Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ค้างคาว 100 ล้าน วัดเขาช่องพราน

ค้างคาว 100 ล้าน วัดเขาช่องพราน

Published by panvorakorn, 2018-08-10 03:31:09

Description: ค้างคาว 100 ล้าน วัดเขาช่องพราน

Search

Read the Text Version

ค้างคาว 100 ล้าน วดั เขาช่องพรานโดย นายวรกร ลีชวนนั ท์ ม.4/15 เลขท่ี 9 1

คานา จากช่วงวนั หยดุ เทศกาลเขา้ พรรษา พทุ ธศาสนิกชนส่วนใหญ่ใชโ้ อกาสวนั หยดุ ในการเดินทางไปพบปะญาติพนี่ อ้ ง เขา้ วดั บาเพญ็ กศุ ลและถือโอกาสท่องเที่ยวในสถานท่ีต่างๆดว้ ย วดั เขาช่องพรานซ่ึงต้งั อยทู่ ่ีอาเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบุรี เป็นสถานท่ีหน่ึงท่ีนอกจากจะมีกิจกรรมทางศาสนาในช่วงวนั สาคญั น้ี กย็ งั มีผคู้ นจานวนมากเดินทางมายงั สถานที่แห่งน้ีเพอ่ื สงั เกตปรากฏการณ์ธรรมชาติอยา่ งหน่ึง นน่ั คือฝงู คา้ งคาวจานวนมากที่บินออกจากถ้าบริเวณวดั เพื่อออกหากิน กล่าวกนั วา่ คา้ งคาวน้นั มีจานวนนบั ลา้ นตวั เรียกวา่ คา้ งคาวร้อยลา้ น โผบินเป็นสายยาวต่อเน่ืองกนั กวา่ 1 ชว่ั โมงในช่วงเยน็ ของทุกวนั ประวตั ิของวดั เขาช่องพรานและความน่าสนใจเก่ียวกบั คา้ งคาวเป็นส่ิงที่ผจู้ ดั ทามีความสนใจและเห็นวา่ เป็นประโยชนต์ ่อผทู้ ี่สนใจ จึงรวบรวมขอ้ มูลและนาเสนอเพ่ือเป็นขอ้ มลู ใหแ้ ก่ผทู้ ่ีสนใจ ผจู้ ดั ทาหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ จะเป็นประโยชน์แก่ผอู้ า่ นบา้ งไม่มากกน็ อ้ ย หากมีขอ้ ผดิ พลาดประการใด ผจู้ ดั ทาขออภยั มา ณ โอกาสน้ีดว้ ย นายวรกร ลีชวนนั ท์ ผ2จู้ ดั ทา

สารบญั• วดั เขาช่องพราน 4 5• ประวตั ิความเป็นมาวดั เขาช่องพราน 6 7• คา้ งคาว-สตั วป์ ริศนา 8 9• ขอ้ มูลทางชีววทิ ยาของคา้ งคาว 10 11• ลกั ษณะทว่ั ไปของคา้ งคาว 12 13• ท่ีอยอู่ าศยั• ทาไมคา้ งคาวจึงหอ้ ยหวั• ทาไมคา้ งคาวจึงสามารถบินในที่มืดโดยไม่ชนสิ่งกีดขวางเลย?• ประโยชน์และโทษของคา้ งคาว• บรรณานุกรม 3

วดั เขาช่องพรานอาเภอโพธาราม จงั หวดั ราชบุรี 4

ประวตั คิ วามเป็ นมาของวดั เขาช่องพราน• วดั เขาช่องพรานมปี ระวตั ศิ าสตร์ทย่ี าวนานมาต้งั แต่อดตี จนถงึ ปัจจุบัน เป็ นทศ่ี ักด์สิ ิทธ์ ซึ่งเป็ นท้งั วดั และสถานทเ่ี ทย่ี ว เมอ่ื สมยั ก่อนพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช พระองค์ทรงรับสั่งให้พระยาอนิ ทรอภยั ยกกาลงั ไปต้งั รักษาหนองนา้ ที่เขาช่องพราน(ซึ่งบดั นีท้ างวดั ได้บูรณะให้เป็ นสระนา้ ประวตั ศิ าสตร์) และกองทพั พม่ากใ็ ช้ช่องเขานีเ้ ป็ น ทางลาเลยี งเสบียงอาหารด้วย• วดั เขาช่องพรานจงึ เป็ นวดั ที่ก่อต้งั มานานมากจนกระทงั่ ในปี พ.ศ.2409 ปลายรัชสมัยพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้บริจาคทด่ี นิ ร่วมกบั ชาวบ้านในละแวกน้ัน และได้ริเร่ิมบูรณะเพม่ิ เตมิ การก่อสร้างวดั เขาช่องพรานขนึ้ มาใหม่ ซึ่งในขณะน้ันมพี ระครูรามญั บด(ี อาจารย์ศาลา)เป็ นเจ้าอาวาส และญาตมิ ติ ร เชื้อสายชาวรามญั ในละแวก บ้านเตาปูนและใกล้เคยี ง ร่วมกนั บูรณะก่อสร้างวดั เขาช่องพรานจนเสร็จ ในต้นรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวในรัชกาลท5่ี ในปี พ.ศ.2415• ที่ต้งั ของวดั น้ันมีอาณาบริเวณกว้างขวางและงดงามมาก ทิศเหนือจดเขาช่องพราน ทิศใต้จดเขาขวาง ทศิ ตะวนั ออกจดเขาแก่นจนั ทร์• ที่มาของช่ือเขาช่องพราน กค็ อื บริเวณนีเ้ ดมิ ที เป็ นป่ าอุดมสมบูรณไปด้วยพนั ธ์ุพชื และสัตว์ป่ า ต้งั อยู่ระหว่างเขาสองลูกคอื เขาช่องพรานและเขาขวาง ซ่ึงเป็ นทางเดนิ ของสัตว์ ป่ าทีล่ งมากนิ นา้ ทีห่ นองนา้ ขนาดใหญ่(ปัจจุบนั เป็ นบ่อนา้ ) ทต่ี รงนีเ้ องทนี่ ายพรานชอบมาคอยดกั ยงิ สัตว์ป่ าจงึ ถูกขนานนามว่า “เขาช่องพราน”• ท่วี ดั ยงั มี ถา้ พระนอน เป็ นถา้ ทเ่ี กดิ จากหินปูน สูงจากพนื้ 30 เมตร ปากถา้ กว้าง 2 เมตร มีลกั ษณะคล้ายห้องโถงขนาดใหญ่ กว้าง 60 เมตร ยาว 100 เมตร ลกึ ประมาณ 60 เมตรมีเนือ้ ทปี่ ระมาณ 77 ไร่ ลกึ ลงไปจนถงึ ใจกลางถา้ พบรอยพระพทุ ธบาท รายล้อมไปด้วยพระพทุ ธรูปปางไสยาสน์องค์ใหญ่ ซ่ึงเป็ นองค์ประธาน จงึ เรียกถา้ นีว้ ่า “ถา้ พระ” ส่ิงสาคญั คอื มีค้างคาวตวั เลก็ ๆเข้าไปอยู่อาศัยจานวนนับร้อยล้านตวั จนพลบคา่ ประมาณ 18.00 น. ของทุกวนั จะเห็นภาพค้างคาวนับล้านๆตวั บนิ ออกจากถา้ เป็ นริ้วขบวนนานนับชั่วโมง เป็ นภาพสวยงามและแปลกตา จวนจนฟ้ าสางฝูงค้างคาวจงึ บนิ กลบั เข้าถา้ 5

ค้างคาว-สัตว์ปริศนา ชื่อเรียก BAT? ลกึ ลบั ? ลกั ษณะทเ่ี หมอื นสัตว์หลายชนิดรวมกนั ?คาว่า ค้างคาวตรงกบั bat ใน ค้างคาวตวั แรกจะถอื กาเนิดบนโลกเมื่อ 50 ล้านปี เมื่อ 800 ปี ก่อน ตาราชีววทิ ยามีเขยี นภาษาองั กฤษ ซึ่งมรี ากศัพท์จากคา ก่อน แต่การทม่ี ันชอบบนิ ออกหาอาหารในยาม เกย่ี วกบั ค้างคาวว่า มีปี กเหมือนนก แต่ปากมีblake ในภาษาเดนมาร์ก ที่แปลว่า บิน โพล้เพล้ และบนิ กลบั มาพกั ผ่อนและนอนในถา้ ใน ฟัน มีหูเหมือนหมู ไม่ฟักไข่ แต่ออกลูกเป็ นหรือกระพอื ปี ก ยามฟ้ าสาง ทาให้ผู้คนแทบไม่รู้จกั ธรรมชาตทิ ี่ ตวั และเลยี้ งลูกด้วยนม แท้จริงของค้างคาวเลย 6

ข้อมูลทางชีววทิ ยาของค้างคาว• คา้ งคาว เป็นสตั วใ์ นอนั ดบั Chiroptera ท่ีแปลวา่ มือที่ทาหนา้ ท่ีปี ก เป็นสตั วส์ งั คม คือชอบใชช้ ีวติ เป็นกลุ่ม เวลาพกั ผอ่ นมนั จะใชเ้ ลบ็ ยดึ เกาะเพดานถ้า แลว้ หอ้ ยหวั ลง การอยทู่ ี่สูงทาใหส้ ตั วท์ ่ีบินไม่ไดไ้ ม่สามารถทาร้ายมนั ได้ เพราะเวลาสตั วศ์ ตั รูที่บินไดบ้ ินเขา้ มาทาร้าย เพียงมนั ปล่อยกรงเลบ็ ตวั มนั จะตกลงเลก็ นอ้ ย แลว้ มนั จะใชป้ ี กกระพือ หนีไดใ้ นทนั ที ถึงคา้ งคาวจะบินไม่ไดเ้ ร็วเท่าเหยย่ี ว แต่มนั กม็ ิไดต้ กเป็นอาหารเหยยี่ วบ่อย เพราะเหยย่ี วออกหาอาหารในเวลากลางวนั ส่วนมนั บินออกหาอาหารในเวลา กลางคืน ถึงกระน้นั คา้ งคาวกม็ ีศตั รู เช่น นกเคา้ แมว และคนป่ าท่ีชอบฆ่ามนั เป็นอาหาร 7

ลกั ษณะท่วั ไปของค้างคาว• จดั เป็นสตั วเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนม (สตั วเ์ ลือดอุ่น) มีขนทวั่ ตวั ขาหนา้ เปลี่ยนเป็นปี กที่มีแผน่ พงั ผดื บางๆ โยงระหวา่ งนิ้วจากขาหนา้ จนถึงขาหลงั ขาหลงั ส้นั จดั เป็นสตั วท์ ่ีมีนิ้วยาว ท่ีสุดในโลก (เม่ือเทียบกบั ขนาดลาตวั ) มีกรงเลบ็ และฟันที่แหลมคม หวั ใจมี 4 หอ้ ง ลกั ษณะใบหนา้ ของคา้ งคาวมีหลายแบบ เช่น คลา้ ยหนา้ หมา หนา้ ยกั ษ์ หนา้ หมู และ พวกท่ีมีใบหนา้ และหวั ที่ค่อนขา้ งแบน เป็นตน้ 8

ทอ่ี ยู่อาศัย• มกั อาศยั อยรู่ วมกนั เป็นฝงู ส่วนมากจะอาศยั อยตู่ ามถ้าเขาหินปนู ที่มืดและทึบ นอกจากน้ียงั อาศยั อยตู่ ามเพดานของหลงั คาโบสถเ์ ก่าๆ ตามวดั โพรงไม้ ร่มเงามืดๆ ตามป่ าเขา ในไร่ในสวน หรือตามซอกโขดหินและชะง่อนผา 9

ทาไมค้างคาวจงึ ห้อยหัว• เนื่องจากคา้ งคาวมีขาและองุ้ เทา้ เลก็ ไม่ไดส้ ดั ส่วนกบั ขนาดของร่างกาย จึงทาใหม้ นั ไม่สามารถยกตวั ข้ึนต้งั เกาะแลว้ นอนอยา่ งพวกนกได้ ประกอบกบั แรงดึงดูดของโลกท่ีมี ต่อน้าหนกั ของคา้ งคาวน้นั มีมากกวา่ ความแขง็ แรงของอุง้ เทา้ และกลา้ มเน้ือขา จึงทาใหม้ นั ตอ้ งหอ้ ยหวั ลง หวั เข่าของคา้ งคาวจึงตอ้ งหมุนไปอยดู่ า้ นหลงั เวลาที่ตอ้ งการบินจึง สามารถใชป้ ี กบินไดท้ นั ที• ถา้ มนุษยห์ รือสตั วอ์ ่ืนๆนอนหอ้ ยหวั ลงมาเป็นเวลานาน อาจทาใหเ้ ลือดไหลมาที่สมองแลว้ ตายได้ แต่คา้ งคาวมีระบบไหลเวยี นเลือดท่ีต่างออกไปจากสตั วอ์ ื่นคือ ตามปกติแลว้ ร่างกายจะมีลิ้นที่ใชป้ ิ ดเปิ ดเลือดอยภู่ ายในเสน้ เลือดแดงใหญ่เพอ่ื คอยควบคุมไม่ใหก้ ระแสเลือดไหลยอ้ น แต่ลิ้นปิ ดเปิ ดระบบกระแสเลือดในส่วนลาคอของคา้ งคาว จะทา หนา้ ท่ีพเิ ศษบงั คบั ไม่ใหเ้ ลือดไหลกลบั ลงมามากจนเกิดเลือดคลง่ั ในสมอง อีกประการหน่ึงคือหวั ใจของคา้ งคาวจะทาหนา้ ที่สูบฉีดเลือดใหค้ ่อยและชา้ ลงกวา่ ปกติอีกดว้ ย จึงทา ใหม้ นั สามารถนอนหอ้ ยหวั ได้ 10

ทาไมค้างคาวจึงสามารถบนิ ในที่มดื โดยไม่ชนส่ิงกดี ขวางเลย?• คา้ งคาวจะส่งเสียงท่ีเรียกวา่ “เสียงอุลตร้าโซนิก” (เสียงที่มีความถ่ีสูงมากจนหูของมนุษยไ์ ม่สามารถไดย้ นิ )ออกมา เมื่อคล่ืนเสียงอุลตร้าโซนิกน้ีไปกระทบอะไรเขา้ กจ็ ะ สะทอ้ นกลบั มายงั หูของมนั ที่มีความพเิ ศษ กล่าวคือ มนั สามารถบอกไดว้ า่ คลื่นเสียงที่มนั เปล่งไปกระทบน้นั ไปกระทบกบั อะไร เหยอื่ หรือศตั รู ห่างออกไปแค่ไหน ทิศทางใด เคลื่อนที่ไดร้ วดเร็วเพยี งใด วธิ ีการส่งและรับเสียงของคา้ งคาวน้ีนกั วทิ ยาศาสตร์เรียกวา่ “เอโคโลเคชนั่ ” (ระบบเสียงสะทอ้ นที่บอกตาแหน่งของวตั ถุที่เสียงน้นั ไปกระทบได้ อยา่ งถูกตอ้ ง) ดงั น้นั ในการบินของคา้ งคาวจึงไม่ตอ้ งอาศยั นยั นต์ าเลย• แต่กม็ ีอยทู่ ่ีหน่ึงที่คา้ งคาวไม่สามารถใชเ้ สียงสะทอ้ นได้ นน่ั กค็ ือภายในบริเวณถ้าท่ีพกั อาศยั ของมนั ท้งั น้ีอาจเป็นเพราะมนั เกาะอยรู่ วมกนั มากๆ เสียงที่ร้องจึงรบกวนกนั เอง หมด 11

ประโยชน์และโทษของค้างคาว• คุณประโยชนข์ องคา้ วคาว• 1. คา้ งคาวกินแมลงช่วยทาลายแมลงท่ีเป็นศตั รูต่อพืชผลทางการเกษตร• 2. มลู ของคา้ งคาวสามารถใชท้ าป๋ ุยได้• 3. คา้ งคาวกินน้าหวานช่วยผสมเกสรดอกไมซ้ ่ึงส่วนใหญเ่ ป็นพวกพชื เศรษฐกิจ เช่น กลว้ ย ทุเรียน ฝร่ัง ชมพู่ มะพร้าว เป็นตน้• โทษของคา้ งคาว• 1. คา้ งคาวกินผลไมท้ าลายพืชและผลไม้ สร้างความเสียหายแก่ชาวสวน• 2. เป็นพาหะนาโรค เช่นโรคคลา้ ยโรคกลวั น้า เช้ือไวรัส และนอกจากน้ียงั มีตวั ปรสิตที่ทาใหเ้ กิดโรคเหงาหลบั ในมนุษยแ์ ละสตั วเ์ ล้ียง• 3. คา้ งคาวแวมไพร์สร้างความเสียหายแก่ปศุสตั วแ์ ละสตั วเ์ ล้ียง กล่าวคือ สตั วท์ ่ีถูกกดั จะออ่ นแอ โตชา้ และมีโรคแทรก บางคร้ังกต็ าย 12

บรรณานุกรม• http://tweetboard.me/internal-anatomy-of-bats• https://zooacademy.wordpress.com/2011/12/16/%E0%B8%84%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8 %87%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B8%A7/• https://pop3737.wordpress.com/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88- 1/• http://www.scimath.org/lesson-biology/item/7125-2017-06-04-07-47-27• http://farm4.static.flickr.com/3229/3364122953_4dc6597bf7.jpg• https://qph.ec.quoracdn.net/main-qimg-8018716ae6d1f8962ed0e21f752472f5 13


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook