Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore E-Book C4

E-Book C4

Published by jiraporn burandech, 2022-08-24 03:13:55

Description: E-Book C4

Search

Read the Text Version

เทคนิ คง่ายๆ กับกลไกการคลอด 8 กลไกที่เข้าใจง่าย บ้านของเอลลิส 123 ถนนไวกิกิ ตอบกลับไปยัง เอลเลียต สเตอร์ลิง โทร 081-234-5678

แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม รู้ ก่ อ น เ รีย น QR code

ศี กรกัษบารชะ่ปทองราัเรบชกิขงใอกหงร้ เาขน้า Engagement ส่ วนนำเคลื่อนเข้าสู่ อุ้งเชิ งกราน กขาอรงเศกีิรดษmะoทlาdรinกg การตะแคง องค์ประกอบในการเกิด engagement (asynclitism) ของ ศี รษะทารก ตรวจสอบการเกิดกลไก engagement สั งเกต วิธี วิธี การตรวจ ท้องลด Pawlik's Bilateral ทางช่อง Inguinal คลอด Grip (station 0) Grip ยืนยัน ส่ วนนำว่า ส่ วนนำ เข้าสู่ อุ้ง เป็ น เชิงกราน ศี รษะ หรือยัง หรือก้น

Descent ศี รษะทารกเคลื่อนตํ่าลงไปใน ช่องเชิงกราน แร(งhดpyัrนderจsoาssuกtrนae้tำ)iคcร่ำ มดแลรูpกงrดeั(sนfseทuีt่raยelอ) aดxis แรงเบ่งของ แรขงอโงนโ้ มลกถ่วง มารดา ตรวจสอบการเกิดกลไก Descent เป็ นกลไกที่ สังเกตได้จากท้องลด (Lightening) เกิดขึ้นทุกๆ ในระยะคลอด ระยะของการ ครรภ์แรก 2-4 สัปดาห์ก่อนคลอด คลอด ครรภ์หลัง 1-2 สัปดาห์ก่อนคลอด การฟั งเสียงหัวใจทารกจะพบว่า การตรวจทางช่องคลอด พบว่า ตำแหน่ งที่ฟั งเสียงหัวใจทารกจะ station เคลื่อนตํ่าลง หรืออาจเห็น ต่ำลงมาเรื่อย ๆ บริเวณ perineum ตุง

Flexion การก้มของศี รษะทารก(ก้มคางชิดอก) ทำให้ เส้ นผ่าศูนย์กลาง ของศี รษะเล็กที่สุด ส่ วนนำของทารกเปลี่ยน จาก OF เป็ น SOB องค์ประกอบที่มีส่วนช่วยให้เกิดการก้มของศี รษะ Fetal axis ลักษณะ แรงบีบจาก แรงต้านทาน pressure ของช่อง ผนั งทาง เชิงกราน เสี ยดสี ของ คลอด โดย หนทางคลอดที่ รอบศี รษะ ขวางการเคลื่อน ทารก ผ่านของทารก แรงผลักจากยอดมดลูกที่พุ่งตรงมาตาม ที่ช่วยให้ทารกก้มศี รษะ คือ เมื่อทารกอยู่ในท่า OA เคลื่อนผ่านลงไป แนวกระดูกสันหลังของทารก จนถึงข้อ ส่ วนเว้าทางด้ านหลังของช่ อง ช่องเชิงกราน แรงโน้ มถ่วงจากน้ำหนั กของ ต่อข้อแรกของกระดูกสั นหลัง เชิงกราน ศรีษะทารก ทำให้ก้มง่ายขึ้น ดันทารกให้เคลื่อนต่ำลงมา กดกับหนทางคลอด

Internal rotation เชิงรูกปรแาบนบหกมุานรตทาามรเกข็ใมนนช่าอฬิงกา การหมุนหัวเด็กในเชิงกรานด้วย แรงต้นจาก pelvic floor เชิรงูกปรแาบนบหกมุานรททวานรกเขใ็มนนช่าอฬงิ ก ทารกจะเกิดการหมุนภายใน เพื่อให้ sagitted sotuoe อยู่ในแนว anteroposterior diameter แต่ไหล่และหลังของเด็กยังคงอยู่ท่าเดิม ทารกที่อยู่ในท่า LOA ทารกก็จะเกิดการหมุนภายในทวนเข็มนาฬิ กามา 45 องศา เพื่อให้ sagittal suture อยู่ในแนว AP ทารกก็พร้อมจะออกมาให้พวกเราช่วยทำคลอดแล้ว ทารกที่อยู่ในท่า ROA ทารกก็จะเกิดการหมุนภายในตามเข็มนาฬิ กามา 45 องศา เพื่อให้ sagittal suture อยู่ในแนว AP ทารกก็พร้อมจะออกมาให้พวกเราช่วยทำคลอดแล้ว สแกนดูวิดีโอเกี่ยวกับกลไก internal rotation อ้างอิง https://youtu.be/YsVvbssLtNk

Extension การเงยของศี รษะทารกออกมานอกช่องคลอด อบในการเกิด Extension ช่องทาง คลอด องค์ประก ตัวทารก แรงผลักดัน กลไกการเกิด Extension เมื่อทารกเคลื่อนต่ำลงมาถึง subocciput มายันอยู่ใต้ symphysis pubis จะเกิดแรงสวนกับศี รษะทารก ทำให้จุดที่ เล็กที่สุดคลอดมาก่อน คือ SOB จากนั้ นส่วนหน้ าผาก(SOF) และคาง (SOM) จะค่อย ๆ คลอดผ่านช่องทางคลอดออกมา ตามลำดับ การเงยอีกชื่อคือ birth of Fetal head การที่ส่วนนำที่กว้างที่สุด biparietal diameter โผล่พ้นช่องคลอดออกมา

Restitution การหมุนกลับของศี รษะทารกภายนอกช่องทางคลอด การหมุนกลับจะทวนเข็มนาฬิ กา 45 องศาไปอยู่ในตำแหน่ งสมดุล กับหลัง หรือท่าเมื่อทารกผ่านเข้า มาในช่องเชิงกราน ในท่าทางรอยต่อแสกกลางอยู่ใน แนวเฉียงซ้ายของแม่ LOA ในท่าทางรอยต่อแสกกลางอยู่ใน แนวเฉียงขวาของแม่ ROA เมื่อมีการคลอดศี รษะออก มาทารกจะเกิดการหมุน กลับศี รษะซึ่งเรียกว่า Restitution เพื่อให้สัมพันธ์ กับส่ วนที่ อยู่ภายในช่ อง คลอดโดยมีรอยต่อแสก กลางตั้งฉากกับไหล่

External rotation การหมุนของส่ วนของทารกที่ เกิดภายนอกช่ องทางคลอด กทเปาา็รรนหกกมทีุล่นอคไขยลกู่อใอที่งนดเไกชิห่ดอลจง่ขทาอกางง external 4กจ5เาาตตักร้อรงหีงฉยRมศeมุาานsกกtภตกเiาั่tพาบรอืu่ยคอไไtนiปใลหoหออลn้่ดศกเีพตรไือ่่ีษหออกละ่ rotation มีผลมา จาก internal roที่tอaยtู่iภoาnยขใอนงช่สอ่ วงน ทางคลอด นำไปสู่กลไกของ Explusion ต่อไป

Expulsion การคลอดของไหล่ ตามด้วยตัวทารก และขา 1) ไหล่อยู่ในแนว 2) มดลูกหดรัดตัว —> ไหล่ antero-posterior หน้ าไปอยู่ใต้ symphysis pubis 3) มดลูกหดรัดตัว+ผู้คลอด 5) ไหล่คลอดครบ มีแรงเบ่ง—>ผลักดันให้ลำ ตามตัวลำตัวและขา ตัวทารกงอ 4) ไหล่หลังเคลื่อนผ่านพื้น เชิงกรานและฝี เย็บ ข้อควรระวัง “การทำคลอดไหล่” ไหล่หลัง ไหล่หน้ า Facial nerve Congenital Erb-duchenne palsy torticolis paralysis (คอเอียง) (มุมปากตก) (การอ่อนแรง แขนส่ วนบน) การดึงรั้งใต้คางทารก เกิด อันตรายต่อเส้ นประสาท การโน้ มไหล่หน้ าอย่างแรง การสอดนิ้ วเข้าใต้รักแร้ เกิดการฉีดขาดกล้ามเนื้ อ ใบหน้ า sternomastoid เลือดคั่งและ ระหว่างดึงตัวทารก อันตราย ต่อกลุ่มประสาทเลี้ยงแขน เกิดพังผืด Brachial plexus

แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม รู้ ห ลั ง เ รีย น QR code

แ บ บ ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ QR code

จัดทำโดย 1. นางสาวกัญญพัชร์ ก๋าชุ่ม รหัสนั กศึ กษา 62120301002 2. นายจารุ กิตติ์ เซ็ งแซ่ รหัสนั กศึ กษา 62120301006 3. นายณัฐวุฒิ ปั ญญาไว รหัสนั กศึ กษา 62120301026 4. นางสาวนภัสรัตน์ ญาติศรัทธา รหัสนั กศึ กษา 62120301037 5. นางสาวพรทิพย์ ฮิรุ ตะ รหัสนั กศึ กษา 62120301056 6. นางสาวเสาวรส เชอหมื่อกู่ รหัสนั กศึ กษา 62120301089 7. นางสาวอาภาวี อินใจ รหัสนั กศึ กษา 62120301099


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook