Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

3

Published by Nathakit Nut Eiamnuu, 2021-01-31 12:44:31

Description: 3

Search

Read the Text Version

ความรูห ลกั การนวัตกรรม และเทคโนโลยกี ารศกึ ษา ในศตวรรษที่21

ความรูเบ้อื งตน เก่ียวกบั เทคโนโลยกี ารศกึ ษา

เทคโนโลยคี ืออะไร? Techno มาจากภาษากรีกวา Technologia หมายถึง การกระทําอยา งมี ระบบ ภาษาละตนิ มาจากคําวา Texer หมายถงึ การสานหรือการสรา ง ดังนัน้ เทคโนโลยี จึงหมายความวา การนําความรู ความคดิ และวิธีการทางวทิ ยาศาสตรม าประยุกตใ นรูปของ การจัดระบบงานใชในงานสาขาตา ง ๆ อยา งมีระบบเพ่อื ใหบรรลตุ าม เปาหมายอยางมีประสทิ ธภิ าพโดยใชทรพั ยากรอยา งประหยดั

เทคโนโลยี การศกึ ษา เทคโนโลยีการศึกษา คือ การนาํ ความรู ความคดิ คือ กระบวนการใหส ง เสรมิ และวธิ กี ารทางวิทยาศาสตร ใหบ คุ คลเจริญ เติบโตและมี มาประยุกตใ นรปู ของการจดั ความเจรญิ งอกงามทางกาย ระบบงานใชใ นงานสาขา อารมณ สงั คม และ ตา ง ๆ อยา งมีระบบเพอื่ ให สติปญ ญาจน เปนสมาชิก บรรลุตามเปาหมายอยา งมี ของสังคมที่มี คุณธรรมสูง ประสทิ ธิภาพโดยใช ทรัพยากรอยางประหยัด เทคโนโลยีการศกึ ษา หมายถึง ศาสตรท ีว่ า ดว ยวธิ กี ารทางการศึกษา การ พฒั นา และการประยุกตว สั ดุ เครอื่ งมอื วิธีการ เพ่ือนํามาใชใ นสถานการณการ เรยี นการสอนไดอ ยา งเหมาะสม ท้ังนีเ้ พื่อประสิทธิภาพการเรยี นรูของคนใหด ี ยิ่งข้นึ

ความสัมพนั ธระหวางเทคโนโลยีและนวัตกรรม Technology Innovation INNOTECH นวตั กรรม คอื จดุ เรมิ่ ตน ของเทคโนโลยี เพราะนวัตกรรม หมายถึง สิ่งใหมๆ ทีต่ ั้งอยูใ นระหวางการศึกษา วิจัย ทย่ี งั ไมไ ดนําเขามาใชในระบบอยา งจรงิ จงั และ เทคโนโลยี คือ เคร่ืองมือ วสั ดุตาง ๆ ทน่ี าํ มาพัฒนางานใหม ปี ระสทิ ธิภาพ

ขอบขา ยของ การออกแบบ(Design) เทคโนโลยีการศึกษา คือ กระบวนการในการกาํ หนดสภาพของการ เรียนรู้ การประเมนิ (Evaluation) การพัฒนา(Development) กระบวนการหาข้อมูลเพ่ือกาํ หนดความเหมาะสมของ เป็ นกระบวนการของการเปลยี่ นการออกแบบ การเรียนการสอน การใช (Utilization) เป็ นการใช้กระบวนการ และแหล่งทรัพยากรเพื่อ การเรียนการสอน การจดั การ(Management) เป็ นการควบคุมกระบวนการทางเทคโนโลยี การศึกษา ตลอดจนการวางแผน การจัดการ การ ประสานงาน และการให้คาํ แนะนํา

ขอบขา ยของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา 12 3 Design Development Utilization - การออกแบบระบบการสอน(instructional systems - เทคโนโลยสี ิง่ พมิ พ(print technologies) - การใชส ่อื (media utilization) design) - เทคโนโลยีโสตทศั นปู กรณ(audiovisual technologies) - การแพรกระจายนวตั กรรม(diffusion of innovation) - ออกแบบสาร(message design) - เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร(computer – based technologies) - วธิ ีการนําไปใช และการจัดการ (implementation - กลยทุ ธก ารสอน(instructional strategies) - เทคโนโลยบี ูรณการ (integrated technologies) and institutionalization) - ลกั ษณะผูเรียน(learner characteristics) - นโยบาย หลกั การและกฎระเบียบขอ บงั คับ (policies 5 and regulations) 4 Management Evaluation - การจัดการโครงการ (project management) - การวเิ คราะหปญ หา (problem analysis) - การจัดการแหลง ทรัพยากร (resource management) - เกณฑการประเมิน (criterion – reference measurement) - การจัดการระบบสงถา ย (delivery system management) - การประเมินความกาวหนา (formative evaluation) - การจดั การสารสนเทศ (information management) - การประเมนิ ผลสรุป (summative evaluation)

ประเภทของเทคโนโลยีทางการศึกษา 1. วัสดอุ ุปกรณ (Hardware) เชน ชอลค ดนิ สอ กระดาษ ฟลม ภาพยนตร วิดิทศั น สไลด เคร่ืองฉาย ขามศรษี ะ คอมพวิ เตอร เครอ่ื ง บนั ทกึ เสยี ง 2. นวัตกรรมท่ีเปน เครื่องมือ เชน ชดุ ฝก อบรมดวยตนเอง 3. นวัตกรรมและเทคโนโลยที ีเ่ ปน วิธกี าร เชน การสอนแบบ ตา ง แบบเรยี นสําเรจ็ รูป RIT

สาํ หรบั ผูเ รียน สาํ หรบั ผสู อน ประโยชนข องเทคโนโลยี ทางการศกึ ษา 1. ทาํ ใหผูเ รยี นมีโอกาสใชความสามารถของ 1. ทําใหป ระสิทธิภาพของการสอนสูงข้นึ ตนเอง ในการเรียนรอู ยางเต็มท่ี 2. ผสู อนสามารถจัดกจิ กรรมไดห ลากหลาย 2. ผูเรยี นมโี อกาสตดั สินใจเลอื กเรียนตาม 3. ทําใหผ ูส อนมเี วลามากขนึ้ จงึ ใชเ วลาทเ่ี หลือ ชองทางทเ่ี หมาะกบั ความสามารถ ในการเตรยี มการสอนไดเ ต็มที่ 3. ทําใหกระบวนการเรียนรูงา ยขึน้ 4. ทําใหกระบวนการสอนงายข้ึน 4. ผเู รยี นมอี ิสระในการเลือก 5. ลดเวลาในการสอนนอยลง 5. ผูเรียนสามารถเรยี นรใู นทกุ เวลา ทกุ 6. สามารถเพิ่มเนอ้ื หาและจุดมงุ หมายในการ สถานที่ สอนมากข้ึน 6. ทาํ ใหการเรียนมปี ระสิทธิภาพมากข้ึน 7. ผสู อนลดเวลาสอนในชน้ั เรยี นเพราะบทบาท 7. ผเู รยี นสามารถเรียนรไู ดมากกวา เดิมใน สวนหน่ึงผเู รยี นทาํ เอง เวลาเทากัน 8. ผสู อนสามารถแกปญหาความไมถนัดของ 8. ทําใหผ ูเรยี นสามารถเรยี นรไู ดทั้งในแนว ตนเองได กวา งและแนวลึก 9. ผสู อนสามารถสอนผเู รยี นไดเ น้อื หาที่กวาง 9. ชวยใหผ เู รียนรจู กั เสาะหาแหลงการเรยี นรู และลึกซึง้ กวาเดิม 10. ฝกใหผ เู รียน คิดเปน และสามารถ 10. งา ยในการประเมิน เพราะการใชเ ทคโนโลยี แกป ญ หาดวยตนเองได มุงใหผูเรียนประเมินตนเองดว ย

นวตั กรรมการศกึ ษา

นวตั กรรม คอื อะไร? มาจากภาษาอังกฤษวา Innovation มาจากคํากริยาวา innovate แปลวา ทาํ ใหม เปล่ียนแปลงใหเ กิดสงิ่ ใหม

นวตั กรรมการศกึ ษา “นวัตกรรมการศกึ ษา (Educational Innovation ) หมายถึง... นวัตกรรมทจ่ี ะชวยใหก ารศกึ ษา และการเรยี นการสอนมปี ระสิทธิภาพดี ยง่ิ ข้ึน ผูเ รยี นสามารถเกดิ การเรยี นรอู ยา งรวดเรว็ มปี ระสิทธผิ ลสูง กวาเดิม เกดิ แรงจงู ใจในการเรยี นดว ยนวัตกรรมการศึกษา และ ประหยัดเวลาในการเรยี นไดอ ีกดว ย”

ประเภทของนวัตกรรมการศกึ ษา 1. นวัตกรรมทางดา นหลักสตู ร 2. นวตั กรรมการจดั การเรยี นรู 3. นวัตกรรมสอ่ื การสอน 4. นวตั กรรมการประเมินผล 5. นวตั กรรมการบรหิ ารจดั การ

การพิจารณานวตั กรรม เกณฑการพจิ ารณาวาสิ่งใดเปน นวัตกรรม 4 ประการ คือ นวัตกรรมจะตอ งเปนสง่ิ ใหมท้ังหมด 1 หรอื บางสวนอาจเปนของเกาใชไมไ ดผลในอดีต แตนํามา ปรับปรุงใหม หรอื เปนของปจ จุบันท่ีเรานาํ มาปรับปรงุ ใหด ีขน้ึ 2 มีการนําวธิ ีการจดั ระบบมาใช้ โดยพิจารณาองคประกอบทง้ั สว นขอ มูลทนี่ ําเขา ไปในกระบวนการและผลลัพธ โดยกําหนดขั้นตอนการดาํ เนนิ การใหเ หมาะสมกอ นทจี่ ะทาํ การเปลย่ี นแปลง มกี ารพิสูจนด วยการวจิ ยั 3 หรอื อยูร ะหวางการวจิ ัยวา\"สิ่งใหม\" น้ันจะชว ยแกปญหาและการดําเนินงาน บางอยางไดอ ยา งมีประสิทธิภาพสูงข้นึ กวาเดมิ 4 ยงั ไมเปนสว นหน่ึงของระบบงานในปจ จบุ นั หาก \"ส่งิ ใหม\" นน้ั ไดร บั การเผยแพรแ ละยอมรบั จนกลายเปน สวนหนงึ่ ของระบบงานทด่ี าํ เนินอยใู นขณะนัน้ ไมถอื วา ส่ิงใหมนั้นเปน นวัตกรรมแตจะเปลีย่ นสภาพเปน เทคโนโลยอี ยา งเตม็ ที่

ลกั ษณะของนวัตกรรม ทางการศกึ ษา

ลกั ษณะของนวตั กรรมทางการศึกษา (1) เปนแนวความคิดทไ่ี มยังไมม ีการนํามาปฏิบตั ใิ นวงการศกึ ษา (3) เปน แนวความคิดหรือแนวทางปฏบิ ัตซิ ่ึงมมี าแตเ ดมิ และไดร บั การ และอาจเปน สง่ิ ใหมบ างสวนหรอื เปนส่ิงใหมท งั้ หมดซงึ่ ใชไดไม ปรบั ปรงุ ใหมีลกั ษณะทันสมัยและไดร ับการพิสูจนป ระสิทธภิ าพดว ยวิธี ไดผลในอดีตซึ่งไดร ับการปรบั ปรุงแกไ ขใหดขี นึ้ เชน การนาํ ทางวิทยาศาสตรห รืออยูระหวางการวิจัย คอมพวิ เตอรม าใชในการจดั การเรยี นรู (2) เปน แนวความคิดหรือแนวทางปฏบิ ัติใน (4) เปน แนวความคดิ หรือแนวทางปฏิบัติท่ีสอดคลอ งกบั ลักษณะใหมซ ่ึงดัดแปลงจากแนวความคดิ หรอื การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม ซ่งึ เอือ้ อาํ นวยให แนวทางปฏิบัติเดิมท่ีปฏิบัติไมป ระสบความสําเร็จ เกิดความสําเรจ็ ยง่ิ ขึ้น เชน การศึกษาคน ควาดว ย ใหมคี วามสอดคลอ งกบั สภาพแวดลอมในปจ จบุ ันและ ตนเอง กอใหเ กิดความสาํ เร็จได และมกี ารจัดระบบขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งาน (5) เปน แนวความคิดหรือแนวทางปฏิบัติที่คน พบใหมอยา ง (System Approach) โดยการพิจารณาขอ มูล กระบวนการ และ แทจ ริงซึ่งยังไมไ ดท ําการเผยแพรหรอื ไดร บั การยอมรบั เปน ผลลพั ธ ใหเ หมาะสมกอนทาํ การเปลยี่ นแปลงนัน้ ๆ สว นหนง่ึ ของระบบงานในปจจบุ ัน

นวัตกรรมการเรยี นการสอนยุคปฏิรูป การศกึ ษากบั พัฒนาทักษะในศตวรรษท่ี 21



การปฏริ ปู การศึกษาในปจจบุ นั 1. ใหน กั เรยี นเรียนรจู ากการทาํ โครงการ (Project-based จดุ เปล่ียนสําคญั อยทู ี่ การปฏิรปู การเรียนรู (การเรียนการสอน) Learning) ซึ่งจะตองพัฒนาครใู หป รับการเรยี นเปล่ยี นการสอน 2. จัดการเรยี นการสอนตามความตองการ (On-demand) แบบ Teach Less, Learn More คือ.... 3. จดั การเรียนการสอนใหเหมาะกบั รายบคุ คล (Personalized) 4. จัดการเรียนการสอนแบบใหผเู รยี นทาํ งานรว มกัน (Collaborative) 5. นาํ หองเรยี นสชู มุ ชนโลก (Global Community) 6. นําผูเรียนใหเ รียนรผู า นเครอื ขา ย (Web-based) 7. มกี ารประเมนิ ผเู รียนเปน ระยะ : เพื่อปรบั ปรุงการเรยี นรู (Formal Evaluations) 8.ใหค วามสําคัญตอ การเรียนรเู พ่อื ชวี ิต (Learning for Life)

ทักษะแหง ศตวรรษที่ 21 ทักษะดา นการเรยี นรูและนวัตกรรม ทักษะดานสารสนเทศ • ความรเู กีย่ วกับโลก (Global Awareness) • ความรูเกี่ยวกบั การเงิน เศรษฐศาสตร ธรุ กจิ และการเปน ทักษะดา นชวี ิตและอาชีพ ทกั ษะของเด็กในศตวรรษที่ 21 ผูประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) • ความรดู านการเปน พลเมอื งที่ดี (Civic Literacy) • ความรูดา นสขุ ภาพ (Health Literacy) • ความรดู า นส่งิ แวดลอม (Environmental Literacy)









หองเรยี นกลับดา น Flipped Classroom “การเรยี นรทู ่ีดีกวา ไมไ ดม าจากการท่คี รคู น พบ วธิ ีการสอนท่ดี กี วา แตเกิดจากการท่ีครูไดใ ห โอกาสทด่ี ีกวาแกผเู รยี นรูใ หส ามารถสรางองคความรูไ ดดว ยตัวเอง” (Prof. Seymour Papert แหง Media Lab, Massachusetts Institute of Technology (MIT)) วงการศกึ ษาของไทยไดมีการคดิ คน เพ่อื พัฒนารปู แบบนวตั กรรมทางการเรยี นรแู ละรูปแบบการ สอน ตามหลกั สูตรเพ่ือกาวทนั กบั ความเปลย่ี นแปลงกับบรบิ ทเชงิ สงั คม กา วทนั ความเปล่ียนแปลงกบั โลกแหง ความกา วหนา ทางวทิ ยาศาสตรเ ทคโนโลยีท่ีเขา มามบี ทบาทตอ การจดั การศกึ ษาคอนขา งสูง ภายใตกระแสแหง การปฏริ ูปการศกึ ษาไทยในปจจบุ ันทมี่ งุ พัฒนาการศกึ ษาใหบ รรลุผลตาม เจตนารมณข องการจัดการศกึ ษา โดยรวม เปนไปตามปรัชญาแนวคดิ ของการพัฒนาโดยมงุ เนน ท่ี ผูเ รยี นเปน สาํ คัญ (Learners Center) กา วสู การพฒั นาทยี่ ง่ั ยนื ตอ ไปในอนาคต “หอ งเรยี นกลับ ดา น” จึงกลายเปนนวัตกรรมและมุมมองหนึ่งท่ีเปน วธิ กี ารใชห องเรยี นใหเกิดคุณคาแกเ ด็กโดยใชฝ ก ประยกุ ตความรูในสถานการณต า งๆเพอ่ื ใหเ กิดการเรียนรูแบบ “รูจรงิ (Mastery Learning)” ดว ย แนวคิด “เรยี นท่บี าน ท าการบา นทีโ่ รงเรียน” กลาวคอื การจดั การเรยี น การสอนแบบหอ งเรียนกลับ ทางนนั้ จะมงุ เนน การสรา งสรรคองคความรูดวยตัวผเู รยี นเองตามทักษะ ความรู ความสามารถและ สติปญญาของเอกัตบคุ คล (Individualized Competency) ตามอัตราความสามารถ ทางการเรียน แตล ะคนจากมวลประสบการณท ี่ครจู ดั ใหผ านส่อื เทคโนโลยIี CT หลากหลายนอกชัน้ เรยี น อยา งอิสระทง้ั ดานความคิดและวิธีปฏิบัติ







แนวโนม ของสอ่ื และเทคโนโลยี การศกึ ษาในอนาคต “ เทคโนโลยใี นปจ จบุ ันมีววิ ัฒนาการเปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว ทาํ ใหมวี สั ดุ อุปกรณ และเทคนิควิธีการใหมๆ เพอื่ นํามาใชป ระโยชนอยา งไมมี ขีดจํากัดในทุกวงการ เชนเดียวกบั วงการศกึ ษาทีน่ ําเทคโนโลยเี หลานมี้ าใช เพื่อเพ่ิมประสทิ ธภิ าพการเรยี นการสอนและการบริหารจดั การ รวมถึงใชใน การกาํ หนดแนวโนมของการใชเทคโนโลยเี พอ่ื ความเปล่ยี นแปลงในอนาคต วา ควรมีการปรบั ปรงุ เปล่ยี นแปลงอยา งไรบางเพ่ือใหม กี ารใชเทคโนโลยี อยางไดผ ล ”

แนวโนม ของส่ือและเทคโนโลยีการศึกษาในอนาคต นกั เทคโนโลยีการศึกษาควรทราบถึงพฒั นาการของเทคโนโลยีและแนวโนม ในอนาคตในการเรียนการสอน ดงั น้ี • พัฒนาการของเทคโนโลยีและการเรยี นการสอน • การบรรจบกันของเทคโนโลยีและสือ่ การสอน • ศกั ยภาพของการส่อื สารในสถาบนั การศกึ ษา • พฒั นาการของอีเลริ นน่ิง : Learning Object • Grid Computing • ความเปนจริงเสมอื นและสภาพแวดลอมเชงิ เสมอื น • การรูจําคาํ พดู และการส่ือสาร • บทสรุป : วงการศึกษาและความเปลยี่ นแปลงในอนาคต • คอมพิวเตอร : อุปกรณห ลักในการเรียนการสอน • ไอซที ีและการบูรณาการการเรยี นการสอน • การเรียนในสภาพแวดลอมการเรยี นรเู ชงิ เสมอื น • การเปล่ียนบทบาทของผสู อนและผูเรยี น • สถานศกึ ษาอิเลก็ ทรอนิกส

THANK YOU

แหลงอา งองิ 1.https://www.moe.go.th/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%A2% E0%B8%B5%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2 2. https://dlit.phayao2.go.th/bthkhwam/khwamsamphanthrahwangnwatkrrmlaeathekhnoloyithangkarsuksa 3. http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/new-gen/262/ 4. http://kubsap.blogspot.com/2013/11/blog-post_2.html 5. https://www.gotoknow.org/posts/103620 6. https://elearning.spm38.go.th/course/view.php?id=14&lang=en 7. https://innovationforkm.weebly.com/362636363656359136513604364836113655360936093623363336053585361936193617.html 8. https://sites.google.com/site/fpheaathukh87ngi/3 9. http://arit.mcru.ac.th/km56/admin/download/10KM_1.pdf 10. http://www.peerapanasupon.com/?p=1062

วชิ า การสรางสื่อและนวตั กรรมทางการศกึ ษา เสนอ อ.สจุ ิตตรา จนั ทรลอย จัดทาํ โดย นายณัฏฐก ติ ติ์ เอยี่ มหนู ป3 หมู2 รหสั นกั ศกึ ษา 61412031 สาขาภาษาองั กฤษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook