Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebook ภาวะฉุกเฉิน 14.8.65

Ebook ภาวะฉุกเฉิน 14.8.65

Published by jiraporn burandech, 2022-08-14 09:34:12

Description: Ebook ภาวะฉุกเฉิน 14.8.65

Search

Read the Text Version

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี พะเยา ฉกุ เฉนิ ทางสตู ศิ าสตร์ไม่ใช่ เร่อื งยากสำหรบั คุณ จัดทำโดย นกั ศกึ ษาพยาบาลศาสตรช์ ั้นปที ี่ 4 กลมุ่ A5

แบบทดสอบก่อนเข้าอ่าน EBOOK

เนื้อหา 1. มดลูกแตก (Rupture of the uterus) 2. มดลกู ปล้นิ (Uterine inversion) 3. ภาวะสายสะดอื ย้อย (prolapsed of umbilical cord) 4. ภาวะรกคา้ ง (retained placenta) 5. Vasa previa 6. Fetal distress 7. ภาวะคลอดเฉยี บพลัน (precipitate labor) 8. ภาวะถงุ นา้ คร่าอดุ ก้นั หลอดเลอื ดในปอด (amniotic fluid embolism)

มดลกู แตก (Rupture of the uterus) “การฉกี ขาด ทะลุ หรอื มรี อยปรแิ ยกของกล้ามเนอื้ มดลกู ” สาเหตุ 1. ได้รับการผา่ ตดั บริเวณกลา้ มเนอ้ื มดลูกมาก่อน 2. มดลกู เคยไดร้ ับบาดเจ็บมาก่อน - การขูดมดลูก - ประสบอบุ ัติเหตตุ า่ งๆ อาการ 1.Tetaniccontractio,hypertoni uterine contraction 2. ปวดท้องรุนแรง กระสับกระส่าย แนน่ หน้าอก 3. พบ band's ring 4. ฟงั เสียงหวั ใจทารกได้ช้าหรอื ไม่ได้ PV 5. การคลอดไม่ก้าวหนา้ พบ caput succedaneum

มดลกู แตก (Rupture of the uterus) การป้องกันการเกิดภาวะมดลูกแตก 1. ประเมินคน้ หาปจั จัยเส่ยี งทีท่ ำใหเ้ กดิ มดลกู แตก 2. Case c/s ANC สม่าเสมอ มาตามนดั แพทย์ 3. Elective cesarean section สังเกตอาการมดลูกหดรัดตัว 4. ไม่ควรมีบุตรเกิน 4 คน เม่ือมีบตุ รเพยี งพอแล้วควรทำหมนั 5. วินิจฉัยทา่ ทารกที่ผดิ ปกติ และ CPD 6. ระมัดระวงั การเกิดอุบัติเหตุ โดยเฉพาะบริเวณหนา้ ท้อง 7. ตดิ ตาม progress of labor หากพบ CPD รายงานแพทย์ 8. เตรยี ม c/s หากไดร้ บั ยากระตนุ้ การหดรัดตวั มดลกู ใหด้ แู ลอยา่ ง ใกลช้ ดิ 9. สงั เกตอาการเตอื น หากพบรายงานแพทย์ เตรยี ม c/s 10. ในระยะคลอดแพทยจ์ ะเลอื กทำหัตถการทจ่ี ำเป็นและมีข้อบ่งช้ีเทา่ น้ัน

มดลกู แตก (Rupture of the uterus) การพยาบาลเมอื่ มดลูกแตก 1. หากชอ็ ค ให้ iv หรือใหเ้ ลือดชดเชยอย่างเพียงพอ 2. V/s ทกุ 5-10 นาที 3. ใหอ้ อกซเิ จน 100% 4. ประเมนิ และบันทกึ อาการเสียเลอื ด ปริมาณเลือดทอ่ี อกทางชอ่ งคลอด 5. เตรยี มรา่ งกายและจิตใจใหพ้ รอ้ มต่อการ c/s 6. รายงานกมุ ารแพทย์เพือ่ เตรียมความพร้อมในการฟืน้ คืนชพี ทารก 7. ปอ้ งกนั ภาวะแทรกซอ้ นหลงั จากเกดิ มดลูกแตก peritonitis, PPH 8. ดูแลประคับประคองด้านจิตใจของมารดาและครอบครัว การพยาบาลเมอื่ มดลกู แตกแล้ว 1. มดลกู คลายตัว เจบ็ ครรภ์หาย รู้สกึ มีอะไรแยก 2. มีอาการแสดงภาวะ shock พบได้ 2 กรณี คือ bleeding per vagina, internal bleeding 3. เลือดท่เี ข้าชอ่ งทอ้ งจะดันกระบงั ลมทำให้หายใจลำบาก ปวดรา้ วไปไหลแ่ ละสะบัก 4. Rebound tenderness ปวดทอ้ งรนุ แรง และ peritoneal irritation 5. แตกแบบ complete uterine rupture คลำตัวเด็กผ่านผนังหน้าท้องได้ง่าย ชดั เจน 6. FHS ชา้ ลงหรือฟงั ไม่ได้ 7. PV พบสว่ นนำทารกลอยสงู ข้นึ คลำสว่ นนำไมไ่ ด้ 8. สวนปัสสาวะอาจพบเลือด หากมกี ารฉกี ขาดของกระเพาะปัสสาวะ

มดลกู ปลน้ิ (Uterine inversion) “ผนังยอดมดลกู พลิกจากด้านนอกหรอื โผลอ่ อกมาใหเ้ หน็ ภายนอกช่องคลอด ” สาเหตุ 1.การกระทำตอ่ มดลูก คือ กดบริเวณยอดมดลูกเพ่ือทำ คลอดรกขณะมดลูกคลายตวั และการดงึ สายสะดือ 2.เกิดขึ้นเอง คือ การหย่อนตัวของผนังมดลูก สาย สะดอื สั้น precipitate labor อาการ 1. ตกเลือด 5.Complete uterine inversion เห็นด้าน 2. คลำยอดมดลูกไมไ่ ด้ ในของมดลลูกที่มีสแี ดงทางช่องคลอด 3. ปวดภายในช่องทอ้ งรุนแรง 6. อาการแสดงภาวะ shock จากระบบ 4. หน้าทอ้ งเปน็ แอง่ เวา้ ประสาท

มดลกู ปลน้ิ (Uterine inversion) การพยาบาลเม่อื มดลกู ปล้นิ หลังมดลกู ปล้นิ และรอการแกไ้ ข 1.ประเมนิ shock และแก้ไข 2.ใช้ก็อซปราศจากเชือ้ ชบุ น้าเกลือคลุมมดลกู ส่วนทีป่ ล้ินออกมา 3.ปรับหวั เตียงสงู 50 องศา ลดการดงึ ร้งั broad ligament 4.ดแู ลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา ยาลดการปวด 5.งดให้ยาบีบรัดมดลกู 6.จดั ท่า lithotomy ชว่ ยแพทย์ดนั มดลูกกลบั เขา้ ท่ี หลงั ดนั มดลูกกลับเขา้ ทแ่ี ลว้ 1. V/s ทุก 15 นาทีใน 2 ชวั่ โมงแรก จนคงที่ 2. ประเมนิ hf การแขง็ ตัวมดลกู คลงึ มดลกู เป็นระยะ 3. ประเมินปริมาณ ลกั ษาณะเลือดท่อี อกทางช่องคลอด 4. ประเมณิ กระเพาะปสั สาวะ 5. บันทกึ i/o 6. ดูแลให้ไดร้ บั ยาตามแผนการรกั ษา 7. ในรายทีเ่ สียเลือดให้เลอื ดชดเชย 8. ดูแลด้านจติ ใจ

ภาวะสายสะดอื ยอ้ ย (prolapsed of umbilical cord) “สายสะดือลงมาอยู่ข้างๆ ส่วนนำทารก หรือต่ากว่าส่วนนำทารก หรือ โผลอ่ อกมานอกชอ่ งคลอด สายสะดือถูกกดระหวา่ งปากมดลกู กับส่วนนำ” ชนิดสายสะดอื ย้อย Occult prolapsed สายสะดือเคล่ือนต่ากว่าปกติ บริเวณท่ีกว้างท่ีสุด cord ของมดลูก (lower uterine segment) สาย สะดือถูกกดกับช่องคลอดเมื่อศีรษะทารกเคล่ือนต่า สายสะดือย้อยลงมาต่ากว่าส่วนนำ หรือมดลูกหดรัดตัว ถุงน้าคร่าไม่แตกก็ได้ ไม่ ทารก ถุงน้าคร่าไม่แตก อาจคลำ สามารถคลำพบจากการตรวจทางช่องคลอด วินิจฉัย พบการเตน้ ของเส้นเลือดแดงบน ยาก ตรวจพบจากท่ีทารกขาดออกซิเจนจาก FHS สายสะดือไดผ้ า่ นปากมดลูก เตน้ ผดิ ปกติหรอื ไมส่ มา่ เสมอ fore-lying cord Overt prolapsed สายสะดอื ยอ้ ยผา่ นปากมดลูกออกมาทาง cord ช่องคลอด หรือโผล่พ้นปากช่องคลอด ออกมา ถุงน้าคร่าแตกแล้ว ตรวจพบ จากการตรวจทางช่องคลอด

ภาวะสายสะดอื ยอ้ ย (prolapsed of umbilical cord) สาเหตุ 6.ผิดสัดสว่ นระหวา่ งเชิงกรานของผู้คลอดและ 1.ท่าทีผ่ ดิ ปกติ ส่วนนำทารก 2.ทารกมขี นาดเลก็ 7.ทารกรปู รา่ งผิดปกติ 3.ครรภ์แฝด 8.รกเกาะต่า 4.ครรภ์แฝดนา้ 9.สายสะดอื ยาวกวา่ ปกติ 5.ถุงน้าครา่ แตกเองหรือถกู เจาะก่อน 10.ครรภห์ ลัง ท่ีส่วนนำทารกจะเขา้ ส่เู ชิงกราน 11.การทำสตู ศิ าสตร์หัตถการ อาการ ทารกมีอัตราการเต้นหัวใจช้าลง พบ variable deceleration ในขณะมดลูกหดรัด ตัว หรือภายหลังการเจาะถงุ นา้ ครา่ หรือถงุ น้าครา่ แตกพบมสี ายสะดอื โผลอ่ อกชอ่ งคลอด

ภาวะสายสะดอื ยอ้ ย (prolapsed of umbilical cord) ภาวะแทรกซ้อนมารดา เกิดการฉีกขาดช่องทางคลอด มดลูกหดรัดตัวไม่ดี เนื่องจากดมยาสลบ นำไปสกู่ ารตกเลือดและการตดิ เช้ือ ภาวะแทรกซ้อนทารก อาจขาดออกซิเจนได้บ่อยจากการหดรัดตัวของมดลูก ส่วนนำกดทับสายสะดือกับเชิงกราน ต้องได้รับการ ชว่ ยเหลอื เร่งด่วน สำลักน้าคร่า สมองขาดออกซิเจน อาจ เสยี ชวี ติ หากขาดออกซเิ จนนาน 5 นาที การปอ้ งกัน 1. มาโรงพยาบาลทนั ทีทนี่ า้ คร่าแตก สังเกตอาการดน้ิ ของทารก 2. ฟงั FHS ทนั ทีท่ีถุงนา้ ครา่ แตก 3. PV เพอื่ ประเมินการพลดั ตา่ ของสายสะดือ 4. ภายหลังถุงนา้ ครา่ แตกให้นอนพักบนเตยี ง ประเมนิ UC, FHS 5. ชว่ ยแพทยใ์ นการทำ ARM และฟัง FHS หลงั การทำ ARM

ภาวะสายสะดอื ยอ้ ย (prolapsed of umbilical cord) การพยาบาล 1. เรียกทมี ชว่ ยเหลือทันทเี มือ่ พบ prolapsed cord 2. กรณีให้ oxytocin ให้หยุดยาก่อน 3. จัดท่าป้องกันส่วนนำทารกกดทับสายสะดือ คือ Trendelenburg's position, elevate sim's position, knee chest position 4. PV ดันส่วนนำทารกไม่ให้กดต่าขณะมดลูกคลายตัว 5. ใหอ้ อกซเิ จน mask with bag 8-10 lpm 6. ประเมิณและบนั ทึก FHS ตอ่ เนื่องทกุ 5 นาที ติด EFM 7. หากสายสะดือย้อยออกนอกช่องคลอดใช้ผ้าชุบน้าอุ่นคลุมและห้ามใช้มือดันกลับ เพราะจะทำให umbilical artery spasm ลดการไหลเวยี นเลือดไปสู่ทารกและรกได้ 8. รายงานแพทย์ตามหลัก sbar 9. ให้ไดร้ ับยา tocolytic ตามแผนการรักษา 10. เตรยี มอปุ กรณส์ ตู ิศาสตรห์ ัตถการช่วยคลอด 11. เตรยี มอุปกรณ์ชว่ ยฟ้ืนคนื ชีพทารก และรายงานกุมารแพทย์

ภาวะรกคา้ ง (retained placenta) “รกไม่คลอดภายใน 30 นาทหี ลังทารกคลอด รกท่ีค้างในโพรงมดลกู จะทำ ให้ตกเลือดหลงั คลอดได้ กรณรี กคา้ งให้ระวงั อาจมีภาวะรกติดแน่นรว่ มด้วย” สาเหตุ 1.รกลอกตวั ไม่สมบรู ณจ์ ากมดลูกหดรดั ตวั ไมด่ ี 2.ขาดกลไกขบั ดันรกให้ลอกตัวออกมาภายนอก 3.การฝงั ตวั ของรกผดิ ปกติ 4.รกผดิ ปกติ อาการ 1.หลังทารกคลอด 15-30 นาที ไม่มี signs ของรก ลอกตัวหรือมีเลก็ นอ้ ย2.หลงั รกคลอดมดลูกหดรดั ตวั ไม่ดี 3.หลังรกคลอดมเี ลอื ดออกทางช่องคลอดจำนวนมาก 4.ตรวจรกพบบางส่วนเนื้อรกหรือ membranesขาด หายไป 5.มารดามีอาการ shock อนั ตรายจากรกค้าง 1.ตกเลือดหลงั คลอด 2.Shock จากการลว้ งรกหรือเสยี เลอื ด 3.ตดิ เชือ้ อักเสบของมดลกู เสน้ เลอื ดอุดตนั 4.หลอดเลอื ดดำอกั เสบของหลอดเลือดขา้ งมดลกู

ภาวะรกคา้ ง (retained placenta) การพยาบาล 1. บนั ทกึ ลกั ษณะและจำนวนเลือดท่ีออกทางชอ่ งคลอด 2. V/s ทกุ 15 นาที สังเกตอาการทวั่ ไป 3. สวนปัสสาวะ ถา้ มดลูกไม่แข็งตวั คลงึ เบาๆ 4. เม่อื มดลูกหดรัดตัวดที ำคลอดโดยวิธี controlled cord traction 5. ถา้ รกไมล่ อกตัวรายงานแพทย์เตรยี มลว้ งรกและดแู ลใกลช้ ิด 6. หลังลว้ งรกให้การพยาบาลเช่นเดยี วกับหลังผา่ ตัด 7. เตรยี มขดู มดลูกกรณรี กคา้ ง ถ้ารกติดแนน่ เตรยี มผ่าตัด 8. หลงั คลอดกระตุ้นการหดรดั ตวั ของมดลูก ไล่ก้อนเลอื ด ดแู ลการไดร้ บั ยา

Vasa previa “ภาวะท่หี ลอดเลอื ดของสายสะดือหรือของรกทอดอยู่บนเยือ่ หุ้มทารกและ ทอดผ่าบรเิ วณปากมดลกู ซงึ่ เป็นภาวะทเ่ี ส่ยี งต่อการฉีกขาด” อาการและอาการแสดง ระยะกอ่ นถุงน้าครา่ แตก 1. ตรวจภายใน เห็นหรือคลำ พบหลอดเลือดท่ีเต้น ในจังหวะเดียวกบั FHS 2. Angioscopy เห็นหลอดเลือดทอดอยู่บนเยื่อถุง น้าครา่ ชัดเจน 3. U/S อาจจะเห็นหลอดเลอื ดทอดอยู่ตา่ กว่าส่วนนำ 4. อาจตรวจพบ FHS มีการเปลี่ยนแปลง หรือจาก การตรวจ NST พบ Variable deceleration ระยะหลงั ถุงนา้ คร่าแตก 1. มเี ลอื ดปนออกมากบั นา้ ครำ่ 2. ทารกมภี าวะ Fetal distress

Vasa previa การรกั ษา 1.กอ่ น ARM ทุกครั้งต้องนึกถงึ ภาวะ Vasa previa เสมอ 2.ถา้ วินจิ ฉัยได้กอ่ นถงุ น้ำครำ่ แตกแพทยจ์ ะรักษาโดย C/S 3.ถา้ วินิจฉัยไดห้ ลังถงุ น้ำคร่ำแตกตอ้ งทำใหก้ ารตั้งครรภ์ส้นิ สดุ โดยเร็ว โดยไม่ตอ้ งรอผลการทดสอบเลือด ว่าเปน็ เลอื ดของทารกหรือไม่ 3.1 Forceps extraction 3.2 C/S 3.3 ใหค้ ลอดเองในรายทท่ี ารกตายแล้ว การพยาบาล 1. ให้ O2 mask with bag 10 ลิตร/นาที ตามแผนการรักษา 2. เตรยี มการชว่ ยคลอดหรือเตรียมผา่ ตดั ตามแผนการรักษาโดยเร็ว 3. เตรยี มการชว่ ยเหลอื ทารกเมื่อแรกเกดิ ทนั ทรี ายงานกุมารแพทย์ดว้ ย 4. เตรียมเลอื ดตามแผนการรกั ษา 5. อธิบายให้ผู้คลอดทราบว่ามีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นและอธิบายให้ เข้าใจดว้ ยว่าแพทย์พยาบาลกำลงั ให้การช่วยเหลืออย่างไรให้ความสำคัญ ในการสื่อสารกับผู้คลอดและครอบครัวเพอื่ ความเข้าใจท่ถี กู ต้องระหวา่ งกัน 6. อยู่เป็นเพื่อนผู้คลอด ให้กำลังใจรวมทั้งให้คำแนะนำในการปฏิบัติ ตนในระยะต่างๆของการคลอดและการรกั ษา

Fetal distress “ทารกทอ่ี ยู่ในภาวะอันตราย ซง่ึ หากไม่ได้รับการช่วยเหลอื ทนั เวลาอาจมอี นั ตรายถึงข้นั เสยี ชวี ติ ได้” อาการและอาการแสดง Abnormal FHR - Late deceleration pattern - Variable deceleration พบ FHR > 160 ครั้ง/นาที หรือ แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะตามความรุนแรง < 110 ครัง้ /นาที เพียงอย่างเดียว ได้ ดงั น้ี ไ ม ่ ไ ด ้ ห ม า ย ค ว า ม ว ่ า เ กิ ด fetal - Mild meconium stained distress เสมอไป คอื นำ้ ครำ่ มสี เี หลือง - Moderate meconium stained Meconium stained คอื นำ้ ครำ่ มีสเี ขยี วปนเหลือง of amniotic fluid - Thick meconium stained คือ น้ำครา่ มีสเี ขียวแขน้ มาก Hypoactivity - ทารกมการเคลื่อนไหวลดลง - มารดาจะสังเกตไดว้ ่าทารกด้นิ ลดลง

Fetal distress การพยาบาล 1. จัดใหน้ อนตะแคงซา้ ย 2. พบ FHS ผดิ ปกติหรือพบขีเ้ ทาในน้ำครำ่ - ดแู ลมารดาให้ไดร้ บั O2 mask with bag 10 ลิตร/นาที - PV เพ่ือประเมินภาวะ Prolapsed cord 3. ในรายท่ีได้รับยา Oxytocin ตอ้ งหยดุ ใหท้ นั ที 4 .ดูแลให้ไดร้ บั IV อย่างเพียงพอเพ่อื ลดภาวะกรดในเลือด 5. ฟัง FHS ทุก 5-10 นาที หรือ On external fetomonitoring เพ่ือประเม นิ รปู แบบของ FHR 6. เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสำหรับการช่วยคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ เช่น C/S, F/E หรอื V/E เป็นต้น 7 . ร า ย ง า น กุ ม า ร แ พ ท ย ์ เ พื่ อ เ ต รี ย ม ที ม ใ น ก า ร ท ำ extrauterine resuscitation 8. อธิบายและสร้างความเข้าใจ เปิดโอกาสให้ซักถาม พร้อมท้ังปลอบโยนและ ให้กำลงั ใจ สนับสนนุ ทางดา้ นจติ ใจท้งั ผู้คลอดและครอบครัว

ภาวะคลอดเฉยี บพลนั (Precipitate labor) “การคลอดที่เกดิ ขน้ึ เร็วผดิ ปกติ นบั ต้งั แต่การเจ็บครรภ์และคลอดทารก รวมเสรจ็ สนิ้ ภายใน 3 ช่ัวโมง” ซงึ่ - ครรภ์แรก ปากมดลกู เปิด 5 cm./hr. (1 cm. / 12 min) - ครรภห์ ลงั มากกวา่ 10 cm./hr. (1 cm. / 6 min) อาการและการแสดง - เจ็บครรภม์ าก มดลูกหดรดั ตัวรุนแรงและถมี่ ากกวา่ 5 ครั้ง ในเวลา 10 นาที - PV พบปากมดลกู เปดิ ขยายเรว็ - ครรภแ์ รกปากมดลูกเปิด 5 cm.หรือมากว่า 5 cm./hr. - ครรภห์ ลังปากมดลูกเปดิ 10 cm.หรอื มากว่า 10 cm./hr. การรักษา 1. ใหก้ ารดูแลตามอาการ ถา้ ประสบกบั การคลอดเฉยี บพลนั ใหช้ ่วยคลอด 2. การให้ยา - เจ็บครรภ์ถี่มาก หยุดให้ Oxytocin และอาจให้ยาช่วย ยับย้ังการหดรัด ตัวของมดลกู - ดแู ลการได้ ABO เพอื่ ปอ้ งกันการตดิ เช้ือ - ใหย้ า Methergine/oxytocin หลังคลอดเพือ่ ปอ้ งกัน PPH 3. การผา่ ตดั ในรายท่มี กี ารคลอดเฉียบพลันแต่การขยายของปากมดลูกไม่ดี ซึ่งอาจ เกิดภาวะแทรกซ้อนจาก ภาวะมดลูกแตก (uterine rupture) แพทย์จึงรีบ พิจารณา C/S

ภาวะคลอดเฉยี บพลนั (Precipitate labor) การพยาบาล 1. รบี ปอ้ งกันการฉีกขาด 2. กดศีรษะทารกลง รีบรับเดก็ 3. ฉกี ถุงน้ำให้แตก 4. จับทารกนอนศีรษะตำ่ ลว้ งนำ้ คร่ำเมือกออก 5. ป้องกนั การตกเลือดหลังคลอด

ภาวะถุงนา้ ครา่ อดุ กน้ั หลอดเลอื ดในปอด (Amniotic fluid embolism) “น้ำคร่ำซึ่งมีส่วนประกอบต่างๆ ได้แก่ น้ำ ไขมัน เส้นผม ขน และขี้เทา ของทารก หลุดเข้าในหลอด เลือดดำ ของมดลูก และผ่านเข้าไปในกระแส โลหติ ไปอุดตนั ปอด ทำใหเ้ กิดความล้มเหลวของระบบไหลเวียน โลหิต หัวใจ ระบบหายใจเปน็ เหตใุ ห้เสยี ชวี ิตได้” อาการและการแสดง 1. หายใจลำบาก หอบ เขียว 2. ปอดบวมน้ำ เสยี ง crepitation 3. ความดันโลหิตต่ำ , หวั ใจเตน้ เบาเร็ว 4. หมดสติ ตายใน 2-3 นาที 5. เลอื ดออกไมห่ ยุด 6. การแข็งตัวของเลอื ดผิดปกติ มีจุดเลือดออกเป็นจำ้ ๆ ตามผิวหนัง 7. ทารกในครรภข์ าดออกซเิ จน

ภาวะถงุ นา้ ครา่ อดุ กน้ั หลอดเลอื ดในปอด (Amniotic fluid embolism) การรักษา แบง่ ออกเปน็ 2 ระยะ ดังนี้ - ระยะที่ 1 ระยะช็อกมีความดันโลหิตต่า ระบบหัวใจ และหายใจ ล้มเหลว ซึง่ จะตอ้ งทำการ resuscitate หรือ CPR - ระยะที่ 2 ระยะหลังช็อก หลังทำ CPR จะเกิดภาวะ severe disseminated intravascular coagulation ตามมาและตกเลือดอย่าง รนุ แรง หลกั การรักษา 1. การป้องกนั 1.1 ควรระวังการให้ออกซิโตซิน 1.2 ควรระวงั การเจาะถงุ นำ้ 1.3 ไม่ควรใชน้ ้วิ เจาะแยกถงุ น้ำทูนหวั ออกจากปากมดลกู 1.4 การตรวจรกเกาะต่า ควรระวังอาจเกิดการแยก ของรกออก จากผนังมดลูกด้านรมิ เส้นเลอื ดดำทีข่ อบรกฉีกขาดได้ 2. การรกั ษา 2.1 ให้นอนศรี ษะสงู ใหอ้ อกซเิ จน 2.2 แก้ไขภาวะไฟบรโิ นเจนตำ่

ภาวะถุงนา้ ครา่ อดุ กน้ั หลอดเลอื ดในปอด (Amniotic fluid embolism) การพยาบาล 1. จดั ท่านอน Fowler position และให้ O2 2. ดูแลการไดร้ ับสารนำ้ และเลอื ดอ 3. รบี รายงานแพทย์เพอ่ื ให้การช่วยเหลอื อย่างเรง่ ดว่ น 4. ช่วยเหลือในการช่วยฟื้นคืนชีพ ในราย หัวใจล้มเหลว เช่น ใส่ ET ให้ ออกซเิ จน ให้ยาขยายหลอดลม 5. ดูแลให้รับเลือดตามแผนการรักษาเพ่ือประคับประคองการ ทำงานของหัวใจ และหลอดเลอื ดการใหเ้ ลือดควรเป็น Fresh blood เพื่อให้มีสารท่ีช่วยป้องกันการ แขง็ ตวั ของเลือด 6. คอยสังเกตอาการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิด ได้แก่ อาการเป็นลมหมดสติ ตัว เขยี ว หรอื เลอื ดออกไมห่ ยดุ 7. ดูแลป้องกันภาวะแทรกซอ้ นที่อาจเกดิ ข้ึนหลังคลอด เช่นให้ยากระตุ้นการหดรัด ตัวของมดลูกตามแผนการรกั ษาเพือ่ ป้องกนั การตกเลือด หลังคลอด 8 .สง่ ผู้คลอดไปดแู ลต่อท่ี ICU โดยเครอ่ื งชว่ ยหายใจใน 2-3 วัน แรก เพ่ือดูแล ระบบการหายใจและระบบไหลเวียน

แบบทดสอบหลงั เข้าอ่าน EBOOK

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook