน์ของ ชุมชนและศูนยก์ ารเรียนฯ ได้ ทั้งนี้ คณะสมาชิกวุฒิสภาได้แสดงความคิดเห็น โดยชื่นชมผู้นำชุมชนและชาวบ้านห้วยพ่าน ทไี่ ด้รว่ มมือกนั แกไ้ ขปัญหาการศึกษาของชุมชนได้อย่างสอดคล้องกบั วิถชี ุมชนและกลมกลน่ื กับวทิ ยาการ สมัยใหม่ไดเ้ ปน็ อย่างดี นอกจากนี้ คณะสมาชิกวุฒิสภาได้เสนอแนะเกี่ยวกับประเด็นการใช้ประโยชนแ์ ละการอยู่อาศยั ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติว่า ปัจจุบันรัฐบาลโดย พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ได้มีนโยบายการจัดการปัญหาคนอยู่กับป่า โดยได้ปฏิรูปกฎหมายป่าไม้และที่ดิน รวม ๕ ฉบับ ที่สำคัญ มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของกฎหมายไปจากเดิมอย่างมาก อันได้แก่ “เปลี่ยนจากกฎหมาย ในเชิงบังคับลงโทษ ที่มีแต่การห้ามบุกรุกป่าอย่างเดียว มาเป็นกฎหมายในเชิงส่งเสริมสนับสนุน ซึ่งมีทั้งการห้ามบุกรุกและการให้ใช้ประโยชน์” อันได้แก่ พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายที่ดิน แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๒ พระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. ๒๕๖๒ และพระราชบัญญัติป่าไม้ (ฉบับที่ ๘) พ.ศ. ๒๕๖๒ นอกจากน้ียังมีมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ให้แก้ไขปัญหา คนที่อยู่ในพื้นที่ป่าไม้ทุกประเภท โดยมีกลไกคณะกรรมการนโยบายที่ดินแห่งชาติ (คทช.) ทำหน้าที่ กำกับและแก้ไขปัญหาที่ดินทั้งปวงของรัฐ จากจุดนี้ กำลังนำมาสู่การออกอนุบัญญัติ หรือกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คำสั่ง ที่เกี่ยวข้องท้ังระบบ เพื่อให้พนักงานเจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานในแนวทาง ใหม่ได้ ต่อจากนี้ไป คาดว่าจะเป็นกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม ค้นหาต้นเหตุและแสวงหา แนวทางแก้ไขร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ เปลี่ยนแนวคิดให้ “คนอยู่ร่วมกับป่าได้” ให้คนมีความสุข “บนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร” ส่วนรัฐก็ได้ป่า ประชาชนได้ที่ทำกิน “บนผืนแผ่นดินเดียวกัน” โดยมีเป้าหมายสุดท้ายที่จะสามารถเปลี่ยนคนจาก “ผู้บุกรุก มาเป็นผู้ดูแลรักษาและใช้ประโยชน์อย่าง สมดลุ และยงั่ ยนื ”
๔๔
๔๕ ภาคผนวก
๔๖
๔๗ ภาพกจิ กรรมการรับฟังการบรรยายการดำเนินงานโครงการ/กจิ กรรม ที่ได้รบั การจดั สรรงบประมาณ ประจำปงี บประมาณ ๒๕๖๔ ซ่ึงสอดคล้องกับแผนการปฏิรปู ประเทศ และแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าตทิ อ่ี ยูใ่ นความรบั ผิดชอบของจังหวดั น่าน
๔๘
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103