Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงาน15 อีบุ๊ค

ใบงาน15 อีบุ๊ค

Published by สุธีรญา บุญจุ้ย, 2022-08-24 08:12:04

Description: ใบงาน15 อีบุ๊ค

Search

Read the Text Version

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั และคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น นางสาวสุธรี ญา บญุ จุย้ 2ชทส5/15 เทคโนโลยี Wi-Fi เทคโนโลยี 5 G เทคโนโลยี 5G หรือ 5th Generation คือ ระบบการสอ่ื สารแบบไรส้ ายในยคุ ที่ 5 ซ่งึ มคี วามสามารถในการสง่ ข้อมลู ในปรมิ าณทม่ี ากกว่าระบบ 4G ถงึ 1,000 เท่า โดยผวิ เผินระบบ 5G ถูกมองว่า เป็นเพียงระบบใหมท่ ี่ถูกนามาใช้ ทดแทนระบบเดิมด้วยประสทิ ธิภาพท่สี ูงกวา่ ดังเช่นทร่ี ะบบ 4G มาทดแทน ระบบ 3G แต่ในความจริงแลว้ 5G เปน็ เทคโนโลยที มี่ ีความเร็วสงู และมี ความสามารถในการส่งข้อมูลปริมาณมาก จึงทาให้อุปกรณ์ทรี่ องรบั ระบบน้ี จะไม่จากัดเพียงแค่โทรศัพทส์ มาร์ทโฟนอกี ตอ่ ไป แตจ่ ะรวมไปถงึ เครอ่ื งมอื เครอื่ งใช้ และระบบสาธารณปู โภคทั้งหมด โดยระบบ 5G เป็นพน้ื ฐานของ แนวคิด Internet of Thing และ Machine to Machine ซง่ึ เป็นการส่ือสาร ระหวา่ งอุปกรณต์ า่ งๆ ไม่ว่าจะเป็น เครื่องมือ ยานพาหนะ หรือ อาคาร ส่งิ ก่อสร้างทม่ี ีการตดิ ต้งั วงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซอฟตแ์ วร์ เซน็ เซอร์ และ เครอื ขา่ ยการเชื่อมตอ่ ต่างๆ ทที่ าให้อุปกรณเ์ หล่านีส้ ามารถสง่ ผ่านขอ้ มลู ถึง กัน โดยมีความล่าช้าของเวลา (time lag) น้อยมาก ทาใหส้ ามารถใชเ้ พอ่ื การ พฒั นาเทคโนโลยีต่างๆ ที่เคยทาไมไ่ ด้ในอดีต เชน่ การผา่ ตัดทางไกลทีแ่ พทย์ สามารถทาการผ่าตัดใหค้ นไขท้ ี่อย่ใู นอีกซีกโลกได้ ดงั นน้ั หนว่ ยงานต่างๆ เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยและคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น ทั้งภาครฐั และเอกชนจึงตอ้ งเร่งพัฒนาเทคโนโลยใี ห้รองรับกับระบบนี้ ซงึ่ การพฒั นาเหลา่ น้ีจะเปลย่ี นวิถีชีวิตในอนาคตของผู้คนโดยสนิ้ เชงิ ประโยชนข์ อง 5G แน่นอนว่าต้องมคี วามเร็วเพ่ิมขึ้น เพ่ือตรงกับคอนเซ็ปต์ ในการใชง้ าน แต่ยงั ไม่สามารถบอกไดว้ ่าจะมอี ตั ราดาวนโ์ หลดและอพั โหลด แรงเทา่ ใด ทวา่ มีแตก่ ารคาดการณ์กันวา่ เร็วแรงมากกวา่ ยคุ 4G ถึง 10- 1,000 เท่า ซ่ึงจะทาให้เปลีย่ นวถิ ีชีวติ ของเราได้หลายอย่างในอนาคต และ ช่วยผลักดันเศรษฐกิจ ท้งั ส่งผลให้เกิดผลติ ภัณฑ์หรือบรบิ ทใหม่ของการ บรกิ ารเชน่ กนั ข้อดอ้ ยของ 5G เนื่องจากต้องใช้คล่ืนความถีท่ สี่ ูงมากหรอื คลนื่ เทคโนโลยี ความถ่ีระดับมลิ ลเิ มตร โดยถือวา่ เป็นกญุ แจสาคญั ในการพัฒนา สามารถ ดาเนนิ การไดด้ ว้ ยข้อมูลจานวนมาก และมีสัญญาณการถ่ายโอนข้อมูลท่มี ี คา่ latency ตา่ (ความล่าช้าน้อยทสี่ ุด)และด้วยประโยชนด์ ังกล่าว จึงต้อง แลกมาด้วยปัญหาต้นทุนที่เพ่ิมขึ้น เพราะวา่ สญั ญาณที่สง่ ผ่านคลื่นความถี่ สูงจะส่งผ่านในระยะสน้ั เทา่ นน้ั และก็ไมส่ ามารถเจาะอาคารได้ดี ทาให้ต้อง อาศัยเสาสญั ญาณกับเทคนคิ อื่นๆ เข้าช่วย ดงั นน้ั จึงน่าสนใจว่าคา่ ใช้ บรกิ ารจะเปน็ อยา่ งไ เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยและคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น สมารท์ โฟน 4G สามารถใช้งาน 5G ได้หรือไม่ ข้นึ อยู่กบั ฮาร์ดแวร์ ว่าภายในสมารท์ โฟนรองรบั การใชง้ านหรอื ไม่ หากไม่ รองรับ ก็จะตอ้ งเปลี่ยนสมาร์ทโฟน ซงึ่ ในต่างประเทศ กว่าจะใชง้ านได้จริง น่าจะอกี หลายปี ส่วนประเทศไทยเองคงตอ้ งติดตามกันตอ่ ไป ความก้าวหน้าของ 5G ERICSSON เร่ิมทดลองให้บริการ 5G แลว้ 2 ย่าน ความถ่ี โดย ERICSSON ระบุว่า เวลานี้ ITU ยังไม่กาหนดคลื่นความถี่สาหรับ เทคโนโลยี 5G อย่างเป็นทางการ แตผ่ ผู้ ลติ ทั่วโลกต่างเหน็ ตรงกนั ว่า จาเป็นต้องใชค้ ลนื่ ความถ่ยี ่าน 3-6GHz ซงึ่ มีขนาดแบนดว์ ิธใหญม่ ากพอทจ่ี ะ รองรบั ขอ้ มลู ปริมาณมากๆ ได้ อีกยา่ นคอื 28GHz และทาให้ต้องใช้ เทคโนโลยใี นการส่งคลื่นแบบใหม่ แต่กเ็ ป็นระยะทางไม่เกิน 1 กโิ ลเมตร สาหรับประเทศทมี่ กี ารทดลองใชง้ านแล้ว เชน่ เกาหลีใต้, ญีป่ ุ่น และจนี โดยทงั้ ญ่ีปนุ่ และเกาหลใี ต้ ระบวุ า่ จะเร่ิมต้นใชง้ าน 5G อย่างเป็นทางการใน ปี 2020 หรอื อกี ไมถ่ งึ 3 ปีขา้ งหน้า เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั และคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น นาโนเทคโนโลยี นาโนเทคโนโลยี ตามความหมายของศูนย์นาโนเทคโนโลยีแห่งชาติ (NANOTEC) คอื เทคโนโลยที ี่ เกีย่ วข้องกับกระบวนการสร้าง การสงั เคราะห์วสั ดุ อปุ กรณ์ เครือ่ งจกั รหรือผลติ ภัณฑ์ ซงึ่ มขี นาด เลก็ มากในระดบั นาโนเมตรเทียบเท่ากับระดบั อนุภาคของโมเลกลุ หรือ อะตอม (0.1 นาโนเมตรถงึ 100 นาโนเมตร) รวมถงึ การออกแบบหรอื การใชเ้ ครือ่ งมอื สรา้ งวสั ดุอยู่ในระดบั ท่เี ลก็ มาก หรือการ เรยี งอะตอมและโมเลกลุ ในตาแหนง่ ทตี่ ้องการไดอ้ ยา่ งแมน่ ยา และถกู ต้อง ทาใหโ้ ครงสร้างของวสั ดุ หรอื สสารมคี ุณสมบตั พิ เิ ศษไม่ว่าทางดา้ นฟิสกิ ส์ เคมี หรอื ชีวภาพ สง่ ผลให้มปี ระโยชน์ต่อผู้ใชส้ อย จากความหมายดงั กล่าวน้ี จะเหน็ ว่านาโนเทคโนโลยีมีขอบเขตการศึกษาทกี่ วา้ งมาก และ ผสมผสานศาสตรห์ ลายๆ แขนงเข้าด้วยกัน คาว่า นาโน (Nano) แปลว่าคนแคระในภาษากรีก แต่ โดยมากจะเปน็ คาท่เี รียกกนั ตดิ ปากและย่อมาจากคาว่า นาโนเมตร (Nanometre) ซึ่งหมายถงึ สิบ กาลงั ลบเก้าเมตร หรือ 1 สว่ นพนั ลา้ นของ 1 เมตร คานิยามอยา่ งคร่าว ๆ ของ นาโนศาสตร์ (Nanoscience) ก็คอื การศึกษาปรากฏการณท์ างธรรมชาตขิ องวัตถทุ มี่ ขี นาดในช่วงนาโนเมตร (ประมาณ 1-100 นาโนเมตร) สว่ นนาโนเทคโนโลยี (Nanotechnology) ก็จะหมายถึงการสร้างและ ประยุกต์วตั ถุนาโนนม้ี าใชใ้ ห้เปน็ ประโยชน์ เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั และคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น ประโยชน์ของนาโนเทคโนโลยมี ีอะไรบ้าง? – สามารถทาให้โลกของเรามนี ้าท่สี ะอาดมากพอทจ่ี ะใช้ – สามารถทาให้ไดใ้ ชพ้ ลงั งานในราคาย่อมเยา ไม่แพง แถมยงั สะอาด ไม่เป็นพษิ ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มอกี ดว้ ย – สามารถช่วยใหผ้ ลติ ผลทางการเกษตรเพม่ิ ข้นึ และเพียงพอแกท่ กุ คนในโลก – สามารถทาใหเ้ รามสี ขุ ภาพที่แข็งแรง แถมยังอาจมีอายุยืนไดม้ ากกวา่ ปกตไิ ด้ถงึ ประมาณ 200 ปีเลยทเี ดียว – สามารถนามาสร้างเป็นหุ่นยนตน์ าโนทที่ าหนา้ ทีใ่ นการสแกนความบกพรอ่ งของเซลล์เมด็ เลือดแดง และชว่ ยซ่อมแซมเซลล์ตา่ งๆ รวมทั้งคอยยบั ย้งั และทาลายเซลลท์ ี่แปลกปลอม ต่างๆ ได้อกี ดว้ ย – สามารถทาใหผ้ ูค้ นทัง้ โลกไดต้ ิดต่อสอ่ื สารกนั อย่างท่วั ถึงและเท่าเทยี มกนั เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยและคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น ประเภทของนาโนเทคโนโลยี นาโนเทคโนโลยี มี 3 สาขาหลกั ประกอบดว้ ย นาโนเทคโนโลยชี ีวภาพ (Nanobiotechnology) นาโนอิเลก็ ทรอนกิ ส์(Nanoelectronics) และวัสดนุ าโน (Nanomaterials) นาโนเทคโนโลยีชีวภาพ เปน็ การประยุกตใ์ ช้นาโนเทคโนโลยีศาสตรด์ า้ นชีวภาพ เช่น การปรับโครงสรา้ งระดับโมเลกุล ของยาท่สี ามารถหวงั ผลการมงุ่ ทาลายชีวโมเลกลุ ท่เี ปน็ เปา้ หมายเฉพาะเจาะจงสาหรบั เซลลม์ ะเร็ง หรอื การประยุกต์ใชใ้ นอตุ สาหกรรมเครือ่ งสาอาง ด้วยการส่งผ่านสารบารุงเขา้ ช้ัน ใต้ผวิ หนงั ได้ดยี ง่ิ ข้ึนนาโนอิเลก็ ทรอนิกส์ เปน็ การประยุกตใ์ ช้นาโนเทคโนโลยศี าสตรด์ ้านนาโน อเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพื่อให้ผลิตภณั ฑม์ คี ุณภาพและประสทิ ธภิ าพสูง เช่น การพฒั นาระบบไฟฟา้ เคร่อื งกลซุปเปอร์จวิ๋ การผลติ เซลล์แสงอาทติ ย์ การพฒั นานาโนชิป การทาใหค้ อมพวิ เตอร์ ทางานรวดเรว็ และมปี ระสทิ ธภิ าพสงู วสั ดุนาโน เปน็ การประยุกตใ์ ช้นาโนเทคโนโลยีศาสตร์ ด้านวัสดนุ าโน เชน่ การเปน็ ตวั เร่งปฏิกิรยิ าในอุตสาหกรรมการพัฒนาฟิล์มพลาสติกนาโน คอมโพสิท ที่มคี วามสามารถในการสกดั กน้ั การผา่ นของกา๊ ซบางชนิด และไอน้า เพือ่ ใช้ทาบรรจุ ภัณฑ์ทีย่ ดื อายุความสดของผัก และผลไม้ ส่งผลใหเ้ พ่ิมมลู ค่าการสง่ ออก หรือการผลิตผล อนุภาคนาโนมาใช้ในการฆ่าเชื้อแบคทเี รียไวรัส และทาใหไ้ ม่เปยี กน้า เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั และคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น Bluetooth บลูทธู (Bluetooth) เป็นขอ้ กาหนดสาหรับอตุ สาหกรรมเครอื ข่ายส่วนบุคคล (Personal Area Networks - PAN) แบบไรส้ าย บลูทธู ช่วยให้อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์สามารถเชือ่ มต่อกันได้ เชน่ โทรศัพท์มือถือ พดี เี อ คอมพิวเตอร์ส่วนบคุ คล โดยผ่านทางคลืน่ วิทยุทม่ี าของช่อื บลทู ูธนน้ั นามา จากพระนามพระเจ้าฮารลั ดบ์ ลทู ูทของประเทศเดนมาร์ก[1] เพื่อเป็นการราลึกถงึ กษัตริยบ์ ลูทูธ ผปู้ กครองประเทศกลมุ่ สแกนดิเนเวยี ซึ่งในปัจจุบนั เปน็ กลมุ่ ผูน้ าในดา้ นการผลติ โทรศพั ทม์ ือถือ ปอ้ นสูต่ ลาดโลก และระบบบลทู ูธน้ี กถ็ กู สรา้ งข้นึ มาเพ่ือใชก้ บั โทรศพั ทม์ อื ถอื และเริ่มต้นจาก ประเทศในแถบนีด้ ้วยเชน่ กนั เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั และคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น Bluetooth ทางานอยา่ งไร? Bluetooth จะใชส้ ญั ญาณวทิ ยคุ วามถสี่ ูง 2.4 GHz. (ก๊กิ กะเฮริ ์ซ) แตจ่ ะแยกยอ่ ยออกไป ตามแตล่ ะประเทศ อยา่ งในแถบยโุ รปและอเมรกิ า จะใชช้ ว่ ง 2.400 ถงึ 2.4835 GHz. แบง่ ออกเป็น 79 ช่องสัญญาณ และจะใช้ชอ่ งสัญญาณท่ีแบ่งน้ี เพอื่ ส่งข้อมูลสลบั ช่องไปมา 1,600 ครง้ั ต่อ 1 วนิ าที สว่ นท่ีญป่ี นุ่ จะใชค้ วามถี่ 2.402 ถงึ 2.480 GHz. แบง่ ออกเป็น 23 ช่อง ระยะทาการของ Bluetooth จะอยู่ท่ี 5-10 เมตร โดยมรี ะบบปอ้ งกนั โดยใช้การปอ้ น รหสั กอ่ นการเชือ่ มตอ่ และ ปอ้ งกนั การดักสัญญาณระหว่างสอ่ื สาร โดยระบบจะสลับ ช่องสัญญาณไปมา จะมคี วามสามารถในการเลือกเปล่ียนความถี่ท่ีใช้ในการตดิ ต่อเอง อตั โนมัติ โดยทไี่ มจ่ าเป็นตอ้ งเรยี งตามหมายเลขช่อง ทาให้การดกั ฟงั หรือลกั ลอบขโมย ข้อมลู ทาได้ยากข้ึน โดยหลักของบลทู ูธจะถกู ออกแบบมาเพือ่ ใช้กบั อปุ กรณท์ มี่ ขี นาดเล็ก เนือ่ งจากใชก้ าร ขนส่งข้อมลู ในจานวนท่ีไม่มาก อย่างเช่น ไฟล์ภาพ, เสยี ง, แอพพลเิ คช่นั ต่างๆ และสามารถ เคล่ือนย้ายได้งา่ ย ขอให้อยู่ในระยะทกี่ าหนดไว้เทา่ นน้ั (ประมาณ 5-10 เมตร) นอกจากน้ี ยังใชพ้ ลงั งานตา่ กนิ ไฟนอ้ ย และสามารถใช้งานได้นาน โดยไมต่ อ้ งนาไปชาร์จไฟบอ่ ยๆ ด้วย เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั และคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น เทคโนโลยี Bluetooth กบั การอ่านบตั ร ทาง The Compete Technology ไดม้ ีการจดั จาหน่ายเครอ่ื งอ่านบตั ร ท่ไี ด้นาเทคโนโลยี Bluetooth เข้ามาใช้งาน เพอื่ ความสะดวกสบายในการอ่านบตั รแบบไรส้ าย โดย ณ ตอนน้ี จะมี 2 รนุ่ ด้วยกันน่ันคือ ACR3901U-S1 สาหรับอ่านบตั รแบบ Contact เช่อื มต่อ ได้ทง้ั ผา่ น USB และระบบ Bluetooth แบบไรส้ าย พร้อมชดุ พัฒนาโปรแกรมแบบ EVK สามารถนามาใช้งานเพ่ือพัฒนาโปรแกรมตอ่ ไดท้ นั ที เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยและคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น เทคโนโลยี ipv6 เทคโนโลยี IPv6 การเกิดขนึ ้ ของ IPv6 ปัจจบุ นั IP Address Version 4 ซง่ึ เป็นมาตรฐานปัจจบุ นั ที่เรากาลงั ใช้อย่นู นั้ เหลือจานวนน้อยลงทกุ ที เน่ืองจาก อตั ราการเตบิ โตของผ้ใู ช้งานอนิ เทอร์เน็ตเพม่ิ ขนึ ้ อย่างรวดเร็วนนั่ เอง และปัจจยั สาคญั อีกประการคือ แนวโน้ม ของการพฒั นาอปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ในอนาคต เช่น โทรศพั ท์ มือถือ PDA เคร่ืองเล่นเกมส์ ต้เู ย็น โทรทศั น์ ไมโครเวฟ ระบบกล้องวงจรปิด ฯลฯ จะมีความสามารถ ในการสื่อสารและเชื่อมต่อเข้ากบั อนิ เทอร์เน็ตได้ เหมือนกบั คอมพวิ เตอร์ ทาให้อปุ กรณ์เหลา่ นีต้ า่ งก็ต้องการมี IP Address เป็นของตนเอง ทาให้ผ้เู ช่ียวชาญต้อง ร่วมมือกนั พฒั นา มาตรฐาน IPv6 ขนึ ้ มารองรับความต้องการในจดุ นนั้ บางท่านอาจจะมีคาถามวา่ ทาไมถงึ กลายเป็น Version 6 แล้ว Version 5 หายไปไหน คาตอบก็คือ Version 5 ได้ถกู ใช้งานไปเรียบร้อยแล้วใน ขณะนี ้เน่ืองจากในการทางานของ IPv4 นนั้ จะมีเจ้า IPv5 เป็นตวั แบคอพั นนั่ เอง เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั และคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น IPv6 การทางานของ IPv4 (ถกู คดิ คน้ มาเกือบ 20 ปีแลว้ ) มีท่ีมาจากเลขฐานสอง คือ เลข 0 กับ 1 เท่านนั้ แต่การสอ่ื สารกนั ดว้ ยเลขสองตวั นีอ้ าจสร้างความสบั สนให้กับผทู้ ี่สอ่ื สารได้ จงึ มีการแบง่ เจ้าเลขฐานสองออกเปน็ ชว่ ง 4 ช่วง แล้วคน่ั ด้วย “.” จากน้ันกแ็ ปลงเป็นเลขฐานสิบ (เลข 0 ถงึ 9) ทีเ่ ราคุ้นเคยกนั จงึ มหี น้าตาแบบท่เี ราเหน็ กันในปจั จุบนั ตัวอยา่ งเช่น 193.10.10.154 ซง่ึ เจ้า ตัวเลข 32 บติ ที่ถูกสร้างขึน้ มาน้นั สามารถสรา้ ง Address ที่แตกตา่ งกันไดท้ ้งั หมดถงึ 4.2 หม่ืน ลา้ น Address แต่ปจั จุบันเราใชง้ านเจา้ เลขพวกนี้กนั อย่างเตม็ ท่จี นไมส่ ามารถที่จะขยายออกไป ได้อกี แล้ว IPv6 จึงถูกคิดคน้ ข้ึนมาเพอื่ แกไ้ ขปัญหาจานวน IP Address ทกี่ าลงั จะหมดไป และ เพิ่มขดี ความสามารถ บางอย่างใหด้ ขี ้ึนกว่าเดมิ เช่น ความสามารถในดา้ น Routing และ Network Autoconfiguration ซ่ึงการเปล่ยี นแปลงมาเปน็ IPv6 ต้องเป็นการเปลี่ยนแปลงอย่าง ช้าๆ ค่อยเป็นค่อยไป ให้ทั้งสองเวอรช์ นั่ สามารถทางานร่วมกันได้ เพอื่ ท่ีจะไดไ้ ม่เกดิ ผลกระทบต่อ ผูบ้ รโิ ภคท่ีใช้งาน เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภยั และคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น จดุ เดน่ ของ IPv6 ท่ีพัฒนาเพ่ิมขึน้ มากจาก IPv4 การยอมรับและนามาใชข้ อง IPv6 ทว่ั โลก เน่อื งจากอปุ กรณ์เทคโนโลยีตา่ งๆ ในอนาคตจะมีการ พฒั นาขน้ึ มาให้ใช้ IP Address เพือ่ ตดิ ตอ่ ส่ือสารเข้ากบั เครือข่ายอินเทอร์เนต็ ไดแ้ ลว้ เพอื่ เพิม่ ความ สะดวกสบายและทนั สมยั ใหก้ บั การใช้ชีวิตของเราเพม่ิ ขนึ้ เช่น การผลติ ตู้เยน็ ทรี่ องรบั มาตรฐาน Ipv6 จะช่วยให้ตเู้ ยน็ สามารถสแกนไดว้ ่า อาหารใดกาลังจะหมดอายุ และเชื่อมตอ่ อินเทอร์เนต็ ไป ยังรา้ นค้า เพอ่ื สง่ั ซ้ือสนิ คา้ ไดโ้ ดยตรง ,การตดิ ตง้ั ระบบกล้องวงจรปดิ ตามบ้างเรอื นทีร่ องรับ มาตรฐาน Ipv6 จะชว่ ยตรวจจับสง่ิ ไมพ่ ึงประสงค์และเชื่อตอ่ อินเตอร์เนต็ เพือ่ แจง้ เหตุการณ์ในทันที เปน็ ตน้ ดังนั้น ปัจจุบนั หลายๆ ประเทศไดแ้ สดงเจตนารมนท์ จี่ ะทาการอพั เกรดเทคโนโลยี อินเทอรเ์ นต็ ให้เปน็ IPv6 แลว้ เช่น กระทรวงกลาโหมสหรัฐ ไดป้ ระกาศว่า จะเลิกส่ังซือ้ อปุ กรณ์ เครือขา่ ยท่สี นบั สนนุ มาตรฐานปัจจบุ นั และเปลี่ยนไปใช้มาตรฐาน IPv6 ในปี 2008 ในเอเชยี เอง จนี ไตห้ วนั และเกาหลใี ตก้ ส็ ่งสญั ญาณวา่ จะอัพเกรดเทคโนโลยีใหร้ องรับ IPv6 ไดเ้ ช่นเดยี วกัน แต่ ญีป่ ุ่นคอื ผูน้ าในดา้ นน้ี รฐั บาลมโี ครงการ e-Japan ที่จะสร้างเครือข่ายให้ครอบคลุมท่ัวประเทศ เพ่อื ให้อปุ กรณ์สามารถสอื่ สารกนั ได้ และยังมีการทดสอบโครงการทดลองใช้IPv6 โดยมีการตดิ ตงั้ เครือ่ งมือตรวจสอบสภาพอากาศและระบุตาแหน่งไวบ้ นรถแทก็ ซ่ีทกุ คัน เมอื่ แทก็ ซีว่ ิ่งไปยังตาแหน่ง ใดจะทาใหต้ รวจสอบได้วา่ บริเวณน้ันมีสภาพอากาศเปน็ อย่างไร มีฝนุ่ ละอองมากหรอื ไม่ ทาให้ ทางการสามารถควบคมุ สภาพของเมืองได้งา่ ยขน้ึ สาหรับประเทศไทยเอง เนคเทคกใ็ ห้ความสาคัญ กบั IPv6 มีการจัดอบรมใหค้ วามรกู้ บั นกั พัฒนาระบบ วิศวกรระบบ ทัง้ ภาครัฐและเอกชน มีการ จัดตั้งโครงการ Thailand IPv6 Testbed เพอ่ื ให้ ISP และบรษิ ัทต่างๆ ท่ตี ระหนักในเร่อื งดงั กลา่ ว ไดท้ ดลองเช่อื มตอ่ และทดสอบโปรแกรม ซ่งึ จะทาให้มีความรู้ความชานาญกับเทคโนโลยนี ้มี ากขนึ้ หากมกี ารปรบั ใชม้ าตรฐานนใ้ี นอนาคตอีกดว้ ย เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยและคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น เทคโนโลยWี i-Fi ทคโนโลยี WIFI Wi-Fi ย่อมาจาก wireless fidelity) หมายถงึ ชดุ ผลิตภณั ฑ์ต่างๆ ที่สามารถใชไ้ ด้กบั มาตรฐาน เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์แบบไรส้ าย (WLAN)ซึ่งอยูบ่ นมาตรฐาน IEEE 802.11 เดิมทีวายฟายออกแบบ มาใชส้ าหรับอุปกรณพ์ กพาต่างๆ และใชเ้ ครือขา่ ย LANเท่านัน้ แตป่ จั จบุ ันนิยมใชว้ ายฟายเพ่อื ต่อกับ อนิ เทอรเ์ น็ต โดยอุปกรณ์พกพาต่างๆ สามารถเชือ่ มต่อกบั อนิ เทอรเ์ น็ตไดผ้ ่านอุปกรณ์ท่เี รียกวา่ แอค เซสพอยต์ และบริเวณท่ีระยะทาการของแอคเซสพอยต์ครอบคลุมเรยี กว่า ฮอตสปอตแต่เดมิ คาวา่ Wi-Fi เปน็ ชอ่ื ท่ตี ้ังแทนตวั เลข IEEE 802.11 ซงึ่ งา่ ยกว่าในการจดจา โดยนามาจากเคร่อื งขยายเสยี ง Hi-Fi อยา่ งไรก็ตามในปจั จุบนั ใช้เปน็ คาย่อของ Wireless-Fidelity โดยมีแสดงในเวบ็ ไซต์ของ Wi-Fi Alliance โดยใชช้ อ่ื วายฟายเปน็ เคร่อื งหมายการค้าเทคโนโลยี Wi-Fi ใชค้ ล่ืนวิทยุความถี่สูงสาหรับ รับส่งข้อมูลภายในเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีสามารถใชง้ าน Wi-Fi ได้ต้องมีการ ติดตง้ั แผงวงจรหรืออุปกรณ์รบั สง่ Wi-Fi ซง่ึ มชี ือ่ เรียกว่า Network Interface Card (NIC) แตป่ ัจจุบนั เคร่ืองคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คทีม่ จี าหน่ายในท้องตลาดมกั ไดร้ บั การตดิ ต้ังชิปเซต็ (Chipset) ท่ีทาหนา้ ท่ี เปน็ ตัวรบั ส่งสญั ญาณ Wi-Fi ไปในตวั ทาให้สะดวกตอ่ การนาไปใช้งานมากขน้ึ การตดิ ต่อสอื่ สารด้วย เทคโนโลยี Wi-Fi ทาได้ทั้งแบบเชอ่ื มตอ่ โดยตรงระหว่างเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ โดยไมต่ ้องผ่านอปุ กรณ์ ตวั กลาง (Ad-hoc) และแบบท่ผี า่ นอปุ กรณ์จุดเชื่อมต่อ (Access Point) ดังแสดงในรปู ท่ี 1 เนอ่ื งจาก การติดต้งั เครือข่าย Wi-Fi ทาได้งา่ ยและไมต่ ้องใชค้ วามรู้ในเชิงลกึ ทางด้านวศิ วกรรมเครอื ขา่ ย แมจ้ ะ มพี ้ืนที่ครอบคลมุ ในระยะทางจากดั แต่ก็ถอื วา่ เพยี งพอที่ตอ่ การใช้งานในสานกั งานและบ้านพักอาศัยโดยทั่วไป จึงทาใหผ้ คู้ นทวั่ ไปนิยมใช้งาน Wi-Fi กันมาก สง่ ผลให้เกดิ การ ขยายตัวของตลาดผู้บริโภคอยา่ งรวดเรว็ ใน เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยและคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น เทคโนโลยี Wi-Fi มกี ารพัฒนามาตามยคุ สมยั ภายใต้การกากับดแู ลของกลมุ่ พันธมติ ร WECA (Wireless Ethernet Compatibility Alliance) เร่มิ จากขอ้ กาหนดมาตรฐาน IEEE 802.11 ซ่ึง กาหนดใหใ้ ชค้ ล่ืนวทิ ยคุ วามถี่ 2.4 กิกะเฮิตรซ์ เปน็ ตัวกลางในการติดตอ่ ส่อื สารกับจดุ เช่อื มต่อ (AP หรอื Access Point) ขอ้ กาหนดดงั กลา่ วเปน็ เพียงหลักการทางทฤษฎีเทา่ น้ัน จนกระทงั่ เมอ่ื มกี าร กาหนดใหม้ าตรฐาน IEEE 802.11a (อตั ราเรว็ 54 เมกะบิตตอ่ วนิ าที) และ IEEE 802.11b (อตั ราเร็ว 11 เมกะบิตต่อวนิ าที) ซึ่งใชค้ ลืน่ วทิ ยุความถ่ี 5 กกิ ะเฮติ รซ์ และ 2.4 กิกะเฮติ รซ์ตามลาดับ เป็น มาตรฐานสากลสาหรบั ใช้งานในปัจจุบนั และได้มีการพฒั นามาตรฐาน Wi-Fi ตอ่ เนอื่ งไปเปน็ IEEE 802.11g(อตั ราเร็ว 54เมกะบิตต่อวนิ าท)ี ซ่งึ ในปัจจบุ ัน กลา่ วไดว้ ่าการรับส่งข้อมลู ผา่ นเครอื ข่าย แบบ Wi-Fi ทั้งสองความถ่สี ามารถทาไดด้ ว้ ยอตั ราเร็วสงู สดุ ถงึ 54เมกะบติ ต่อวนิ าทเี ทยี บเท่ากัน เทคโนโลยีWi-Fi

วชิ า ระบบรักษาความปลอดภัยและคอมพวิ เตอร์เบื้องต้น เทคโนโลยีWi-Fi


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook