Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore G7.pptx

G7.pptx

Published by 6032040004, 2018-09-08 07:09:59

Description: G7.pptx

Search

Read the Text Version

1.สายคบู่ ิดเกลยี ว ประกอบด้วยเสน้ ลวดทองแดงทห่ี ้มุ ดว้ ยฉนวนพลาสตกิ2 เส้น พันบิดเป็นเกลยี ว ทง้ั น้เี พอ่ื ลดการรบกวนจากคลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าจากคสู่ ายขา้ งเคยี งภายในเคเบิล เดียวกันหรอื จากภายนอก เนอื่ งจากสายคูบ่ ดิ เกลียวน้ียอมให้สัญญาณไฟฟ้าความถี่สูงผา่ นได้สาหรับอตั ราการส่งขอ้ มูลผา่ นสายคู่บดิเกลียวจะขน้ึ อยู่กับความหนาของสายด้วยกล่าวคอื สายทองแดงทมี่ เี สน้ ผา่ นศนู ยก์ ลางกวา้ ง จะสามารถส่งสญั ญาณไฟฟา้ กาลังแรงได้ ทาใหส้ ามารถสง่ ข้อมูลด้วยอตั ราสง่ สูง

2. สายโคแอกเชยี ล (coaxial) เปน็ ตัวกลางเช่ือมโยงท่ีมลี กั ษณะเชน่ เดียวกบั สายท่ตี ่อจากเสาอากาศ สายโคแอกเชยี ลท่ใี ชท้ ่วั ไปมี 2 ชนดิ คอื 50โอห์มซ่ึงใช้ส่งข้อมลู แบบดจิ ิทลั และชนิด75 โอห์มซ่งึ ใชส้ ง่ ข้อมูลสญั ญาณแอนะล็อก สายประกอบดว้ ยลวดทองแดงท่ีเป็นแกนหลกั หนงึ่ เส้นทหี่ ุ้มดว้ ยฉนวนชัน้ หนึง่ เพือ่ ปอ้ งกันกระแสไฟรั่วจากนัน้ จะหุ้มด้วยตวั นาซง่ึ ทาจากลวดทองแดงถกั เป็นเปยี เพือ่ ปอ้ งกันการรบกวนของคลน่ื แม่เหล็กไฟฟ้าและสญั ญาณรบกวนอ่นื ๆ

3) เส้นใยนาแสง (fiber optic) มแี กนกลางของสายซง่ึ ประกอบด้วยเส้นใยแก้ว หรือพลาสตกิ ขนาดเล็กหลายๆ เสน้ อยู่รวมกัน เส้นใยแตล่ ะเส้นมีขนาดเลด็ เท่าเส้นผมและภายในกลวง และเส้นใยเหล่าน้นั ไดร้ ับการห่อหุ้มด้วยเส้นใยอกี ชนิดหน่งึ กอ่ นจะหุ้มชั้นนอกสุดดว้ ยฉนวน การสง่ ข้อมูลผา่ นทางสื่อกลางชนิดนจ้ี ะแตกต่างจากชนดิ อ่นื ๆ ซงึ่ ใช้สัญญาณไฟฟ้าในการส่ง แต่การทางานของสอ่ื กลางชนิดนจ้ี ะใช้เลเซอร์วง่ิ ผา่ นชอ่ งกลวงของเสน้ ใยแต่ละเสน้ และอาศยั หลกั การหกั เหของแสง โดยใช้ใยแกว้ ชนั้ นอกเป็นกระจกสะท้อนแสง การให้แสงเคล่อื นทไี่ ปในท่อแก้วสามารถส่งขอ้ มูลดว้ ยอัตราความหนาแนน่ ของสัญญาณขอ้ มูลสงู มาก

1 อนิ ฟราเรด(Infrared) เป็นส่ือสารท่ีใช้คล่ืนแสงทไ่ี มส่ ามารถมองเห็นด้วยตาเปลา่ สามารถสง่ ข้อมูลด้วยคล่ืนอนิ ฟราเรดตอ้ งสง่ ในแนวเสน้ ตรง และไมส่ ามารถทะลุส่งิ กีดขวางท่มี คี วามหนาได้ นิยมใชใ้ นการส่งถา่ ยโอนขอ้ มลู สาหรับอปุ กรณ์แบบพกพา เช่นโน้ตบุ๊กคอมพิวเตอร์ หรือเครอื่ งพดี ีเอไปยังคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เป็นต้น

2 คลื่นวิทยุ(Radio Wave) เปน็ การสื่อสารโดยใช้คลืน่ วทิ ยุจากอุปกรณไ์ รส้ ายต่างๆ เช่น โทรศัพท์เคลือ่ นท่ี หรืออปุ กรณ์ที่สามารถเปิดเข้าถึงเว็บไซต์ได้เป็นต้น ผ้ใู ช้บางรายใชโ้ ทรศพั ทเ์ คล่ือนที่ในการเชือ่ มตอ่ เพ่อื ใช้บรกิ ารอินเทอรเ์ น็ตปัจจบุ ันมเี ทคโนโลยีไรส้ ายท่ีใช้คลนื่ วทิ ยุคือ บลูทธู (Bluetooth) ซ่งึ เป็นการสง่สัญญาณโดยใชค้ ลน่ื วิทยุระยะสน้ั เหมาะสาหรบั การติดตอ่ สือ่ สารในระยะไมเ่ กิน33 ฟุต การสง่ สญั ญาณสามารถส่งผ่านสิง่กีดขวางได้ ทาใหเ้ ทคโนโลยีบลูทูธไดร้ บัความนิยมสงู จงึ มกี ารนามาบรรจไุ ว้ในอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีสมยั ใหม่

3 ไมโครเวฟ(Microwave) เป็นการสือ่ สารโดยใชค้ ล่ืนวทิ ยุความเร็วสงูสามารถสง่ สญั ญาณเป็นทอดๆ จากสถานหี นึง่ ไปยังอีกสถานีหน่งึ ในแนวเสน้ ตรง ไม่สามารถโคง้ หรอื หกั เล้ยี วได้ สามารถรับ สง่ ไดใ้ นระยะทางใกล้ๆ นิยมใชส้ าหรบั การส่อื สารระหว่างอาคารท่ีอยใู่ นเมืองเดียวกันหรอื วทิ ยาเขตของมหาวทิ ยาลัย สาหรับระยะทางไกลๆ ตอ้ งใชส้ ถานรี บั ส่งสัญญาณเป็นทอดๆโดยตดิ ตง้ั ในพืน้ ท่ีสงู

4 ดาวเทยี ม(Satellite) เป็นการสื่อสารโดยคลน่ื ไมโครเวฟแต่เน่ืองจากเปน็ คลื่นทเี่ ดินทางในแนวตรง ทาให้พ้ืนทท่ี ี่มีลกั ษณะภูมปิ ระเทศเปน็ ภูเขาหรือตึกสงู มผี ลตอ่ การบดบังคล่นื จึงมีการพัฒนาดาวเทียมให้เป็นสถานีไมโครเวฟที่อยู่เหนอื พื้นผวิ โลก ทาหนา้ ทเ่ี ป็นสถานสี ง่ และรับข้อมูล ถา้ เป็นลกั ษณะการสง่ ขอ้ มลู จากภาคพื้นดินไปยังดาวเทยี ม ดาวเทยี มสู่ภาคพน้ื ดิน เรียกว่า “การเชอ่ื มโยงหรือดาวน์ลงิ ค์ (Down Link)” ทัง้ นมี้ รี ะบบเทคโนโลยีท่ีนยิ มและอาศยั การทางานของดาวเทยี มเปน็หลัก คอื ระบบจีพเี อส(GlobalPositioning System : GPS) ท่ชี ว่ ยตรวจสอบตาแหนง่ ที่อยู่บนพ้ืนผวิ โลก

คุณภาพของข้อมูลท่ีสง่ ผา่ นในระบบสอ่ื สาร จะพจิ ารณาส่ิง ส าคัญ คอืคณุ ลกั ษณะของสอ่ื กลาง และสัญญาณการสง่ ผ่านขอ้ มูลในระบบสอ่ื สาร สง่ิ สาคัญทต่ี อ้ งพจิ ารณา เป็นพเิ ศษ คือ อัตราความเรว็ ในการสง่ ข้อมลู (Data Rate)และระยะทาง (Distance) โดยมีจุดประสงคเ์ พ่ือให้สามารถสง่ ขอ้ มูลดว้ ยความเร็วสงู และส่งไดร้ ะยะไกล

1. แบนดว์ ดิ ธ์ (Bandwidth) คือ ยา่ นความถข่ี องชอ่ งสัญญาณ หากมชี ่องสัญญาณขนาดใหญ่ จะ สง่ ผลใหใ้ นหนงึ่ หน่วยเวลาสามารถเคล่ือนย้ายปรมิ าณข้อมลู ได้จานวนมากขึ้น 2. จานวนโหนดท่ีเชอ่ื มตอ่ (Number ofReceivers) สอื่ กลางส่งขอ้ มูลแบบใชส้ ายสามารถนามาเช่ือมต่อเครือขา่ ยในรูปแบบ จุดตอ่ จดุ หรือแบบหลายจดุ เพอ่ื แชรก์ ารใช้งานสายสง่ ข้อมลู รว่ มกัน สาหรับ เครือขา่ ยที่ใช้สายสง่ ข้อมูลรว่ มกนั จะมขี อ้ จากัดดา้ นระยะทางและความเร็วท่จี ากดั ดงั นัน้ หากเครอื ข่ายมีโหนดและอปุ กรณ์เชอื่ มตอ่ เปน็จานวนมาก ยอ่ มส่งผลให้ ความเร็วลดลง

3. ความสูญเสยี ตอ่ การสง่ ผ่าน(Transmission Impairments) คอืการอ่อนตัวของสัญญาณ ซ่งึ จะเกย่ี วข้องกับระยะทางในการส่งผ่าน ข้อมลู หากระยะทางยงิ่ ไกล สญั ญาณกย็ ิ่งเบาบางลงไม่มกี าลงั ส่ง4. การรบกวนของสญั ญาณ(Interference) การรบกวนของสญั ญาณทีค่ าบเกีย่ วกนั ในยา่ นความถ่ี อาจให้ เกิดการบดิ เบือนสัญญาณได้ โดยไม่วา่ จะเปน็ ส่ือกลางแบบมีสาย หรือแบบไรส้ าย เชน่ การรบกวนกนั ของคลน่ื วิทยุสญั ญาณครอสทอร์กทเี่ กดิ ขน้ึ ใน สายค่บู ติเกลยี วชนดิ ไมม่ ฉี นวน

ตวั กลางหรอื สายเช่อื มโยง เป็นสว่ นทีท่ าให้เกดิ การเชอื่ มต่อระหว่างอุปกรณต์ ่างๆเขา้ ดว้ ยกัน และอุปกรณ์นีย้ อมให้ขา่ วสารขอ้ มูลเดนิ ทางผา่ น จากผู้สง่ ไปสู่ผู้รบัส่ือกลางท่ีใชใ้ นการส่ือสารข้อมลู มอี ยู่หลายประเภท แตล่ ะประเภทมความแตกตา่ งกันในดา้ นของปรมิ าณขอ้ มูล ที่สอื่ กลางน้ัน ๆ สามารถนาผา่ นไปได้ในเวลาขณะใดขณะหน่ึง การวัดปรมิ าณหรือความจุในการนาขอ้ มูลหรอื ที่เรียกกันวา่แบบด์วิดท์ (bandwidth) มหี น่วยเปน็จานวนบิตข้อมูลต่อวนิ าที

1. ตน้ ทนุ - พจิ ารณาต้นทุนของตวั อุปกรณ์ทใี่ ช้ - เปรียบเทียบราคาของอปุ กรณ์ และประสิทธิภาพการใชง้ าน - พจิ ารณาต้นทุนการตดิ ตั้งอปุ กรณ์2. ความเรว็ - เปน็ ปัจจัยสาคญั อย่างหน่ึงในเลอื กใช้ส่อื กลางเชน่ สภาพแวดลอ้ มทเ่ี ป็นโรงงานอุตสาหกรรมเคร่อื งจกั รกลจะมคี ลน่ื แม่เหล็กไฟฟา้ ต่าง ๆ ดงั นั้นการเลือกใช้สอ่ื กลางควรเลอื กสื่อกลางทท่ี นทานตอ่ สญั ญาณรบกวนได้ดี - ความเรว็ ในการสง่ ผ่านสัญญาณ จานวนบติต่อวนิ าที - ความเร็วในการแพร่สัญญาณ ขอ้ มูลท่ีสามารถเคล่ือนท่ผี า่ นส่ือกลางไปได้

3. ระยะทาง - ส่อื กลางแต่ละชนดิ มคี วามสามารถในการส่งสัญญาณข้อมูลไปไดใ้ นระยะทางตา่ งกัน ดงั นัน้การเลือกใชส้ อ่ื กลางแต่ละชนิดจะตอ้ งทราบขอ้ จากดั ด้านระยะทาง เพื่อที่จะต้องทาการตดิ ต้ังอุปกรณท์ บทวนสัญญาณเมอ่ื ใช้ส่อื กลางในระยะไกล4. สภาพแวดล้อม5. ความปลอดภัยของข้อมูล -หากสอ่ื กลางทเ่ี ลอื กใชไ้ มส่ ามารถปอ้ งกนั การลกั ลอบนาข้อมลู ไปได้ ดงั น้ันการสอื่ สารขอ้ มลู จะตอ้ งมีการ เข้ารหัสขอ้ มลู ก่อนที่จะสง่ ไปในส่อื กลาง และผู้รับก็ต้องมีการถอดรหัสทีใ่ ชห้ ลกั เกณฑ์เดียวกนั จงึ จะสามารถนาขอ้ มลู น้นั ไปใชไ้ ด้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook