Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

E5

Published by 6032040004, 2018-09-07 01:45:24

Description: E5

Search

Read the Text Version

การแทนค่าข้อมูลเนื่องจากการเข้ารหัสสาหรับอักขระบางตัวต้องใช้ไบต์มากกว่าหน่ึงไบต์ อักขระตัวเดียวจึงอาจมีการแสดงถึงโดยใช้หนึ่งหรือหลายไบต์ เมื่อมีการสร้างข้อมูล ขึ้นในไฟล์หรือเม่ือโอนย้ายข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ I/O การแสดงถึงข้อมูลแบบภายนอกน้ีเรียกว่าการแสดงถึงอักขระ โค้ดไฟล์ หรือ โค้ดอักขระหลายไบต์การแสดงขอ้ มูลโคด้ อักขระแบบมลั ติไบต์โค้ดอกั ขระแบบมัลติไบต์เปน็ การแสดงถึงขอ้ มลู แบบภายนอก โดยไม่คานึงว่าข้อมูลนั้นเป็นอินพุตอักขระจากคีย์บอร์ด หรือไฟล์บนดิสก์ ภายในชุดโค้ดเดียวกัน จานวนของไบต์ ท่ีแสดงถึงโค้ดแบบมัลติไบต์ของอักขระอาจแตกต่างกัน คุณต้องใช้ ฟังก์ชันการสนับสนุน multicultural สาหรับการประมวลผลอักขระเพื่อให้ม่ันใจถงึ ความเป็นอสิ ระของชุดโค้ด

การแสดงข้อมลู อักขระ wideโคด้ อกั ขระ wide มีการพัฒนาข้ึนเพ่ือใหส้ ามารถประมวลผลอักขระหลายไบต์ แบบภายในได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นในระบบ การแสดงอักขระหลายไบต์จะถูกแปลงเป็นการแสดงภายใน ท่ีเหมือนกัน (โคด้ อกั ขระ wide) เพื่อให้อักขระทง้ั หมดมีความยาวเท่ากัน ภายในระบบ ด้วยการใช้รูปแบบภายในน้ีการประมวลผลอักขระ จึงสามารถทาในลักษณะที่เป็นอิสระจากชดุ โค้ด โค้ดอกั ขระ wide อ้างอิงถึงการแสดงภายในของอักขระแบบนี้

ชนิดของข้อมลู1. ข้อมูลประเภทข้อความ (Text) หมายถึง ข้อมูลท่ีไม่นามาคานวณ อาจเป็นตัวอักษร ตัวเลข เคร่ืองหมาย การใส่ข้อมูลที่มีความยาวมากกว่าความกว้างของเซลล์ข้อความน้ันจะถูกแสดงต่อไปในเซลล์ท่ีอยู่ทางขวามือ ตราบใดที่เซลล์ทางขวามือนั้นยังไม่มขี อ้ มูล ข้อมลู ชนิดน้จี ะถูกจัดใหอ้ ยชู่ ดิ ซ้ายของเซลล์เสมอ2. ข้อมูลประเภทตัวเลข (Numeric) ข้อมูลท่ีนามาคานวณได้ข้อมูลจะอยู่ชิดขวา และไม่สามารถแสดงผลเกินความกว้างของเ ซ ล ล์ ไ ด้ ถ้ า ค ว า ม ก ว้ า ง ข อ ง เ ซ ล ล์ ไ ม่ พ อ จ ะ ป ร า ก ฏเคร่ืองหมาย####### การแก้ไขโดยขยายความกว้างของเซลล์ออกไป3. ขอ้ มูลประเภทวนั ท่ี (Date) หมายถึงขอ้ มลู ท่ีประกอบดว้ ยวันที่และเดือน เดือนและปี หรือวันที่ เดือนและปี โดยเดือนสามารถกาหนดได้ท้ังแบบตัวเลข หรือตัวอักษร ข้อมูลชนิดนี้นาไปคานวณได้4. ข้อมูลประเภทเวลา (Time) หมายถึงข้อมูลท่ีประกอบด้วยช่ัวโมงและนาที โดยมีเคร่ืองหมาย : ข้อมูลชนิดนี้สามารถนาไปคานวณได้5. ข้อมูลประเภทสูตร (Formular) ข้อมูลประเภทน้ีคือสมการคณติ ศาสตร์ จะตอ้ งใชเ้ ครื่องหมายเท่ากบั (=) นาหน้า

ความหมายของสัญญาณอนาล็อกสญั ญาณแอนะล็อก(Analog Signal) เป็นสัญญาแบบตอ่ เน่ือง มีลักษณะเปน็ คลน่ื ไซน์ (Sine Wave) โดยท่ีแต่ละคลน่ื จะมคี วามถี่และความเข้มของสัญญาณท่ีต่างกัน เมื่อนาสัญญาณข้อมูลเหล่านี้มาผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปลงสญั ญาณและแปลงสัญญาณกจ็ ะได้ข้อมูลท่ีต้องการ เฮิรตซ์ (Hertz) คือหนว่ ยวัดความถี่ของสญั ญาณขอ้ มูลแบบแอนะล็อก วิธีวดั ความถจี่ ะนบั จานวนรอบของสัญญาณท่ีเกิดขึ้นภายใน 1 วินาที เช่น ความถี่ 60 Hz หมายถึงใน 1 วนิ าที สญั ญาณมีการเปลย่ี นแปลงระดับสัญญาณ 60 รอบ

ความหมายของสญั ญาณติจติ อลสญั ญาณดิจิทัล(Digital Signal) สญั ญาณดิจทิ ัลเป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รูปสัญญาณของสัญญาณมีความเปลี่ยนแปลงท่ีไม่ปะติดปะต่ออย่างสัญญาณแอนะล็อก ในการสื่อสารด้วยสัญญาณดิจิทัล ข้อมูลในคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเลขฐานสอง (0และ1) จะถูกแทนด้วยสญั ญาณดิจิทัล Bit Rate เปน็ อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลแบบดิจิทัล วิธีวัดความเร็วจะนับจานวนบิตข้อมูลที่ส่งได้ในช่วงระยะเวลา 1 วนิ าที เช่น 14,400 bps หมายถึง มคี วามเร็วในการส่งข้อมูลจานวน 14,4001 บติ ในระยะเวลา 1 วนิ าที

สญั ญาณรบกวนและข้อผดิ พลาด5.5 สัญญาณรบกวนและขอ้ ผิดพลาดสัญญาณรบกวน (Noice) เป็นผลกระทบอีกด้านหนึ่งที่ทาให้สัญญาณข้อมูลเกิดความสูญเสีย โดยสัญญาณรบกวนมีอยู่หลายชนดิ ประกอบดว้ ย3.1 เทอร์มัลนอยส์ (Thermal Noice) เปน็ สัญญาณรบกวนทเ่ี กดิจากความร้อนหรืออุณหภูมิ ซ่ึงเป็นส่ิงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เน่ืองจากเป็นผลมาจากการเคล่ือนที่ของอิเล็กตรอนบนลวดตัวนา โดยหากอุณหภูมิสูงข้ึน ระดับของสัญญาณรบกวนก็จะสูงข้ึนตามสัญญาณรบกวนชนิดนี้ไม่มีรูปแบบท่ีแน่นอน และอาจมีการกระจายไปทัว่ ยา่ นความถตี่ า่ งๆสาหรับการป้องกัน อาจทาด้วยการใช้อุปกรณ์กรองสัญญาณ(Filters) สาหรบั สัญญาณแอนะลอ็ ก หรืออุปกรณ์ปรบั สัญญาณ(Regenerate) สาหรบั สัญญาณดจิ ิตอล

3.2 อิมพัลส์นอยส์ (Impluse Noice) เป็นเหตุการณ์ที่ทาให้คล่ืนสัญญาณโด่ง (Spikes) ขึ้นอย่างผิดปกติอย่างรวดเร็วจัดเป็นสัญญาณรบกวนแบบไม่คงที่ ตรวจสอบได้ยาก เน่ืองจากอาจเกิดข้ึนในช่วงเวลาสั้นๆ แล้วหายไป ส่วนใหญ่เกิดจากการรบกวนของส่ิงแวดล้อมภายนอกแบบทันทีทันใด เช่น ฟ้าแลบฟ้าผ่า หรือสายไฟกาลังสูงท่ีต้ังอยู่ใกล้ และหากสัญญาณรบกวนแบบอิมพัลส์นอยส์เข้าแทรกแซงกับสัญญาณดิจิตอล จะทาให้สัญญาณต้นฉบับบางส่วนถูกลบล้างหายไปจนหมด และไม่สามารถก้กู ลบั มาได้การป้องกันสัญญาณรบกวนชนิดน้ี ทาได้ด้วยการใช้อุปกรณ์กรองสัญญาณพิเศษที่ใช้สาหรับสัญญาณแอนะล็อก หรืออุปกรณ์ประมวลผลสัญญาณดจิ ติ อลท่ใี ชส้ าหรับสัญญาณดจิ ิตอล

3.3 ครอสทอล์ก (Crosstalk)เป็นเหตุการณ์ที่เกิดจากการเหนี่ยวนาของสนามแม่เหล็กไฟฟ้าท่ีเข้าไปรบกวนสัญญาณข้อมูลท่ีส่งผ่านเข้าไปในสายส่ือสาร เช่น สายคู่บิดเกลียวท่ีใช้กับสายโทรศัพท์ มักก่อให้เกิดสัญญาณ ครอสทอล์กได้ง่ายเน่ืองจากในระบบส่งสัญญาณที่มีสายส่งหลายเส้น และติดต้ังบนระยะทางไกลๆ เม่ือมีการน าสายเหล่านี้มัดรวมกัน จะทาให้เกิดการเหนย่ี วนาทางไฟฟา้ มีโอกาสที่สัญญาณในแตล่ ะเสน้ จะรบกวนซึ่งกันและกัน เช่น การได้ยินเสียงพูดคุยของคู่สายอ่ืน ขณะที่เราพูดคุยโทรศัพท์สาหรับการป้องกัน สามารถทา ได้ด้วยการใช้สายสัญญาณที่มีฉนวนหรือมีชีลดเ์ พื่อป้องกันสัญญาณรบกวน

3.4 เอกโค (Echo) เป็นสัญญาณทีถ่ ูกสะทอ้ นกลับ (Reflection)โดยเมอ่ื สญั ญาณทีส่ ่งไปบนสายโคแอกเชียลเดินทางไปยังสุดปลายสาย และเกดิ การสะท้อนกลับ โหนดใกล้เคียงกจ็ ะได้ยนิ และนกึว่าสายส่งสัญญาณขณะน้ันไม่ว่าง ทาให้ต้องรอส่งข้อมูล แทนท่ีจะสามารถส่งข้อมูลได้ทันทีสาหรับการป้องกัน ทาได้โดยใช้อปุ กรณ์ท่ีเรียกวา่ เทอร์มิเนเตอร์ (Terminator) เช่น ในระบบเครือข่ายท้องถ่ินที่ใช้สายโคแอกเชียลเป็นสายส่ือสาร จะต้องใช้เทอร์มิเนเตอร์ปิดที่ปลายสายทั้งสองฝั่ง เพ่ือทาหน้าที่ดูดซับสญั ญาณไมใ่ หส้ ะท้อนกลบั มา

3.5 จิตเตอร์ (Jitter)เป็นเหตุการณ์ท่ีความถ่ีของสัญญาณได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงก่อให้เกิดการเล่ือนเฟสไปเป็นค่าอื่นๆ อย่างต่อเนื่องด้วยสาหรับการป้องกันสามารถทาได้ด้วยการเลือกใช้ช่วงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ท่ีมีคุณภาพ หรืออาจใช้อุปกรณ์รพี ีตเตอร์

แนวทางในการป้องกันขอ้ ผดิ พลาด ในการส่งผ่านข้อมูลทุกระบบจาเป็นต้องมีการป้องกันสัญญาณรบกวน โดยเทคนิคดังต่อไปนี้จะช่วยลดสัญญาณรบกวนได้1. ใช้สายเคเบิลชนิดที่มีฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน ซึ่งเป็นเทคนิคหนึ่งที่ช่วยลดการแทรกแซงคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าและครอสทอลก์ ได้เปน็ อยา่ งดี2. สายโทรศัพท์ควรอยู่ในสภาวะท่ีเหมาะสม เช่น มีอุปกรณ์กรองสัญญาณท่ีช่วยลดสัญญาณที่ไม่ สม่าเสมอ ซึ่งบริษัทท่ีรับผิดชอบโครงข่ายโทรศัพท์สามารถจัดหาให้ได้ หรือใช้สายเช่าความเร็วสูง (Lease Line)ทีจ่ ะช่วยลดข้อผิดพลาดจากการส่งผ่านข้อมลู ระยะไกลได้3. ใช้อุปกรณ์ใหม่ที่มีประสิทธิภาพและทันสมัยกว่า เพ่ือทดแทนอุปกรณ์เดิมท่ีหมดอายุการใช้งานประสิทธิภาพต่าถึงอุปกรณ์จะมีราคาแพง แตก่ ไ็ ด้ผลของการส่งผ่านข้อมลู ท่ดี ขี ึ้น4. เมื่อต้องการเพิ่มระยะทางในการส่งข้อมูลดิจิตอล ให้ใช้รีพีตเตอร์ หรือใช้แอมพลิไฟเออร์ หากส่งข้อมูลแอนะล็อก ซึ่งอุปกรณ์ดังกล่าวจะช่วยเพิ่มระยะทาง และมีส่วนช่วยลดข้อผิดพลาดของสญั ญาณลงได้5. พิจารณาข้อกาหนดและข้อจากัดของสายสัญญาณแต่ละชนิดเช่น UTP สามารถเชื่อมโยงได้ไม่เกิน 100 เมตร และสง่ ข้อมูลดว้ ยอัตราความเร็วสูงสดุ ท่ี 100 Mbps


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook