Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

C3

Published by 6032040004, 2018-09-07 01:59:50

Description: C3

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ งเครือขา่ ย

ลักษณะการเชื่อมตอ่ เครือขา่ ยจดุ ปลายทางของการรับ-ส่งข้อมลู เรียกวา่ โหนด (Node) ซงึ่ การทจี่ ะทาให้แต่ละโหนดติดตอ่ รบั -ส่งข้อมลู ถงึ กนั ไดน้ ั้นต้องมีการเชื่อมตอ่ ท่เี ปน็ระบบ ในระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์น้ีสามารถแบง่ ลกั ษณะของการเชือ่ มโยงออกเป็น 4 ลกั ษณะ คือ 1. เครือข่ายแบบดาว (Star Network) จะมีคอมพิวเตอร์หลกัเป็นโฮสต์ (Host) ต่อสายสอื่ สารกับคอมพวิ เตอร์ยอ่ ยทีเ่ ป็นไคลเอนต์(Client) คอมพวิ เตอรท์ ี่เปน็ ไคลเอนต์แต่ละเคร่อื งไมส่ ามารถติดตอ่ กันได้โดยตรง การติดตอ่ จะต้องผ่านคอมพวิ เตอรโ์ ฮสต์ที่เป็นศนู ยก์ ลาง

2. เครอื ขา่ ยแบบวงแหวน (Ring Network) เปน็ เครือขา่ ยท่ีเชอื่ มต่อคอมพวิ เตอร์ด้วยสายเคเบลิ เดยี วในลกั ษณะวงแหวนไมม่ เี ครือ่ งคอมพวเตอร์เป็นศูนยก์ ลาง ขอ้ มูลจะตอ้ งผ่านไปยังคอมพวิ เตอรร์ อบ ๆ วงแหวน และผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ทกุ เครื่องเพือ่ ไปยังสถานีที่ต้องการ ซง่ึขอ้ มลู ที่สง่ ไปจะไปในทิศทางเดยี วกัน การวิ่งของข้อมลู ในเครอื ข่ายวงแหวนจะใชท้ ิศทางเดียวเท่านน้ั เมื่อคอมพวิ เตอรเ์ ครือ่ งหนง่ึ ส่งข้อมูลจะส่งไปยงั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ตัวถัดไป ถา้ ขอ้ มูลทรี่ บั มาไม่ตรงตามท่ีคอมพิวเตอร์ตน้ ทางระบุกจ็ ะสง่ ผ่านไปให้คอมพวิ เตอร์เคร่อื งถัดไป ซึ่งจะเปน็ ขัน้ ตอนแบบน้ไี ปเรอ่ื ย ๆ จนกวา่ จะถึงคอมพิวเตอรป์ ลายทาง ท่ีถกูระบุตามทอี่ ยจู่ ากเคร่ืองตน้ ทาง 3. เครือขา่ ยแบบบัส (Bus Network) จะมีการเชื่อมต่อคอมพวิ เตอรบ์ นสายเคเบิล ซง่ึ เรียนว่า บัส คอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึง ๆสามารถสง่ ถา่ ยข้อมูลได้เปน็ อสิ ระในการส่งขอ้ มลู นน้ั จะมีเพียงคอมพิวเตอร์ตวั เดียวเท่าน้ันที่สามารถสง่ ข้อมูลไดใ้ นชว่ งเวลาหนึ่ง ๆ

จากนน้ั ข้อมลู จะว่ิงไปตลอดความยาวของสายเคเบิล แล้วคอมพิวเตอร์ปลายทางจะรบั ขอ้ มูลที่วงิ่ ผา่ นมา 4. เครือขา่ ยแบบผสม (Hybrid Network) เปน็ เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ทีผ่ สมผสานระหว่างรปู แบบต่าง ๆ หลาย ๆ แบบเข้าด้วยกนัคอื มเี ครือข่ายคอมพวิ เตอรย์ อ่ ยหลาย ๆ เครอื ข่าย เพอ่ื ให้เกดิประสิทธภิ าพสงู สุดในการทางานเครอื ข่ายบริเวณกวา้ ง ซ่ึงเครอื ข่ายที่ถูกเชอ่ื มตอ่ อาจจะอย่หู ่างกนั คนละจงั หวด หรอื อาจจะอย่คู นละประเทศก็เปน็ ได้

รูปแบบของเครือข่าย การเชื่อมต่อคอมพิวเตอรห์ รอื อปุ กรณร์ บั สง่ ขอ้ มูลทป่ี ระกอบกนั เปน็เครอื ข่ายทม่ี กี ารเชอ่ื มโยงถงึ กนั ในรปู แบบต่างๆสามารถแบง่ ออกตามลกั ษณะของการเช่ือมตอ่ ได้ 4 รูปแบบคอื 1. เครือขา่ ยแบบบัส ( bus topology ) เป็นรูปแบบที่มโี ครงสร้างไมย่ งุ่ ยาก สถานที ุกสถานใี นเครือข่ายจะเช่ือมต่อเข้ากับสายสอ่ื สารหลกัเพียงสายเดียวทเี่ รียกวา่ บัส (bus) การจัดสง่ ข้อมูลลงบนบสั จึงไปถึงทุกสถานีไดซ้ ึง่ การจดั ส่งวิธีนตี้ อ้ งกาหนดวธิ กี ารทจ่ี ะไมใ่ ห้ทกุ สถานีส่งขอ้ มูลพร้อมกนั เพราะจะทาใหเ้ กิดการชนกัน(collison) ของขอ้ มลู โดยวิธกี ารท่ีใช้อาจเป็นการแบ่งชว่ งเวลาหรือให้แต่ละสถานีใช้คลนื่ ความถ่ใี นการสง่สัญญาณทแ่ี ตกต่างกัน อยา่ งไรกต็ ามเครอื ขา่ ยแบบบัส ไมไ่ ด้รับความนิยมในปัจจบุ ัน เน่อื งจากความเสียหายท่ีเกิดขน้ึ กบั บสั เพยี งจุดเดยี วกจ็ ะสง่ ผลใหท้ กุ อุปกรณไ์ มส่ ามารถส่ือสารถงึ กนั ได้เลย 2. 2. เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบวงแหวน (ring topology) เปน็เครอื ข่ายที่เชอ่ื มตอ่ คอมพิวเตอรด์ ้วยสายเคเบิลยาวเสน้ เดยี ว ในลกั ษณะวงแหวน การรบั สง่ ข้อมูลในเครือข่ายวงแหวน จะใชท้ ศิ ทางเดยี วเท่าน้ันเมื่อคอมพิวเตอรเ์ คร่อื งหนึง่ สง่ ข้อมูล มันก็จะส่งไปยงั คอมพวิ เตอร์เครือ่ งถัดไป ถา้ ขอ้ มูลที่รับมาไมต่ รงตามท่คี อมพวิ เตอร์เคร่ืองตน้ ทางระบมุ นั ก็จะ

ส่งผ่านไปยงั คอมพิวเตอรเ์ ครอื่ งถดั ไปซ่ึงจะเปน็ ขั้นตอนอยา่ งนีไ้ ปเรอื่ ย ๆจนกว่าจะถงึ คอมพิวเตอร์ปลายทางทีถ่ ูกระบุตามทอี่ ยู่ 3. เครือข่ายคอมพวิ เตอร์แบบดาว (Star Network) เป็นเครือข่ายท่ีเชอ่ื มต่อคอมพิวเตอรเ์ ขา้ กับอุปกรณ์ทเ่ี ป็น จุดศูนย์กลาง ของเครือขา่ ยโดยการนาสถานีตา่ ง ๆ มาตอ่ รว่ มกนั กับหน่วยสลบั สายกลางการตดิ ต่อสอ่ื สารระหว่างสถานีจะกระทาได้ ดว้ ยการ ติดตอ่ ผ่านทางวงจรของหน่วนสลบั สายกลางการทางานของหนว่ ยสลบั สายกลางจงึ เปน็ ศนู ย์กลางของการตดิ ต่อ วงจรเชอื่ มโยงระหวา่ งสถานตี า่ ง ๆ ทต่ี อ้ งการติดต่อกัน

อุปกรณ์ทีใ่ ช้เชอ่ื มต่อระบบเครอื ข่าย1. เคร่ืองทวนสัญญาณ (Repeater)เปน็ อุปกรณ์ท่ีทาหนา้ ที่ขยายหรอื เพิ่มระยะทางการสือ่ สารของเครือขา่ ยในการส่งข้อมูลในระบบเครือขา่ ยตามมาตรฐานตา่ ง ๆ เช่น ในมาตรฐานการส่งข้อมูลในระบบเครอื ข่ายใช้ 10BaseT ซึ่งมขี ้อกาหนดของมาตรฐานการเช่อื มตอ่ ระบบได้ในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร ถ้าความยาวของระบบมากกว่า 100เมตร ตอ้ งมีเครอ่ื งทวนสญั ญาณในการขยายสญั ญาณเพ่ือให้เป็นระบบเครอื ข่ายเดยี วกนั2. บรดิ จ์ (Bridge)เปน็ อปุ กรณท์ ี่ใช้เชื่อมต่อระบบ LAN เข้าด้วยกนั โดยออกแบบมาเพ่ือใช้ตดิ ตอ่ ระหว่างเครือข่ายท้องถ่นิ LAN จานวน 2 เครอื ข่ายท่มี ีโปรโตคอลเหมือนกนั หรือต่างกนั เพ่ือให้สามารถขยายขอบเขตของLANออกไปได้ โดยประสิทธภิ าพในทางรวมลดลงไมม่ ากเนื่องจากการติดต่อของเครื่องอยใู่ นเซกเมนด์เดียวกนั จะไม่มกี ารส่งผา่ นตา่ งเซกเมนด์ (Segment)3. ฮับ (Hub)เป็นอปุ กรณท์ ีท่ าหนา้ ทกี่ ระจายชอ่ งทางการส่ือสารขอ้ มลู ได้หลายช่องทางในระบบเครอื ขา่ ย โดยการขยายสัญญาณท่สี ่งผา่ นมา ทาให้

สามารถเชอ่ื มต่ออุปกรณ์ตา่ งๆ ผ่านสายเคเบิลไดใ้ กล้ขน้ึ และใช้กบัระบบเครอื ขา่ ยแบบ Star ในปจั จุบนั Hub มีความเร็วในการสอ่ื สารแบบ 10 และ 100 Mbps ลกั ษณะการทางานของ Hubจะแบง่ความเร็วตามจานวนช่องสัญญาณ (Port) ทใ่ี ชง้ านตามมาตรฐานความเรว็ เชน่ ระบบเครือข่ายใชม้ าตรฐานความเรว็ เป็นแบบ 10Mbpsและมเี ครื่องคอมพิวเตอรท์ ี่ตอ่ ในระบบ 5 เครอ่ื งแตล่ ะเคร่ืองสามารถส่ือสารกันภายในระบบโดยใช้ความเรว็ เทา่ กับ 10/5 คอื2Mbps

4. สวติ ช์ (Switch)สวิตซห์ รอื อีเธอรเ์ นตสวิตช์ (Ethernet Switch)เปน็ อุปกรณ์ทีท่ าหนา้ ที่กระจายช่องทางการสื่อสารข้อมูลหลายชอ่ งทางในระบบเครือขา่ ย คล้ายกบั Hubต่างกันตรงทีล่ ักษณะการทางานและความสามารถในเร่อื งของความเร็ว การทางานของSwitch ไมไ่ ด้แบง่ ความเรว็ ตามจานวนชอ่ งสญั ญาณ (port)ตามมาตรฐานความเร็วเหมอื น Hub โดยแต่ละช่องสญั ญาณ (port)จะใช้ความเร็วเปน็ อสิ ระต่อกนั ตามมาตรฐานความเร็ว เชน่ ระบบเครอื ข่ายใช้มาตรฐานความเรว็ เป็นแบบ 100 Mbpsและมีเคร่อื งคอมพวิ เตอร์ท่ีต่อในระบบ 5 เคร่อื งแตล่ ะเคร่ืองกจ็ ะสื่อสารกนั ภายในระบบโดยใช้ความเรว็ เทา่ กบั 100 Mbps.

5. เราทเ์ ตอร์ (Router)เป็นอปุ กรณท์ ่ที าหนา้ ทเ่ี ช่ือมต่อระบบเครอื ข่ายตา่ งชนดิ กนั หรือใช้โปรโตคอลต่างกัน เขา้ ด้วยกนั คล้าย ๆ กับ Bridgeแตล่ ักษณะการทางานของ Router นนั้ จะซบั ซ้อนกว่าเพราะนอกจากจะเชือ่ มต่อแลว้ ยงั เก็บสภาวะของเครอื ข่ายแตล่ ะสว่ น (Segment)ด้วย และสามารถทาการกรอง (Filter)หรอื เลอื กเฉพาะชนดิ ของขอ้ มูลทรี่ ะบุไว้ว่าให้ผ่านไปไดท้ าใหช้ ว่ ยลดปญั หาการจราจรท่ีคับคั่งของข้อมูลและเพ่มิ ระดบั ความปลอดภยั ของเครือขา่ ยซ่งึ สภาวะของระบบเครือข่ายทีเ่ ช่อื มตอ่ กันนี้ Routerจะจดั เก็บในรปู ของตารางท่ีเรยี กว่า Routing Table ซึ่งตาราง Routing Tableนจ้ี ะมปี ระโยชน์ในด้านของความเร็วในการหาเสน้ ทางการส่ือสารข้อมูลระหว่างระบบเครือขา่ ยโดยเฉพาะกับระบบเครอื ข่ายท่ีซับซอ้ นมาก ๆ เช่นระบบ MAN, WANหรอื Internet เปน็ ต้น6. เกตเวย์ (Gateway)เป็นอุปกรณท์ ี่ทาใหเ้ ครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 2 เครือขา่ ยหรือมากกว่าทีม่ ลี กั ษณะไม่เหมอื นกันสามารถติดตอ่ กนั ได้เหมือนเปน็ เครือขา่ ยเดยี วกันเปรียบเสมอื นเปน็ ประตทู างผา่ นในการส่ือสารข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน เช่น ระหว่างเคร่ืองไมโครคอมพวิ เตอรท์ ว่ั ๆไปกับเคร่ืองมินิคอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรมซ่งึ เป็นเครือ่ งคอมพิวเตอรข์ นาดใหญ่ เปน็ ตน้ อุปกรณ์ท่ที าหน้าที่

เป็นGateway น้นั อาจจะใช้คอมพิวเตอรเ์ ครอื่ งใดเครือ่ งหน่ึงทาหน้าท่ีกไ็ ด้7. โมเด็ม (Modem)เปน็ อุปกรณท์ ่ีทาหนา้ ท่ีในการแปลงสัญญาณจากดิจติ อล(Digital)ให้เปน็ สัญญาณอนาล็อก (Analog) และจากสญั ญาณอนาลอ็ กให้เปน็ สัญญาณดจิ ิตอลโมเดม็ เป็นอปุ กรณ์ท่มี คี วามสาคัญในการสื่อสารบนระบบเครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ เพราะโมเดม็ ทาหนา้ ท่ีในการแปลงสัญญาณคอมพวิ เตอร์ให้เป็นสญั ญาณท่อี ุปกรณ์ส่ือสารอ่นื ๆ ในระบบเครอื ข่ายสามารถเข้าใจไดห้ ลงั จากนั้นเคร่ืองคอมพิวเตอรท์ ีร่ ับข้อมลูตอ้ งมโี มเด็มเพ่อื แปลงสัญญาณจากอปุ กรณ์สือ่ สารให้เปน็ สัญญาณทคี่ อมพิวเตอรส์ ามารถเขา้ ใจได้ซึ่งความสามารถของโมเดม็ สามารถวดั ได้จากความเร็วในการรับส่งข้อมูลจานวน 1บติ ตอ่ 1 วนิ าที (บติต่อวินาท)ี หรอื bps (bit per second) ปัจจบุ ัน Modemมีสองประเภท คือ โมเด็มทีต่ ดิ ตัง้ ไวใ้ นเคร่อื ง (Internal Modem)และโมเดม็ ท่ีไม่ได้ตดิ ต้ังไว้ในเครอ่ื ง (External Modem)ซ่ึงผใู้ ช้สามารถเลือกใชไ้ ดต้ ามความเหมาะสม6. เกตเวย์ (Gateway)เปน็ อปุ กรณท์ ่ีทาให้เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ 2 เครอื ข่ายหรือมากกว่าท่มี ลี กั ษณะไม่เหมือนกันสามารถตดิ ตอ่ กนั ได้เหมอื นเป็นเครอื ขา่ ย

เดยี วกนั เปรียบเสมอื นเป็นประตูทางผา่ นในการสือ่ สารขอ้ มลูระหว่างคอมพวิ เตอร์ตา่ งชนิดกัน เช่น ระหวา่ งเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอรท์ ัว่ ๆไปกบั เครือ่ งมนิ ิคอมพวิ เตอร์ หรือเมนเฟรมซง่ึ เปน็ เคร่อื งคอมพวิ เตอรข์ นาดใหญ่ เป็นตน้ อุปกรณท์ ท่ี าหนา้ ท่ีเป็นGateway นน้ั อาจจะใช้คอมพวิ เตอรเ์ ครื่องใดเครื่องหนงึ่ ทาหน้าทีก่ ็ได้7. โมเด็ม (Modem)เปน็ อปุ กรณ์ที่ทาหน้าทใ่ี นการแปลงสัญญาณจากดิจติ อล(Digital)ใหเ้ ปน็ สญั ญาณอนาล็อก (Analog) และจากสัญญาณอนาล็อกใหเ้ ป็นสญั ญาณดิจติ อลโมเด็มเปน็ อปุ กรณ์ท่ีมคี วามสาคัญในการส่ือสารบนระบบเครือขา่ ยอนิ เตอร์เนต็ เพราะโมเด็มทาหน้าท่ีในการแปลงสญั ญาณคอมพิวเตอรใ์ หเ้ ป็นสญั ญาณที่อปุ กรณ์สื่อสารอ่นื ๆ ในระบบเครือข่ายสามารถเข้าใจไดห้ ลงั จากนน้ั เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ท่รี ับขอ้ มูลตอ้ งมโี มเดม็ เพื่อแปลงสัญญาณจากอปุ กรณ์สอ่ื สารใหเ้ ป็นสัญญาณทค่ี อมพวิ เตอรส์ ามารถเขา้ ใจไดซ้ ึ่งความสามารถของโมเดม็ สามารถวัดไดจ้ ากความเร็วในการรับส่งขอ้ มูลจานวน 1บิตตอ่ 1 วนิ าที (บติตอ่ วนิ าท)ี หรือ bps (bit per second) ปัจจุบัน Modemมสี องประเภท คือ โมเดม็ ที่ติดต้ังไวใ้ นเครอ่ื ง (Internal Modem)และ

โมเดม็ ที่ไมไ่ ด้ตดิ ต้งั ไว้ในเครอื่ ง (External Modem)ซง่ึ ผใู้ ชส้ ามารถเลอื กใชไ้ ดต้ ามความเหมาะสมระบบเครือขา่ ยอินทราเน็ต (Intranet)เปน็ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอรภ์ ายในองคก์ รหรอื ระหวา่ งองค์กรโดยการเชื่อมต่อกันเปน็ เครอื ขา่ ยท้องถน่ิ หรือเครือข่ายแลน (LAN)หรืออาจจะเปน็ เครือขายตา่ งท้องถ่ิน หรอื เครือข่ายแวน (WAN)และเป็นเครือข่ายทีใ่ ช้โปรโตคอล ทีซพี /ี ไอพี (TCP/IP)เป็นตวั เชื่อมโยงการส่อื สาร การสือ่ สารบนเครอื ขา่ ยอนิ ทราเนต็ ทส่ี าคัญๆได้แก่ การส่ือสารระบบเวบ็(Web) การโอนยา้ ยไฟล์ (FTP) และระบบฐานข้อมูล(Database)อาจกล่าวได้วา่ อนิ ทราเนต็ คอื อินเตอร์เนต็ ขนาดเลก็ เพราะซอฟตแ์ วรท์ ี่ใชเ้ พอื่ การสื่อสารบนอินทราเนต็ จะเปน็ แบบเดียวกับที่ใชบ้ นอินเตอรเ์ น็ตรวมทั้งเซริ ฟ์ เวอรบ์ นเครือข่ายอนิ ทราเน็ตกม็ ีการใช้แอพพลเิ คชันเหมอื นกบั เซิรฟ์ เวอร์บนเครอื ข่ายอินเตอร์เน็ตทุกประการ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook