Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการจัดโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จังหวัดยะลา และจังหวัดปัตตานี

รายงานการจัดโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จังหวัดยะลา และจังหวัดปัตตานี

Published by seijithai, 2021-09-06 09:07:40

Description: รายงานการจัดโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จังหวัดยะลา และจังหวัดปัตตานี ของคณะอนุกรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน ในคณะกรรมการอำนวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน
วันที่ 20-21 มีนาคม 2564

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาเนินงาน การลงพ้ืนที่พบประชาชนณ จงั หวดั ยะลา และจงั หวดั ปัตตานี ของ คณะอนกุ รรมกาการมสี ่วนร่วมของเยาวชน ในคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวฒุ สิ ภาพบประชาชน ระหว่างวนั ศุกรด์ ีท่ี ๑๓ – วันอาทติ ย์ที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ๑. ช่อื โครงการ สมาชิกวุฒิสภาพบประชาชน ณ จงั หวัดยะลา และจังหวดั ปตั ตานี ๒. วนั /เดือน/ปที ีด่ าเนนิ การ ระหว่างวนั ศุกรด์ ีท่ี ๑๓ – วนั อาทติ ยท์ ี่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ๓. รายชื่อคณะเดนิ ทาง ๑. นางกอบกุล อาภากร ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการ / สมาชิกวฒุ สิ ภา ๒. นายกษดิ ศิ อาชวคณุ สมาชิกวฒุ ิสภา ๓. นายอนุศาสน์ สวุ รรณมงคล สมาชกิ วุฒิสภา ๔. นางสาวดาวนอ้ ย สทุ ธินภิ าพนั ธ์ เลขานกุ ารอนุกรรมการ / สมาชกิ วุฒิสภา ๕. นายอรรทติ ย์ฌาณ คูหาเรืองรอง อนุกรรมการ ๖. นายชนะชยั ประมวลทรพั ย์ อนกุ รรมการ ๗. นายธนพนธ์สงิ หพนั ธ์ุ อนุกรรมการ ๘. นายกิตติกร กอบเงนิ อนกุ รรมการและผูช้ ว่ ยเลขานุการ/วิทยากรปฏบิ ตั กิ าร ๔. สถานที่ ๑. ศนู ย์อานวยการบริหารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้จงั หวดั ยะลา ๒. สมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใต้อาเภอรามัน จงั หวัดยะลา ๓. โรงเรียนตนั หยงเปาว์ อาเภอหนองจกิ จังหวัดปัตตานี ๔. โรงแรมซเี อส ปตั ตานี

๒ ๕. กลุ่มเปา้ หมาย ๑. เยาวชน ๒. หน่วยงานของรฐั ๓. ประชาชนทวั่ ไป จานวนผูร้ ว่ มโครงการท้ังหมด ๑๐๖ คน ดงั นี้ - ผมู้ าเข้าร่วม ณ ศูนยอ์ านวยการบริหารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)จานวน ๒๘ คน - ผมู้ าเขา้ รว่ ม ณ สมาคมพฒั นาเยาวชนชายแดนใต้ อาเภอรามนั จงั หวดั ยะลาจานวน ๒๘ คน - ผูม้ าเขา้ ร่วม ณ โรงเรียนบ้านตนั หยงเปาว์ จานวน ๔๐ คน - ผู้มาเขา้ รว่ ม ณ โรงแรมซเี อสปัตตานีจานวน ๑๐ คน ๖. งบประมาณทกี่ ารดาเนนิ โครงการ งบประมาณที่การดาเนินโครงการ : คณะคณะอนุกรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน ได้รับ งบประมาณจากคณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชกิ วฒุ สิ ภาพบประชาชน จานวน 300,000 บาท (สามแสนบาทถ้วน) ลงพนื้ ท่ี ณ จงั หวดั ยะลา และจังหวดั ปตั ตานี ใชง้ บประมาณทงั้ ส้ิน 67,355.20 บาท (หกหมื่นเจด็ พันสามรอ้ ยหา้ สิบหา้ บาทย่สี บิ สตางค์) คงเหลอื งบประมาณ 232,644.80 บาท (สองแสน สามหม่ืนสองพันหกร้อยสี่สบิ สบ่ี าทแปดสบิ สตางค)์ ๗. ความสอดคลอ้ งกับรฐั ธรรมนูญหรอื ยทุ ธศาสตรช์ าติ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา ๗๗ วรรคสอง กาหนดให้ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับต้องมีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ผลกระทบท่ี อาจเกิดขึ้นอย่างรอบด้าน เป็นระบบ รวมท้ังเปิดเผยผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ต่อประชาชน และนามาประกอบการพิจารณาในกระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน นอกจากน้ีเมื่อกฎหมายมีผลบังคับใช้แล้ว ต้องประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย โดยการรับฟังความคิดเห็นของผู้เก่ียวข้องประกอบด้วย เพื่อพัฒนากฎหมาย ให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ท่ีเปล่ียนแปลงไป ประกอบกับ หมวด ๑๖ การปฏิรูปประเทศ กาหนด ให้มีการปฏิรูปประเทศไว้ในมาตรา ๒๕๗ซึ่งสอดคล้องกับแผนการปฏิรูปประเทศที่มีผลบังคับใช้แล้ว กาหนดให้ มีแผนการปฏริ ปู ๑๒ ด้าน โดยมรี ะยะเวลาดาเนินการ ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - พ.ศ. ๒๕๖๕) โดยมีเป้าหมาย ดงั น้ี ๑. ประเทศชาตมิ ีความสงบเรยี บรอ้ ย มีความสามัคคปี รองดอง มกี ารพัฒนาอยา่ งยงั่ ยืนตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมคี วามสมดุลระหวา่ งการพฒั นาด้านวัตถกุ บั การพฒั นาดา้ นจติ ใจ ๒. สงั คมมีความสงบสุข เปน็ ธรรม และมีโอกาสอนั ทัดเทยี มกนั เพอ่ื ขจดั ความเหล่อื มลา้ ๓.ประชาชนมีความสขุ มีคณุ ภาพชวี ิตทด่ี ี และมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาประเทศและการปกครอง ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ ท้ังน้ี มาตรา ๒๕๙ ได้กาหนดให้การแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการปฏิรูปด้าน กระบวนการยุติธรรม และดา้ นการศกึ ษา ต้องมกี ารมีส่วนรว่ มของประชาชนและหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ ง

๓ ๙. สรุปสาระสาคัญของการดาเนินโครงการ รายละเอียดการลงพื้นท่ีพบประชาชนของ คณะอนุกรรมกาการมีส่วนร่วมของเยาวชนใน คณะกรรมการอานวยการโครงการสมาชิกวุฒิสภาพบประชาชนระหว่างวันศุกร์ดีท่ี ๑๓ – วันอาทิตย์ท่ี ๑๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ณ จังหวัดยะลา และจงั หวัดปตั ตานี ๑. วนั ศกุ ร์ท่ี ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๓ นางกอบกุล อาภากรสมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อมด้วยอนุกรรมการเข้าประชุมหารือร่วมกับนางกนกรัตน์ เกื้อกิจผู้ช่วยเลขาธิการ ศอ.บต.กระทรวง การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.)และหน่วยงานในพื้นที่ ณ ห้องประชุม ศูนย์อานวยการ บริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)เพื่อร่วมกันหาแนวทางในการสนับสนุนโครงการและกิจกรรมของ เยาวชนในพ้ืนท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีเยาวชนในพ้ืนที่นาเสนอโครงการเยาวชนกับการพัฒนา บณั ฑิตจานวน ๕ โครงการดงั นี้ ๑.) โครงการจาลองการประชุมแบบ MUN (Model United Nationเพื่อการพัฒนาและ เสรมิ สร้างสนั ติสขุ (MUN Meeting for Development and Peace Promotion) ๒.) โครงการตันหยงเปาว์ โมเดล (Tanyongpao Model) หัวข้อ ธนาคารขยะในชุมชุนโดย ชมรมเยาวชนสานใจไทย สู่ใจใต้จังหวัดปัตตานี และเครือข่าย SEED PROJECT เป็นผู้รับผิดชอบ โครงการ ๓.) โครงการสมาคมพฒั นาเยาวชนชายแดนใต้ ๔.) โครงการกระจายทุนการศึกษาท่ไี มท่ ัว่ ถงึ ๕.) โครงการปลกุ ใจ หลอมรวมพลัง สกู่ ระบวนการเรียนรู้ ทูตสอื่ สารชุมชนพงึ่ ตนเอง นางกนกรัตน์ เกอื้ กจิ ผูช้ ่วยเลขาธิการ ศอ.บต.ไดก้ ล่าวช่นื ชมโครงการทุกเครือข่ายเยาวชนนาเสนอ ต่อท่ีประชุม พร้อมกล่าวต่อว่าหน่วยงานราชการ มูลนิธิ และกองทุนต่าง ๆ ในพื้นที่พร้อมให้การ สนับสนุนกิจกรรมของเยาวชนอันจะเสริมสร้างศักยภาพของเยาวชนและสร้างประโยชน์ต่อสังคม ส่วนรวม

๔ ๒. วนั เสาร์ที่ ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ เวลา ๑๐.๐๐ นาฬิกา นางกอบกุล อาภากร สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อม ด้วยสมาชิกวุฒิสภา และอนุกรรมการลงพื้นท่ีพบเยาวชน พร้อมหารือร่วมกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นและเจ้าหน้าท่ีเกษตรตาบลเนินงาม อาเภอรามัน จังหวัดยะลา เพ่ือร่วมกันให้ข้อเสนอแนะและ ร่วมกันหาแนวทางในการสนับสนุนกับโครงการสมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใต้โดยมีนายอับดุลวาริส โลงซา นายกสมาคมพัฒนาเยาวชนชายแดนใต้ รวมกลุ่มกับเยาวชนในพื้นท่ีทาการเกษตรปลูกสวน มะละกอ โดยมุ่งหวังจะทาในรูปแบบ smart farmer ซ่ึงหลังจากประสานหารือแล้วเสร็จ หน่วยงาน ในพื้นท่ีพร้อมให้การสนับสนุนกิจกรรมดังกลา่ ว

๕ เวลา ๑๓.๐๐ นาฬิกา นางกอบกุล อาภากร สมาชกิ วฒุ ิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีสว่ นรว่ มของเยาวชน พรอ้ ม ด้วยอนกุ รรมการลงพนื้ ท่ีพบประชาชนณ บา้ นตนั หยงเปาว์อาเภอหนองจกิ จงั หวดั ปตั ตานี เพือ่ รับฟัง ปญั หาน้าทะเลกดั เซาะชายฝง่ั พรอ้ มรับประสานงานไปยังหนว่ ยงานที่เกี่ยวขอ้ งตอ่ ไป เวลา ๑๔.๐๐ นาฬิกา นางกอบกุล อาภากร สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อมด้วยอนุกรรมการเข้าเย่ียมชมโครงการตันหยงเปาว์ โมเดล (Tanyongpao Model) หัวข้อ ธนาคารขยะในชุมชุน ณ โรงเรียนบ้านตันหยงเปาว์ อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีโดยมีผู้รับผิดชอบโครงการคือ ชมรมเยาวชนสานใจไทย สู่ใจใต้จังหวัดปัตตานี และ เครอื ขา่ ย SEED PROJECT ดาเนนิ โครงการร่วมกับชมุ ชุนและโรงเรียนบา้ นตันหยงเปาว์

๖ เวลา ๑๖.๐๐ นาฬกิ า นางกอบกุล อาภากร สมาชิกวุฒิสภา ประธานอนุกรรรมการการมีส่วนร่วมของเยาวชน พร้อม ดว้ ยอนกุ รรมการ เขา้ เยี่ยมชมการแสดงศลิ ปะพนื้ บ้านปนั จักสลี ัตของชมรมเยาวชนจังหวดั ปตั ตานี ตาบล ปยุ ดุ อาเภอเมืองปตั ตานี จังหวดั ปตั ตานี พรอ้ มใหก้ าลงั ใจกับชมรมเยาวชน ในการนี้นายอนุศาสน์ สุวรรณมงคล สมาชิกวุฒิสภา ในพ้ืนท่ีจังหวัดปัตตานี ได้กล่าวช่ืนชม ชมรมเยาวชน และประชาชนในพืน้ ท่ีที่ร่วมกันสืบสานวฒั นธรรมท้องถน่ิ ให้คงอยู่กับสังคม และพร้อมให้ การสนบั สนนุ กจิ กรรมที่ดแี ละสร้างสรรค์ตอ่ สังคม

๗ ๔. วนั อาทิตย์ที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ นางสาวดาวน้อย สุทธินิ ภาพันธ์ สมาชิกวุฒิ สภา อนุกรรรมการและเลขานุการ คณะอนุกรรมการมีส่วนร่วมของเยาวชน บันทึกเทปสัมภาษณ์เยาวชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน ภาคใต้เพ่อื รบั ฟังความคิดเห็นของเยาวชน และนาไปเผยแพรใ่ นชอ่ งทางต่าง ๆ เพอ่ื สังคมได้จะรบั ทราบ มุมมองความคิดของเยาวชน ในประเด็นการปฏิรปู ประเทศ และภาพอนาคตของประเทศไทยท่ีเยาวชน ตอ้ งการใหเ้ กดิ ขนึ้ รวมถงึ เร่อื งทีเ่ กี่ยวขอ้ งกับเยาวชนและการพัฒนาทอ้ งถิน่ การสร้างความร้คู วามเขา้ ใจ ในการอยูร่ ่วมกันในสงั คมอยา่ งสงบสขุ โดยมเี ยาวชนรว่ มแสดงความคิดเห็น และสรุปสาระสาคัญได้ดงั น้ี ๑. นายประดิษฐ์ หลาเล๊ะ ได้แสดงความคิดเห็นว่า สิ่งสาคัญท่ีจะทาให้ประเทศขับเคล่ือนไป ข้างหน้าได้คือความรักและความสามัคคีของคนในชาติ ในสังคมอาจมีมุมมองความคิดท่ีแตกต่างกันได้ แตจ่ ะตอ้ งไม่แตกแยกกัน และสถาบันการศึกษาเป็นจุดเร่ิมต้นและพ้ืนที่สาคญั ที่จะเปิดโอกาสให้เยาวชน ได้แสดงความคิดเห็นและลงมือทา ผ่านการเรียน โครงการ และกิจกรรม โดยมีคณาจารย์ ผู้มีความรู้ใน ทอ้ งถิ่น ให้การสนบั สนนุ พรอ้ มแลกเปลี่ยนขอ้ มูลกันเพอ่ื หาจดุ รว่ มในการพฒั นาประเทศ ๒. นายมูฮัมหมัดซอบีรนี มะเซ ได้แสดงความคดิ เห็นเกย่ี วกบั เรอ่ื งระบบการศกึ ษา เนือ่ งจากใน พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ยังมีเยาวชนที่ยังไม่เข้าถึงระบบการศึกษาอยู่จานวนมาก เนื่องจาก ปัญหาความยากจนจึงต้องออกจากระบบการศึกษาเพ่ือไปประกอบอาชีพเล้ยี งดูตัวเอง และเมอ่ื เยาวชน ไม่ได้รับการศึกษาจะเป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสังคมอื่น ๆ ตามมา จึงให้ความคิดเห็นว่าควรให้ปฏิรูป ระบบการศึกษาด้วยการกระจายทุนการศึกษาให้แต่ละพื้นที่อย่างทั่วถึง อีกท้ังได้แสดงความคิดเห็น ในเรื่องสาธารณสุข โดยกลา่ วว่าโรงพยาบาลปตั ตานีมีบุคลากรทางการแพทยไ์ มเ่ พียงพอต่อจานวนผู้ปว่ ย ทาให้เกิดความลา่ ช้าในการรักษา จึงมีความต้องการให้ปฏิรปู การสาธารณสุข ด้วยการเพ่ิมบคุ ลากรทาง การแพทยใ์ หท้ วั่ ถึงทุกพืน้ ท่ี ๓.มูฮาหมัด อุเมะ ได้กล่าวถึงการเอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรมท่ีมีอยู่ดั้งเดิมในพื้นท่ีสาม จงั หวัดชายแดนภาคใต้ คือการละเล่นปันจักสีลัต โดยรวมกลุ่มเยาวชนที่สนใจ ร่วมกันศึกษาข้อมูลและ ร้ือฟ้นื การละเลน่ ปนั จักสีลตั และเปดิ เป็นศูนย์เรียนรชู้ ุมชนเพ่ือรวมกลุ่มคนทุกช่วงวัยในทอ้ งถ่นิ ใหม้ ีพ้ืนที่ ในการทากิจกรรมที่สร้างสรรค์ และได้ตอ่ ยอดนาเอาศิลปะและวัฒนธรรมเหลา่ น้ันสร้างเป็นชิ้นงานเพื่อ อกจาหนา่ ย ก่อใหเ้ กิดรายไดใ้ ห้กับชุมชนและผคู้ นในทอ้ งถ่ิน ๔. อับดุลคอเดย์ พูลาได้กล่าวถึงโครงการตันหยงเปาว์ โมเดล (Tanyongpao Model) หัวข้อ ธนาคารขยะในชุมชุน โดยจุดเร่ิมต้นเกิดจากชมรมเยาวชนสานใจไทย สู่ใจใต้ ได้ยึดถือคาว่าเกิดมาต้อง ตอบแทนคุณแผ่นดิน เป็นหลักปฏิบัติในการดาเนินกิจกรรมของชมรม กิจกรรมหลักของชมรมคือ กิจกรรมจติ อาสาพหุวฒั นธรรมสร้างการอยูร่ ่วมกนั ในหลากหลายมติ ิ ซ่ึงจากการพจิ ารณาร่วมกนั แล้ว ได้ เลือกเข้าไปแก้ไขปัญหาและให้ความช่วยเหลือพื้นท่ีบ้านตันหยงเปาว์ อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี เนื่องจากในพื้นที่เป็นหมู่บ้านติดชายฝ่งั ทะเล เป็นทาเลที่ต้ังท่ดี ีในการท่องเท่ยี ว แต่ได้รบั ผลกระทบจาก น้าทะเลกัดเซาะชายฝ่ัง อีกท้ังยังมีปัญหาเกี่ยวกับขยะที่ถูกพัดพามากบั คลน่ื ลม ทั่วพนื้ ที่ของหมู่บ้านเต็ม

๘ ไปด้วยขยะ ทางชมรมเยาวชนสานใจไทย สใู่ จใต้ได้เขา้ ร่วมหารอื กับชุมชน และได้ร่วมกันจดั กิจกรรมจิต อาสา โดยมีเยาวชนกว่า ๓๐๐ คน ร่วมกันเก็บขยะและพัฒนาพ้ืนท่ีให้สะอาดเรียบร้อย หลังจากนั้น โรงเรียนบ้านตนั หยงเปาว์ได้เสนอวา่ โรงเรยี นมกี ารจดั การขยะท่ีดแี ลว้ หากตอ้ งการใหเ้ กิดเปน็ ระบบและ มนั่ คงมากข้ึนควรตอ้ งมีธนาคารขยะดังนั้นทางชมรม ชุมชน และโรงเรียน จึงร่วมกันจดั ทาธนาคารขยะ แล้วพฒั นาใหป้ ระสบความสาเร็จ เพอ่ื ใหช้ มุ ชนอืน่ ๆ ในจังหวดั ปตั ตานีนาไปเป็นแบบอยา่ ง ๕. อาดีลา ดอเลาะได้กล่าวถึงศักยภาพของเยาวชนในพ้ืนที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ แต่ บริบทสังคมปัจจุบัน ส่งผลให้เยาวชนยังไม่ได้แสดงความสามารถเท่าท่ีควร และได้แสดงความคิดเห็น เก่ียวกับการไม่เข้าถึงสถาบันการศึกษาของเยาวชน เนื่องจากปัญหาครอบครัว ปัญหาความยากจน ปัญหายาเสพติด รวมถึงปัญหาที่ตัวเยาวชนเอง โดยเสนอความคิดเห็นว่าสถาบันครอบครัวและ สถาบันการศึกษาควรทางานรว่ มกนั ถกถึงปัญหาทีเ่ กิดขน้ึ และจะทาอย่างไรในการช่วยเหลอื เยาวชนให้ อยู่ในระบบการศึกษา การให้ทุนการศึกษา การทาให้ห้องเรียนหรือสถาบันกันศึกษามีความน่าสนใจ และการปรบั เปล่ียมมุมมองของเยาวชนให้เห็นถึงความสาคัญของการศึกษา ซึง่ ส่ิงเหลา่ นี้จะสามารถทา ให้เยาวชนกลบั เข้ามาสรู่ ะบบการศกึ ษาเพมิ่ มากข้ึน