Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการดำเนินงาน

รายงานการดำเนินงาน

Published by maneetep_km, 2021-09-14 13:05:29

Description: รายงานการดำเนินงาน

Search

Read the Text Version

ก รายงาน การมีส่วนร่วมของชมุ ชนในการเฝ้ าระวงั และการดแู ลผปู้ ่ วย โควิด-19ระลอกใหม่ในศนู ยด์ แู ลผปู้ ่ วยโควิด-19ชมุ ชน โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลกนั ตวจระมวล อาเภอปราสาท จงั หวดั สรุ นิ ทร์

ข สารบัญ หน้า บทคดั ยอ่ ............................................................................................................................................ 1 บทที่ 1 บทนา......................................................................................................................................2 ความเป็นนมาและความสาคญั ของปัญหา.................................................................................................3 วตั ถุประสงค.์ .......................................................................................................................................5 ขอบเขต...............................................................................................................................................6 ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ....................................................................................................................6 บทที่ 2 เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง.....................................................................................................................7 กรอบแนวคดิ .......................................................................................................................................7 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินการ............................................................................................................................8 วธิ ีการดาเนินการ..................................................................................................................................8 ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง....................................................................................................................9 เคร่ืองมือท่ีใช.้ ....................................................................................................................................10 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล........................................................................................................................10 การวเิ คราะห์ขอ้ มูลทางสถิติ................................................................................................................11 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน....................................................................................................................12 บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ..............................................................................................................20 ภาคผนวก........................................................................................................................................................25

1 การมสี ่วนร่วมของชุมชนในการเฝ้าระวงั และการดูแลผู้ป่ วยโควดิ -19 ระลอกใหม่ในศูนย์ดูแล ผู้ป่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตรวจระมวล อาเภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ นายอนนั ต์ โชติสิรินนั ท์ นางวชั ราพร มณีเทพ / นางสาวสุวมิ ล สญั จรดี นางสนั ตฤ์ ทยั เกรียงไกรนิธิกลุ รพ.สต.กนั ตวจระมวล บทคดั ย่อ การศึกษาคร้ังน้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อเพื่อศึกษารูปแบบการเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควิด -19 ระลอกใหม่ในศูนยด์ ูแลผูป้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล (CCC : Covid Care Center )มีข้นั ตอน การศึกษาเป็ น 4 ข้นั ตอน ดงั น้ีข้นั ที่ 1 การวางแผน (Planning) ไดแ้ ก่1)การศึกษาบริบท 2) คดั เลือกผูเ้ ขา้ ร่วม/การ รวบรวมข้อมูล3) การประชุมเชิงปฏิบัติการ ข้นั ท่ี 2 การปฏิบตั ิการ (Action) ได้แก่ 4)ดาเนินกิจกรรมตาม แผนปฏิบตั ิการ ดงั น้ี ประชุมเชิงปฏิบตั ิการวางแผนเร่ืองการจดั ต้งั ศูนย์ดูแลผูป้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนตาบล กนั ตวจระมวล และกิจกรรมใหค้ วามรู้และการปฏิบตั ิยอ้ นกลบั ไดแ้ ก่ ชีวิตวถิ ีใหม่ มาตรการ D-M-H-T-T และ แนวทางการรักษาของแพทย์ การบริหารปอดขณะติดเช้ือโควิด -19 การบริหารสมองเป็ น 2 เท่า การประเมิน สุขภาพจิตดว้ ยแบบสอบถาม 2 คาถาม 9 คาถาม และ 8 คาถาม Mental check in การเสริมสร้างวคั ซีนใจ การออก กาลังกาย ก้าวท้าใจ / แอโรบิค ข้นั ที่ 3 การสังเกต (Observation) ได้แก่ 5) กิจกรรมการวิเคราะห์ปัญหา กระบวนการทางาน 6)กิจกรรมการวางแผนแกไ้ ขปัญหา 7)กิจกรรมการดาเนินการและติดตามผลการดาเนินงาน ข้นั ท่ี 4 การสะทอ้ นผล (Reflection) ไดแ้ ก่ 8) การจดั เวทีสะทอ้ นผล ติดตามผลการปฏิบตั ิ ถอดบทเรียนที่ไดจ้ าก การปฏิบตั ิงาน เพ่อื หาปัจจยั ความสาเร็จ ผลการดาเนินการสรุปไดด้ งั น้ีชุมชนไม่ยอมรับให้ผปู้ ่ วยติดเช้ือโควิด -19 พกั รักษาตวั ในบา้ น (Home Isolation) การส่งมอบยาฟ้าทะลายโจรจากรพ. แมข่ า่ ยล่าชา้ และมาตรการ DMHTT ยงั ไมเ่ ขม้ ขน้ หลงั การ ดาเนินงานพบวา่ ทอ้ งถิ่นและทุกภาคส่วนทราบแนวทางการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ในชุมชน ผปู้ ่ วยติดเช้ือโควดิ -19 ไดร้ ับการรักษาตามนาวทางการรักษาผปู้ ่ วยโควดิ -19 ไม่มีภาวะแทรกซอ้ นและไม่เสียชีวิตไม่มีคลสั เตอร์ใหม่ใน ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล นวตั กรรมการดูแลผปู้ ่ วยติดเช้ือโควดิ –19 ในศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบล

2 กนั ตวจระมวล (CCC : Covid Care Center ) กิจกรรมใหค้ วามรู้ ชีวติ วถิ ีใหม่ มาตรการ D-M-H-T-T และแนวทาง การรักษาของแพทย์ การบริหารปอดขณะติดเช้ือโควิด -19 การบริหารสมองเป็ น 2 เท่า การประเมินสุขภาพจิต Mental check in การเสริมสร้างวคั ซีนใจ และการออกกาลงั กาย กา้ วทา้ ใจ / แอโรบิค และผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล เชิงปริมาณ สามารถจาแนกผลการวเิ คราะห์เชิงปริมาณก่อนและหลงั การพฒั นาของกลุ่มเป้าหมาย ดงั น้ี ขอ้ มูล ทวั่ ไป ไดแ้ ก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดบั การศึกษา อาชีพ รายไดเ้ ฉล่ียต่อเดือนพบวา่ กลุ่มตวั อยา่ งเป็ นเพศ หญิงมากที่สุด ร้อยละ 52 เพศชาย ร้อยละ 48 อายุ 30-49 มากท่ีสุดร้อยละ 54 สถานถาพสมรส มากท่ีสุด ร้อยละ 90 ระดบั การศึกษามธั ยมศึกษาตอนปลายมากท่ีสุด ร้อยละ 84 ประกอบอาชีพคา้ ขายมากที่สุด ร้อยละ 36 และ พบวา่ มีบุคคลกลุ่มเปราะบางที่มีความเส่ียงตอ่ การติดเช้ือไวรัสโควดิ -19ในครอบครัวมากที่สุดร้อยละ 96 ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมการป้องกนั ตนเองจากการติดเช้ือไวรัสโควดิ -19 จานวน 15 ขอ้ พบวา่ คะแนนเฉลี่ยหลงั เขา้ ร่วมกิจกรรมอยใู่ นระดบั มาก ร้อยละ80 ระดบั ปานกลางร้อยละ 20 ความพึงพอใจพบว่า ด้านเจ้าหน้าท่ีผู้ ให้บริการ เจา้ หน้าที่ให้คาแนะนา ตอบขอ้ ซักถามไดอ้ ย่างชดั เจน ถูกตอ้ ง น่าเช่ือ ระดบั มากท่ีสุด ร้อยละ 70 เจ้าหน้าที่สามารถแก้ปัญหา อุปสรรค ที่เกิดข้ึนได้อย่างเหมาะสมระดับมากท่ีสุดร้อยละ 80 เจ้าหน้าท่ีให้ คาแนะนา ตอบขอ้ ซกั ถามไดอ้ ยา่ งชดั เจน ถูกตอ้ ง น่าเชื่อ ระดบั มาก ร้อยละ 60และเจา้ หนา้ ที่ใหบ้ ริการดว้ ยความ เต็มใจ รวดเร็ว และเอาใจใส่ระดบั มากท่ีสุด ร้อยละ 80 ดา้ นกระบวนการข้นั ตอนการให้บริการ ช่องทางการ ใหบ้ ริการที่เหมาะสม ระดบั มากที่สุด ร้อยละ 80 ระบบบริการทางการแพทย์ รถรับ-ส่งเพ่อื เอก็ เรย์ และตรวจ RT- PCR ระดบั มากที่สุด ร้อยละ 60 กิจกรรมการพยาบาลผา่ นทาง group Line application ระดบั มาก ร้อยละ 70 และ กิจกรรมประเมินสุขภาพจิต กิจกรรมบริหารปอด ฝึ กหายใจ ฝึ กการไออย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรมบริหาร สมองเป็ น 2 เท่า ระดบั มากร้อยละ 80 และด้านส่ิงอานวยความสะดวก พบว่าลกั ษณะตวั อาคารท่ีพกั สะอาด มน่ั คงและปลอดภยั ระดบั มากที่สุดร้อยละ 76 เคร่ืองมืออุปกรณ์อานวยความสะดวกเพยี งพอ ระดบั มากท่ีสุดร้อย ละ 60 และเคร่ืองมืออุปกรณ์อานวยความสะดวกเพียงพอ พบวา่ ระดบั มากที่สุด ร้อยละ 60 ศูนยด์ ูแลผูป้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวลเม่ือไม่มีผูป้ ่ วย โควิด-19 แล้ว ให้คงไวเ้ พื่อรับ ผปู้ ่ วยท่ีมีผลAntigen test kid เป็นผลบวก ใหม้ าพกั คอยเพอื่ รอผลยนื ยนั การตรวจดว้ ยวธิ ี RT-PCR คาสาคญั : ศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชน,การมีส่วนร่วมของชุมชน,การเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19

3 บทท่ี 1 บทนา ความเป็ นมาและความสาคญั ของปัญหา โรคโควดิ -19 (Corona Virus Disease , COVID-19) คือโรคติดต่อซ่ึงเกิดจากไวรัสโคโรนาชนิดท่ีมีการ คน้ พบล่าสุด เป็ นโรคอุบตั ิใหม่หรือไวรัสโคโรนาสายพนั ธุ์ใหม่ (Novel coronavirus) ท่ีทาให้เกิดโรคระบบ ทางเดินหายใจต้งั แต่โรคหวดั ธรรมดาจนถึงปอดอกั เสบ (pneumonia) ท่ีมีอาการรุนแรง เช่น โรคทางเดินหายใจ ตะวนั ออกกลาง (MERS) และโรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลนั ร้ายแรง (SARS)(1-2) ปัจจุบนั องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) ประกาศยกระดบั โรคโควิด-19 เป็ นการระบาดใหญ่ หรือระยะ Pandemic จากการแพร่ระบาด ลุกลามไปทวั่ โลก ทาให้อัตราการป่ วยและเสียชีวิตเพิ่มสูงข้ึนอย่างมาก และมีการระบาดในวงกวา้ งใน สาธารณรัฐประชาชนจีน ต้งั แต่เดือน ธนั วาคม 2562 เป็นตน้ มา โดยเริ่มจากเมืองอูฮ่ น่ั มณฑลหูเป่ ย์ จนถึงปัจจุบนั (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 13 ตุลาคม 2563) มีการรายงานผปู้ ่ วยยนื ยนั ทว่ั โลกรวม 214 ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษ 1 นคร รัฐ เรือ Diamond Princess 2 เรือ Grands Princess และเรือ MS Zaandam และมีการแพร่เช้ืออย่างรวดเร็วไปยงั ประเทศต่างๆ ในทุกภูมิภาค ขยายตวั ไปทว่ั โลก ในลกั ษณะการระบาดใหญ่ (Pandemic) องคก์ ารอนามยั โลกได้ ประเมินสถานการณ์ และเห็นวา่ การระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 แพร่กระจายไดอ้ ยา่ งรวดเร็วจน น่ากงั วล ในวนั ที่ 30 มกราคม 2563 องคก์ ารอนามยั โลกจึงไดป้ ระกาศให้โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เป็ น ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหวา่ งประเทศ (Public Health Emergency of International Concern) และแนะนา ทุกประเทศใหเ้ ร่งรัดการเฝ้าระวงั ป้องกนั และควบคุมโรค ซ่ึงถือวา่ มีความเส่ียงดา้ นสาธารณสุขต่อทุกประเทศ ทวั่ โลก และมีผลกระทบในการแพร่ระบาดสูง ในปัจจุบนั ประเทศต่าง ๆ กาลงั ดาเนินความพยายามอยา่ งเต็มที่ เพ่ือเฝ้าระวงั ป้องกนั การนาเช้ือเขา้ จากต่างประเทศ และควบคุมการระบาดในประเทศ ท้งั น้ีโรคสามารถติดต่อ โดยผ่านทางการไอ จาม การสัมผสั โดยตรงกบั สารคดั หลงั่ ของของคน และสัตวท์ ่ีอาจเป็ นแหล่งรังโรค ซ่ึง ขณะน้นั ยงั ไม่มีวคั ซีนป้องกนั (อยรู่ ะหวา่ งการศึกษาวิจยั ทดลองใช)้ ส่วนยารักษาจาเฉพาะยงั คงอยู่ในระหวา่ ง การศึกษาวิจยั เช่นกนั ประเทศไทยไดด้ าเนินการป้องกนั และควบคุมโรคอยา่ งต่อเนื่อง โดยเร่ิมตรวจคดั กรอง อุณหภูมิผเู้ ดินทาง ที่ด่านควบคุมโรคระหวา่ งประเทศ ต้งั แตว่ นั ท่ี 3 มกราคม 2563 หลงั จากท่ีประเทศจีนประกาศ แจง้ เตือนว่าพบการ ระบาดของโรคปอดอกั เสบไม่ทราบเช้ือสาเหตุในเมืองอู่ฮนั่ มณฑลหูเป่ ย์ ช่วงปลายเดือน

4 ธนั วาคม พ.ศ. 2562 ทาให้ สามารถตรวจจบั ผปู้ ่ วยชาวจีนรายแรกท่ีนาเช้ือเขา้ สู่ประเทศไทยไดอ้ ยา่ งรวดเร็วต้งั แต่ วนั ที่ 8 มกราคม 2563 หลงั จากน้นั พบผปู้ ่ วย วนั ท่ี 31 มกราคม 2563 ประเทศไทยมีรายงานผปู้ ่ วยชาวไทยรายแรก อาชีพขบั รถแทก็ ซี่ ซ่ึงไม่เคยมีประวตั ิเดินทางไปต่างประเทศ แต่มีประวตั ิขบั รถแท็กซ่ีใหบ้ ริการกบั ผปู้ ่ วยชาวจีน หลงั จากน้ันเป็ นตน้ มา เร่ิมพบผูป้ ่ วยที่ติดเช้ือภายในประเทศไทยเพิ่มข้ึน ในกลุ่มอาชีพเสี่ยงสูงท่ีตอ้ งทางาน ใกลช้ ิดกบั นกั ท่องเท่ียวตา่ งชาติ ไดแ้ ก่ ขบั รถสาธารณะ มคั คุเทศก์ พนกั งานขายของ นอกจากน้ียงั มีคนไทยที่ป่ วย ภายหลงั กลบั จากเดินทางไป ท่องเท่ียวต่างประเทศ การป่ วยดว้ ยโรคโควิด-19 ในคนไทยเหล่าน้ี ทาให้เกิดการ แพร่เช้ือต่อไปยงั ผูส้ ัมผสั ใกล้ชิด โดยเฉพาะคนในครอบครัว อย่างไรก็ตามกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง ไดท้ าการคน้ หาและ ติดตามผสู้ ัมผสั อยา่ งรวดเร็ว จนสามารถควบคุมใหก้ ารระบาดยงั อยู่ ในวงจากดั ได้ กลางเดือนมีนาคม พบกลุ่มคนไทยป่ วยจานวนมากใน 2 เหตุการณ์ ไดแ้ ก่ การแพร่ระบาดในสถาน บนั เทิง และการแพร่ระบาดในสนามมวย 3 แห่ง ท้งั สองเหตุการณ์ทาให้เกิดการแระบาดไปสู่คนใกลช้ ิดท้งั ใน ครอบครัว สถานที่ทางาน และสถานศึกษาอีกจานวนมาก และแพร่กระจายไปในจงั หวดั อ่ืน ๆ ทวั่ ประเทศ จานวนผูป้ ่ วย เพิ่มข้ึนอยา่ งรวดเร็วประมาณ 150 - 200 รายต่อวนั รัฐบาลจึงมีการประกาศใชพ้ ระราชกาหนดการ บริหารราชการ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2558 เม่ือวนั ที่ 26 มีนาคม 2563 และออกประกาศที่สาคญั เพ่ือการ ป้องกนั ควบคุม โรค ไดแ้ ก่ การปิ ดพรมแดนระหวา่ งประเทศโดยเฉพาะท่าอากาศยาน การชะลอการเดินทางขา้ ม จงั หวดั การจากดั เวลาเขา้ ออกเคหะสถาน และการปิ ดสถานท่ีตา่ ง ๆ ทาใหจ้ านวนผปู้ ่ วยติดเช้ือในประเทศลดลง ไปเร่ือย ๆ และเริ่มมี การผ่อนปรนมาตรการต่าง ๆ ผูป้ ่ วยยืนยนั ณ วนั ท่ี 19 พ.ค. 64 ระยะสิ้นสุดเหตุการณ์มี จานวนผปู้ ่ วยท้งั สิ้น 3,025 ราย เสียชีวติ 56 ราย การระบาดในระลอกท่ี 2 ต้งั แต่กลางเดือน ธ.ค.63 - 15 เม.ย. 64 ซ่ึงเกิดจากแรงงานคนไทยท่ีเดินทางกลบั จากประเทศเมียนมาตรวจพบเช้ือ แรงงานเมียนมาที่ทางานในตลาด กลางกุง้ จ.สมุทรสาคร และแพร่ระบาดมายงั พ่อคา้ แม่คา้ ในตลาด และเชื่อมโยงไปตลาดไทย และอีกหลาย จงั หวดั ท่ีมีผูเ้ ดินทางมายงั จงั หวดั สมุทรสาครและไดร้ ับ เช้ือกลบั ไป ทาใหม้ ีผปู้ ่ วยยนื ยนั เพ่ิมมากข้ึนขา้ งเคียง เร่ิม จากกรุงเทพมหานคร นครปฐม สมุทรปราการ ระยอง และ จงั หวดั อื่น ๆ รวมท้งั สิ้น 35 จงั หวดั สถานการณ์ โดยรวมเม่ือเร่ิมเกิดเหตุการณ์ณ วนั ที่ 31 มีนาคม 2564 พบผปู้ ่ วย ยนื ยนั จาก 4246 ราย เสียชีวติ 60 ราย จนกระทงั่ มีผูป้ ่ วยยืนยนั ท้งั สิ้น 35,910 ราย เสียชีวิต 97 ราย ระลอกที่ 3 ช่วง 15 เม.ย. 2564 - ปัจจุบนั เริ่มจากผูป้ ่ วยยืนยนั 37,453 ราย เสียชีวิต 97 ราย เริ่มมีการ แพร่ระบาดจากกลุ่มวยั ทางานไปเท่ียวในสถานบนั เทิง ผบั บาร์ ในย่าน ทองหล่อ กรุงเทพ และกระจายไปหลาย จงั หวดั จานวนผปู้ ่ วยและจากการวเิ คราะห์รูปแบบของการแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ระลอก ใหม่ มีความ แตกต่างจากการระบาดในระลอกแรก ท้งั ในแง่ความ รวดเร็วของการแพร่ระบาดของเช้ือ และความ รุนแรง จะเห็นไดจ้ าก ในปัจจุบนั จานวนผูต้ ิดเช้ือจากการแพร่

5 ระบาดระลอกใหม่รายวนั มีเฉลี่ย 175 รายต่อวนั ในขณะท่ีการระบาดในระลอก แรก พบผูต้ ิดเช้ือเฉล่ีย 15 ราย ต่อวนั แต่ยงั ไม่ผูเ้ สียชีวิตจากการระบาดระลอกใหม่ ในขณะท่ีการระบาดในระลอกแรก พบผูเ้ สียชีวิต 60 ราย นอกจากน้ี ในปัจจุบนั รูปแบบของการระบาดในระลอก ใหม่ เริ่มเปล่ียนแปลงจากการระบาดเป็ นกลุ่มกอ้ น มา เป็นการติดเช้ือภายในครัวเรือนหรือผสู้ ัมผสั ใกลช้ ิด ซ่ึงส่วน ใหญ่ เกิดจากการสัมผสั ผตู้ ิดเช้ือท่ีไม่มีอาการดงั น้นั รูปแบบการควบคุมโรค ตอ้ งมีความรวดเร็ว สามารถควบคุม การแพร่เช้ือแบบกลุ่มกอ้ น หรือในฝูงชนแออดั มี มาตรการที่จะสามารถตรวจจบั การแพร่ระบาดในกลุ่มกอ้ นใหม่ รวมถึงมีความเขม้ ขน้ ของมาตรการเวน้ ระยะห่าง ทางสงั คม เพ่อื จากดั การแพร่ระบาดใหอ้ ยใู่ นวงเลก็ ท่ีสุด สถานการณ์การระบาดในพ้ืนท่ีตาบลกนั ตรวจระมวลเริ่มตน้ จากมีผูป้ ่ วยรายแรก เดือนมิถุนายน 2564มี ประวตั ิเดินทางจากพ้ืนที่เส่ียง มีอาการ ไข้ ไอ น้ามูก ตรวจพบติดเช้ือโควดิ -19 มีผสู้ ัมผสั เสี่ยงสูง 3 คน รายที่ 2 เคสสัมผสั เส่ียงสูงจากท่ีทางานไดร้ ับการกกั ตวั และมีผลตรวจยืนยนั ติดเช้ือในรอบที่ 2 มีผูส้ ัมผสั เส่ียงสูง 28 คน และตรวจพบติดเช้ือเพ่มิ 3 คน และมีผสู้ ัมผสั เส่ียงสูงจากคลสั เตอร์น้ี 108 คน รายท่ี 3 เดินทางจากจงั หวดั ควบคุม สูงสุด เขา้ พ้ืนท่ีและไม่กกั ตวั มีผตู้ ิดเช้ือเพ่ิม 4 คน ผสู้ ัมผสั เสี่ยงสูง 84 คน และติดเช้ือเพม่ิ 5 คน ในกลุ่มติดเช้ือ 5 คนน้ี มีผูส้ ัมผสั เส่ียงสูงถึง 48 คน นอกจากน้ันมีกลุ่มผูต้ ิดเช้ือจากต่างจังหวดั ประสงค์เข้ารับการรักษาท่ี โรงพยาบาลปราสาท ทาให้มียอดการครองเตียงสูง และจานวนเตียงไม่เพียงพอ ต่อการรักษาผูป้ ่ วย จึงมีการ ดาเนินการจดั ต้งั ศูนยด์ ูแลโควิดชุมชน COVID -19 Care center : CCC ข้ึน ในพ้ืนที่ตาบลกนั ตวจระมวลเพื่อ รักษาและพกั คอยเตียงสาหรับผูป้ ่ วยติดเช้ือโควิด 19 ในจานวน 77 คน กลุ่มผูป้ ่ วยน้ี ไม่มีการแพร่ระบาด เป็นคลสั เตอร์ใหมใ่ นชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล วตั ถุประสงค์เฉพาะ เพอ่ื ศึกษารูปแบบการเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ระลอกใหม่ในศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล (CCC : Covid Care Center ) วตั ถุประสงค์ทว่ั ไป 1. เพอ่ื ศึกษาสถานการณ์การดาเนินงานและสภาพปัญหาการเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ระลอก ใหมใ่ นศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล 2. เพอื่ สังเคราะห์รูปแบบการเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ระลอกใหมใ่ นศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล

6 3. เพ่ือรองรับผปู้ ่ วยโควดิ - 19 ท่ีไม่มีอาการหรือมีอาการนอ้ ย ไม่ตอ้ งใชอ้ อกซิเจนรักษาและผปู้ ่ วยพน้ ระยะ การแพร่เช้ือมาพกั คอยเพ่ือให้ครบระยะเวลาการรักษา 4. เพอ่ื ประเมินผลการทดลองใชร้ ูปแบบการเฝ้าระวงั การดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ระลอกใหม่ในศูนยด์ ูแล ผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล ขอบเขต การศึกษาคร้ังน้ีศึกษาท่ีศูนย์ดูแลผูป้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนตาบลกันตวจระมวล อาเภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ ระยะการศึกษา จานวน 4 สปั ดาห์ (1 สิงหาคม 2564- 30 กนั ยายน 2564) ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ 1. ทราบขอ้ มูลสถานการณ์การดาเนินงานการเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ระลอกใหม่ในศูนย์ ดูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตรวจระมวล อาเภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ 2.ไดร้ ูปแบบแนวทางการดาเนินงานการเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควิด-19 ระลอกใหม่ในศูนยด์ ูแล ผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตรวจระมวล อาเภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ 3.หน่วยงานหรือผูท้ ี่เก่ียวขอ้ งสามารถนาแนวทางการเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ระลอกใหม่ ในศูนยด์ ูแลผูป้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนตาบลกนั ตรวจระมวล อาเภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ไปดาเนินงานหรือ ปรับปรุงการดาเนินงาน ประยกุ ตใ์ ชใ้ นพ้นื ท่ีอื่น หรืองานอื่นได้

7 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง กรอบแนวคดิ การศึกษาคร้ังน้ีเป็ นการศึกษาเชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research-PAR) ของชุมชนในการเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควิด-19 ระลอกใหม่ในศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบล กนั ตวจระมวล อาเภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ กรอบแนวคดิ ระยะก่อนดาเนินการ ระยะดาเนินการ ระยะประเมนิ ผล ศึกษาสถานการณ์ -มีนโยบายการนาเดินงาน -ประเมินผลกิจกรรมและนโยบาย ใชแ้ บบสมั ภาษณ์ CIPP model -ศึกษาขอ้ มูลสถานการณ์การระบาด กลุ่มผบู้ ริหาร ของโรคโควดิ -19 แนวทางการดูแล ใชแ้ บบสัมภาษณ์ CIPP model กลุ่มผใู้ หบ้ ริการ และรักษา -ประเมินผมู้ ีบทบาทหนา้ ท่ีในการ กลุ่มผรู้ ับบริการ -กาหนดแนวทางการเฝ้าระวงั การดูแล เฝ้าระวงั ช้ีแจงการดาเนินการ ผปู้ ่ วยโควดิ -19 ระลอกใหม่ และการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ในศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชน -ประเมินผปู้ ่ วยท่ีเขา้ รับการรักษา ตาบลกนั ตวจระมวล -จดั กิจกรรมการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ในศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควิด – 19 ระลอกใหม่ผปู้ ่ วยโควดิ -19 ชุมชน ในศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชน ตาบลกนั ตวจระมวล ตาบลกนั ตวจระมวล ประเมินผปู้ ่ วยโควดิ -19ในเร่ือง ความรู้และพฤติกรรมการป้องกนั การติดเช้ือโควดิ -19 -ความพึงพอใจต่อการดาเนิน กิจกรรมตามแนวทางการพฒั นา -ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ ต่อการดาเนินกิจกรรมตามแนว ทางการพฒั นา ผปู้ ่ วยโควดิ - 19 ไดร้ ับการรักษาและพน้ ระยะการแพร่เช้ือและไมม่ ีผตู้ ิดเช้ือเพ่มิ ในชุมชน

8 บทที่ 3 วธิ ีดาเนินการ เป็ นการดาเนินงานเชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research-PAR) ตามกรอบ แนวคิด Kemmis, and McTaggart (1988) ประกอบด้วย การวางแผน (Planning) การปฏิบตั ิตามแผน (Action) การสังเกตผล (Observation) การสะทอ้ นผล (Reflection) โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วนท่ี เก่ียวขอ้ งมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการเฝ้าระวงั และการดูแลผูป้ ่ วยโควิด -19 ระลอกใหม่ในศูนยด์ ูแล ผูป้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล (CCC : Covid Care Center )โดยกาหนดข้นั ตอนและวิธีการวิจยั ดงั น้ี วธิ กี ารดาเนินการ การดาเนินการคร้ังน้ี ไดแ้ บ่งข้นั ตอนการศึกษาเป็น 4 ข้นั ตอน ดงั น้ี ข้นั ที่ 1 การวางแผน (Planning) ไดแ้ ก่ 1)การศึกษาบริบท 2) คดั เลือกผเู้ ขา้ ร่วมวจิ ยั /การรวบรวมขอ้ มูล 3) การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ ข้นั ที่ 2 การปฏบิ ตั กิ าร (Action) ไดแ้ ก่ 4)ดาเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิการ ดงั น้ี -ประชุมเชิงปฏิบตั ิการวางแผนเรื่องการจดั ต้งั ศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล -กิจกรรมใหค้ วามรู้และการปฏิบตั ิยอ้ นกลบั ไดแ้ ก่ ชีวติ วถิ ีใหม่ มาตรการ D-M-H-T-T แลแนวทางการ รักษาของแพทย์ การบริหารปอดขณะติดเช้ือโควดิ -19 การบริหารสมองเป็น 2 เท่า การประเมินสุขภาพจิตดว้ ย แบบสอบถาม 2 คาถาม 9 คาถาม และ 8 คาถาม Mental check in การเสริมสร้างวคั ซีนใจ การออกกาลงั กาย กา้ วทา้ ใจ / แอโรบิค ข้นั ที่ 3 การสังเกต (Observation) ไดแ้ ก่ 5) กิจกรรมการวเิ คราะห์ปัญหากระบวนการ 6)กิจกรรมการวางแผนแกไ้ ขปัญหา 7)กิจกรรมการดาเนินการและติดตามผลการดาเนินงาน

9 ข้นั ท่ี 4 การสะท้อนผล (Reflection) ไดแ้ ก่ 8) การจดั เวทีสะทอ้ นผล ติดตามผลการปฏิบตั ิ ถอดบทเรียนที่ไดจ้ ากการปฏิบตั ิงาน เพ่ือหาปัจจยั ความสาเร็จ ประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง ประชากร (Population)ที่ใชใ้ นการวจิ ยั ในคร้ังน้ีคือผทู้ ่ีมีส่วนเก่ียวขอ้ งในการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ตาบล กนั ตวจระมวล ไดแ้ ก่ ผบู้ ริหารทอ้ งถิ่นเทศบาลตาบลกนั ตวจระมวล เจา้ หนา้ ท่ีสาธารณสุข อาสาสมคั รสาธารณสุข ตวั แทนภาคประชาชนและผปู้ ่ วยติดเช้ือโควดิ -19 กลุ่มตวั อยา่ งในการวจิ ยั คร้ังน้ีผวู้ จิ ยั คดั เลือกกลุ่มตวั อยา่ งโดยใชว้ ธิ ีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) ท่ีเป็นผเู้ กี่ยวขอ้ งในกระบวนการจดั การการเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ระลอก ใหมใ่ นศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล (CCC : Covid Care Center ) ท้งั หมด จานวน 50 คน ซ่ึงแบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ 1) กลุ่มผบู้ ริหารทอ้ งถิ่นและเครือข่ายในพ้ืนท่ีที่เป็นผมู้ ีหนา้ ท่ีเก่ียวขอ้ ง ไดแ้ ก่ ผบู้ ริหารทอ้ งถ่ิน ผนู้ า ชุมชน อาสาสมคั รสาธารณสุข จานวน 30 คน มีหลกั เกณฑค์ ดั เขา้ (Inclusion Criteria) ไดแ้ ก่ 1) สมคั รใจเขา้ ร่วมการวจิ ยั 2) สามารถเขา้ ร่วมการวจิ ยั ไดต้ ลอด ระยะเวลาของการวจิ ยั 3) ร่วมในการวจิ ยั ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 70 4) สามารถส่ือสารดว้ ยภาษาไทย หลกั เกณฑค์ ดั ออก (Exclusion Criteria) ไดแ้ ก่ 1) ผรู้ ่วมวจิ ยั ของดการใหข้ อ้ มูลระหวา่ งการวจิ ยั 2) ผรู้ ่วมวิจยั ไดร้ ับคาสั่งยา้ ยไปปฏิบตั ิราชการนอก เขตพ้ืนที่ตาบลกนั ตวจระมวล อาเภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ ในระหวา่ งการวจิ ยั 2) ตวั แทนผปู้ ่ วยติดเช้ือโควดิ -19 จานวน 20 คน มี หลกั เกณฑค์ ดั เขา้ (Inclusion Criteria) ไดแ้ ก่ 1) เป็นผปู้ ่ วยในการดูแลของศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล (CCC: Covid Care Center)

10 2) อาศยั อยใู่ นศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล (CCC: Covid Care Center) ตลอด ระยะเวลาทาการศึกษา 3) มีทกั ษะอา่ นออก เขียนได้ สามารถ โตต้ อบและส่ือความหมายเขา้ ใจในการตอบ หลกั เกณฑค์ ดั ออก (Exclusion Criteria) ไดแ้ ก่ 1) ผทู้ ่ีมีความผดิ ปกติทางการส่ือสารหรืออยใู่ นสภาพที่ไม่สามารถรับรู้เขา้ ใจหรือให้ ขอ้ มูลต่าง ๆได้ เขา้ ร่วมทากิจกรรมกลุ่มได้ 2) มีร่างกายไม่แขง็ แรง เจบ็ ป่ วยดว้ ยโรคเร้ือรัง มีโรคแทรกซอ้ นในระดบั ที่รุนแรงที่ จะทาใหไ้ ม่สามารถ เขา้ ร่วมทากิจกรรมกลุ่มได้ 3) ผปู้ ่ วยยา้ ยไปเขา้ ไปรักษาท่ีอื่น เครื่องมือทใี่ ช้ 1.เครื่องมือที่ใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ ไดแ้ ก่ แบบสัมภาษณ์ CIPP model แบบสังเกตการณ์มีส่วนร่วม แบบบนั ทึกการสนทนากลุ่ม และแบบบนั ทึกการประชุม 2.เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มูลเชิงปริมาณ ไดแ้ ก่ แบบสอบถาม ขอ้ มูลทว่ั ไป แบบวดั ความรู้ ทศั นคติ และ พฤติกรรมในการป้องกนั ตนเองจากการติดเช้ือไวรัสโควดิ -19 แบบวดั และความพึงพอใจในการดาเนินกิจกรรม การเกบ็ รวบรวมข้อมูล ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงปริมาณ สามารถจาแนกผลการวิเคราะห์เชิงปริมาณ ก่อนและหลงั การพฒั นา ของกลุ่มเป้าหมาย ดงั น้ี ส่วนท่ี 1 แบบบนั ทึกขอ้ มูลทวั่ ไป ไดแ้ ก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดบั การศึกษา อาชีพ รายไดเ้ ฉลี่ย ต่อเดือน ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกบั ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมการป้องกนั ตนเองจากการติดเช้ือไวรัส โควดิ -19 จานวน 19 ขอ้ แบบสอบถามแบง่ เป็น 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นความรู้เกี่ยวกบั โรคติดเช้ือโควดิ -19 จานวน 15 ขอ้ คาตอบเป็ นแบบเลือกตอบ ถูก ผดิ คะแนนเฉล่ีย 0-5 หมายถึง ระดบั นอ้ ย คะแนนเฉลี่ย 6-10 หมายถึง ระดบั ปานกลาง คะแนนเฉล่ีย 10-15 หมายถึง ระดบั มาก

11 ส่วนท่ี 3 แบบสอบถามความพงึ พอใจ คะแนนเฉลี่ย 0-5 หมายถึง ระดบั นอ้ ย คะแนนเฉลี่ย 6-10 หมายถึง ระดบั ปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 10-15 หมายถึง ระดบั มาก การวเิ คราะห์ข้อมูลทางสถิติ 1.การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ ท่ีไดจ้ ากการ สัมภาษณ์เชิงลึก การประชุมกลุ่ม ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ของขอ้ มูลโดยใชก้ ารวเิ คราะห์เชิงเน้ือหา(Content analysis) 2. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงปริมาณ ใชส้ ถิติเชิงพรรณนา (Descriptive statistics) ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล พ้นื ฐานทางประชากรตามตวั แปร เพศ อายุ การศึกษา รายได้ ไดแ้ ก่ การแจกแจงความถ่ี ร้อยละ อตั ราส่วน คา่ เฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

12 บทท่ี 4 ผลการดาเนินงาน การศึกษาคร้ังน้ีเป็ นการศึกษาเชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research-PAR) ของ ชุมชนในการเฝ้าระวงั และการดูแลผูป้ ่ วยโควิด-19 ระลอกใหม่ในศูนย์ดูแลผูป้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนตาบล กนั ตวจระมวล อาเภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการเฝ้าระวงั และการดูแลผูป้ ่ วย โควดิ -19 ระลอกใหม่ในศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล (CCC : Covid Care Center )ผล การศึกษาดงั ต่อไปน้ี ส่วนที่ 1 การวเิ คราะห์ข้อมูลบริบทและสภาพปัญหาของพืน้ ที่ ส่วนท่ี 2 กระบวนการในการพฒั นาระบบ ส่วนที่ 3 ผลการดาเนินงาน ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงปริมาณ สามารถจาแนกผลการวเิ คราะห์เชิงปริมาณ ก่อนและหลงั การพฒั นา ของกลุ่มเป้าหมาย ดงั น้ี เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม 4 ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนท่ี 1 แบบบนั ทึกขอ้ มูลทวั่ ไป ไดแ้ ก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดบั การศึกษา อาชีพ รายไดเ้ ฉลี่ย ต่อเดือน ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกบั ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมการป้องกนั ตนเองจากการติดเช้ือไวรัสโควดิ - 19 จานวน 19 ขอ้ แบบสอบถามแบ่งเป็น 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ 2) ดา้ นความรู้เกี่ยวกบั โรคติดเช้ือโควดิ -19 จานวน 15 ขอ้ คาตอบเป็ นแบบเลือกตอบ ถูก ผดิ คะแนนเฉลี่ย 0-5 หมายถึง ระดบั นอ้ ย คะแนนเฉล่ีย 6-10 หมายถึง ระดบั ปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 10-15 หมายถึง ระดบั มาก ส่วนที่ 3 แบบสอบถามความพงึ พอใจ ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะ

ส่วนท่ี 1 การวิเคราะห์ข้อมูลบริบทและสภาพปัญหาของพืน้ ที่ บริบท : Cortex ปัจจัยนาเข้า : Input กระบวนการ 1.มีนโยบายและมีการแต่งต้งั 1.ทอ้ งถิ่นสนบั สนุน 1. ประชุมวางแผนเ คณะกรรมการดาเนินงานบริหาร งบประมาณกองทุน ศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโคว และควบคุมโรคโควดิ -19ระดบั หลกั ประกนั สุขภาพในการ ตาบลกนั ตวจระมว ตาบล และมีเครือขา่ ยในชุมชน ดาเนินงานกิจกรรมเพื่อให้ 2.Plan: ระบุและวเิ ค เพ่อื ขบั เคลื่อนนโยบายระดบั บรรลุวตั ถุประสงค์ ดงั ต่อไปน้ี ตาบล 2.ทอ้ งถิ่นสนบั สนุนบุคลากร ผู้ -ชุมชนไม่ยอมรับใ 2.ประชุมและถ่ายทอดนโยบาย ผา่ นการอบรมการรับส่งผปู้ ่ วย เช้ือโควดิ -19 พกั ร และกระบวนการทางานโดยการ ติดเช้ือโควดิ –19 เขา้ การตรวจ บา้ น(Home Isolatio ประชุมแกนนาผรู้ ับผดิ ชอบงาน และรักษาท่ีรพ. ปราสาท -การส่งมอบยาฟ้าท สู่การปฏิบตั ิ 3.ใชเ้ ทคโนโลยตี ิดต่อส่ือสาร รพ. แม่ข่ายล่าชา้ 3.ศึกษาสถานการณ์การระบาด เพือ่ รับลงทะเบียนผปู้ ่ วยติดเช้ือ -มาตรการ DMHTT โควดิ -19 ในชุมชนและเตรียม โควดิ -19 /ผปู้ ่ วยกลุ่มเส่ียงสูง เขม้ ขน้ ความพร้อมเพอ่ื ตอบโตภ้ าวะ ในการรับการเขา้ ตรวจ RT- 3.Do: พฒั นาและด ฉุกเฉินภายใตส้ ถานการณ์การ PCRและ Chest x ray แผน ระบาดโควดิ -19ระลอกใหม่

13 :Process ผลผลติ :Product เร่ืองการจดั ต้งั .Check:ประเมินและสรุปผล วดิ – 19 ชุมชน -ทอ้ งถิ่นและทุกภาคส่วนทราบแนวทางการดูแลผปู้ ่ วยโควิด-19 ใน วล ชุมชน คราะห์ปัญหา -ผปู้ ่ วยติดเช้ือโควดิ -19 ไดร้ ับการรักษาตามนาวทางการรักษาผปู้ ่ วย โควดิ -19 ไม่มีภาวะแทรกซอ้ นและไม่เสียชีวติ ให้ผปู้ ่ วยติด -ไม่มีคลสั เตอร์ใหมใ่ นชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล รักษาตวั ใน -นวตั กรรมการดูแลผปู้ ่ วยติดเช้ือโควิด –19 ในศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – on) 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล (CCC : Covid Care Center ) ดงั น้ี ทะลายโจรจาก กจิ กรรมให้ความรู้ T ยงั ไม่ -ชีวติ วถิ ีใหม่ มาตรการ D-M-H-T-T และแนวทางการรักษาของ แพทย์ -การบริหารปอดขณะติดเช้ือโควดิ -19 ดาเนินการตาม -การบริหารสมองเป็น 2 เทา่ -การประเมินสุขภาพจิต Mental check in -การเสริมสร้างวคั ซีนใจ -การออกกาลงั กาย กา้ วทา้ ใจ / แอโรบิค

ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลบริบทและสภาพปัญหาของพืน้ ท่ี (ต่อ) บริบท : Cortex ปัจจยั นาเข้า : Input กระบวนการ และช่วยเหลือดูแลผปู้ ่ วยติดเช้ือ 4.ใชเ้ ทคโนโลยตี ิดต่อสื่อสาร -ใหผ้ ปู้ ่ วยติดเช้ือโค โควดิ -19 กลบั ภูมิลาเนา 4.ศึกษาแนวทางเวชปฏิบตั ิการ ในการดูแลผปู้ ่ วย เช่น line คอยรักษาที่ศูนยด์ ูแ ดูแลผปู้ ่ วยโควดิ –19 แนวใหม่ group Google form – 19 ชุมชนตาบลก 5.อสม.สมาชิกเทศบาลร่วม -จดั ซ้ือยาฟ้าทะลาย ปฏิบตั ิงานในการดูแลผปู้ ่ วยโค จา่ ยแก่ผปู้ ่ วย วดิ -19 -มาตรการ DMHTT 6.ระดมทุนสนบั สนุนท้งั เช่นงานศพ จดั ไม่เก ภาครัฐและเอกชน เช่น การ -มาตรการกกั ตวั ต่อ บริจาคอาหาร เคร่ืองดื่ม แมส รักษาครบ faces shield และเงิน มาตรการชุมชน ได -มาตรการการขายส กินเหลา้ ในชุมชน -มาตรการปิ ดหมู่บ คลสั เตอร์ในชุมชน เพม่ิ 5 คน และผสู้ ัม จานวนมาก

14 :Process ผลผลติ :Product ควดิ -19 พกั 2.Act: ปรับปรุงแกไ้ ขและวางแผนต่อไป แลผปู้ ่ วยโควดิ -แนวทางการรับมือผปู้ ่ วยรายใหม่และกรณีมีคลสั เตอร์ใหม่ กนั ตวจระมวล -พฒั นาระบบการส่งต่อผปู้ ่ วยออนไลน์ไร้รอยต่อ ยโจรไวส้ ารอง -การเสริมสร้างวคั ซีนใจในชุมชน -กิจกรรมเยยี วยาพฒั นาอาชีพ สมศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษยห์ ลงั Tในชุมชน ผลกระทบโควดิ การทอ่ งเที่ยวเชิงสุขภาพสมุนไพรและกญั ชา กิน 3 วนั อหลงั จาก ดแ้ ก่ สุรา และต้งั วง บา้ นกรณีมี น มีผตู้ ิดเช้ือ มผสั เสี่ยงสูง

15 ส่วนที่ 2 กระบวนการในการพฒั นาระบบ ประกอบดว้ ย 4 ข้นั ตอนดงั น้ี ข้นั ท่ี 1 การวางแผน (Planning) ไดแ้ ก่ 1)การศึกษาบริบท 2) คดั เลือกผเู้ ขา้ ร่วมวจิ ยั /การรวบรวมขอ้ มูล 3) การประชุมเชิงปฏิบตั ิการ ข้นั ที่ 2 การปฏิบตั ิการ (Action) ไดแ้ ก่ 4)ดาเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบตั ิการ ดงั น้ี -ประชุมเชิงปฏิบตั ิการวางแผนเร่ืองการจดั ต้งั ศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล -กิจกรรมใหค้ วามรู้และการปฏิบตั ิยอ้ นกลบั ไดแ้ ก่ ชีวติ วถิ ีใหม่ มาตรการ D-M-H-T-T และแนวทางการ รักษาของแพทย์ การบริหารปอดขณะติดเช้ือโควิด -19 การบริหารสมองเป็ น 2 เท่า การประเมินสุขภาพจิตดว้ ย แบบสอบถาม 2 คาถาม 9 คาถาม และ 8 คาถาม Mental check in การเสริมสร้างวคั ซีนใจ การออกกาลงั กาย กา้ ว ทา้ ใจ / แอโรบิค ข้นั ท่ี 3 การสังเกต (Observation) ไดแ้ ก่ 5) กิจกรรมการวเิ คราะห์ปัญหากระบวนการ 6)กิจกรรมการ วางแผนแกไ้ ขปัญหา 7)กิจกรรมการดาเนินการและติดตามผลการดาเนินงาน ข้นั ที่ 4 การสะทอ้ นผล (Reflection) ไดแ้ ก่ 8) การจดั เวทีสะทอ้ นผล ติดตามผลการปฏิบตั ิ ถอดบทเรียนที่ไดจ้ าก การปฏิบตั ิงาน เพื่อหาปัจจยั ความสาเร็จ ส่วนที่ 3 ผลการดาเนินงาน ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงปริมาณ สามารถจาแนกผลการวเิ คราะห์เชิงปริมาณก่อนและหลงั การพฒั นา ของกลุ่มเป้าหมาย ดงั น้ี เคร่ืองมือในการรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม 4 ส่วน ไดแ้ ก่ ส่วนท่ี 1 แบบบนั ทึกขอ้ มูลทวั่ ไป ไดแ้ ก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดบั การศึกษา อาชีพ รายไดเ้ ฉล่ียตอ่ เดือน รายการ จานวน ร้อยละ รายการ จานวน ร้อยละ เพศ อาชีพ 12 24 ชาย 24 48 ผนู้ าชุมชน 36 หญิง 26 52 คา้ ขาย 18 36 อายุ (ปี ) 17 34 18-29 เกษตรกร 30-49 11 22 รับจา้ ง 50-59 27 54 ≥ 60 11 22 12

รายการ จานวน 16 ร้อยละ รายการ จานวน ร้อยละ สถานภาพ รายได้ต่อเดือน โสด สมรส 5 10 (บาท) 45 การศึกษา 90 5,001-10,000 2 4 ประถมศึกษา 2 80 มธั ยมตน้ 2 10,001-20,000 40 10 มธั ยมปลาย 42 6 ปริญญาตรี 4 4 20,001-30,000 5 96 4 > 30,001 3 4 84 การมบี ุคคลกลุ่ม 8 เปราะบางทม่ี ีความ เสี่ยงต่อการติดเชื้อ ไวรัสโควดิ -19 ใน ครอบครัว 48 ไม่ใช่ 2 ใช่

17 ส่วนที่ 2 แบบสอบถามเก่ียวกบั ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมการป้องกนั ตนเองจากการติดเช้ือไวรัสโควดิ -19 จานวน 15 ขอ้ ไดแ้ ก่ 1) ดา้ นความรู้เก่ียวกบั โรคติดเช้ือโควิด-19 จานวน 15 ขอ้ คาตอบเป็ นแบบเลือกตอบ ถูก ผดิ คะแนนเฉลี่ย 0-5 หมายถึง ระดบั นอ้ ย คะแนนเฉล่ีย 6-10 หมายถึง ระดบั ปานกลาง คะแนนเฉล่ีย 10-15 หมายถึง ระดบั มาก รายการ ใช่ ไม่ใช่ 1. อาการแสดงที่สาคญั ของการติดเช้ือ โรคโควดิ -19 คือ ไข้ ออ่ นเพลีย ไอแหง้ ปวด 0 1 เม่ือยตามตวั 2. อาการคดั จมูก น้ามูกไหล และจาม พบไดน้ อ้ ยในผทู้ ี่ติดเช้ือโควดิ -19 ซ่ึงอาการ 1 0 เหล่าน้ีแตกตา่ งจากโรคไขห้ วดั 3. ปัจจุบนั น้ียงั ไม่มีการรักษาท่ีมีประสิทธิภาพ แตก่ ารรักษาต้งั แต่ระยะเร่ิมแรกจะช่วย 0 1 ใหผ้ ปู้ ่ วยฟ้ื นตวั จากการติดเช้ือไดเ้ ร็ว 4. ไม่ใช่ทุกคนท่ีติดเช้ือโควิด-19 แลว้ จะตอ้ งเขา้ สู่ระยะรุนแรงของโรคมีเพยี งผสู้ ูงอาย/ุ 1 0 ผปู้ ่ วยโรคเร้ือรังและคนอว้ นที่มีโอกาสท่ีจะมีอาการรุนแรงจากการติดเช้ือ 5. การรับประทานและสมั ผสั สัตวป์ ่ า อาจส่งผลใหเ้ กิดการติดเชื่อโควดิ -19 1 0 6. ผทู้ ่ีติดเช้ือโควดิ -19 ไม่สามารถจะส่งต่อเช้ือไวรัสใหค้ นอื่นเม่ือไมม่ ีอาการไข้ 0 1 7. ไวรัสโควดิ -19 แพร่ผา่ นทางละอองฝอยของทางเดินหายใจจากผทู้ ่ีติดเช้ือ 1 0 8. ประชาชนทวั่ ไปสามารถท่ีจะสวมหนา้ กากทางการแพทยเ์ พือ่ ป้องกนั การติดเช้ือ 1 0 ไวรัสโควดิ -19 ได้ 9. สาหรับเดก็ และผใู้ หญต่ อนตน้ ไม่จาเป็นท่ีตอ้ งวดั ไขเ้ พื่อป้องกนั การติดเช้ือไวรัสโค 0 1 วดิ -19 10. เพือ่ ป้องกนั การติดเช้ือไวรัสโควดิ -19 แต่ละบุคคลควรจะหลีกเลี่ยงการออกไปอยู่ 1 0 ในสถานที่ที่มีผคู้ นจานวนมาก เช่น ตลาดนดั และหลีกเลี่ยงการใชบ้ ริการรถสาธารณะ 11. การกกั ตวั และการรักษาของผทู้ ี่ติดเช้ือโควิด-19 เป็ นวธิ ีการท่ีมีประสิทธิภาพใน 1 0 การลดการแพร่เช้ือโควดิ -19

รายการ 18 13.ผปู้ ่ วยโควดิ -19 ครบการรักษา แพทยอ์ นุญาตใหก้ ลบั บา้ น จะตอ้ งกกั ตวั ท่ีบา้ น 14 ใช่ ไม่ใช่ วนั อยา่ งเคร่งครัด เพ่ือป้องกนั การระบาด 14.ผปู้ ่ วยที่ติดเช้ือโควดิ -19 สามารถรับวคั ซีนหลงั จากติดเช้ือได้ 3-6เดือน 01 15.ป่ วยติดเช้ือโควดิ -19 หลงั จากติดเช้ือแลว้ จะไม่ติดเช้ืออีก 10 01 ก่อนเข้าร่วมกจิ กรรม คะแนนเฉล่ีย 0-5 หมายถึง ระดบั นอ้ ย 20 คน คะแนนเฉล่ีย 6-10 หมายถึง ระดบั ปานกลาง 25 คน คะแนนเฉลี่ย 10-15 หมายถึง ระดบั มาก 5 คน หลงั เข้าร่วมกจิ กรรม คะแนนเฉล่ีย 0-5 หมายถึง ระดบั นอ้ ย 0 คน คะแนนเฉล่ีย 6-10 หมายถึง ระดบั ปานกลาง 10 คน คะแนนเฉลี่ย 10-15 หมายถึง ระดบั มาก 40 คน ส่วนท่ี 3 แบบสอบถามความพงึ พอใจ รายการ น้อย น้อย ปาน มาก มาก ทสี่ ุด กลาง ทสี่ ุด ด้านเจ้าหน้าทผ่ี ้ใู ห้บริการ 1.เจา้ หนา้ ท่ีใหค้ าแนะนา ตอบขอ้ ซกั ถามไดอ้ ยา่ งชดั เจน 0 0 0 15 35 ถูกตอ้ ง น่าเช่ือ (30) (70) 2.เจา้ หนา้ ท่ีสามารถแกป้ ัญหา อุปสรรค ที่เกิดข้ึนไดอ้ ยา่ ง 0 0 0 10 40 เหมาะสม (20) (80) 3.เจา้ หนา้ ท่ีใหค้ าแนะนา ตอบขอ้ ซกั ถามไดอ้ ยา่ งชดั เจน 0 0 0 30 20 ถูกตอ้ ง น่าเชื่อ (60) (40)

19 4.เจา้ หนา้ ที่ใหบ้ ริการดว้ ยความเตม็ ใจ รวดเร็ว และเอาใจ 000 10 40 ใส่ (20) (80) น้อย น้อย ปาน มาก มาก รายการ ทส่ี ุด กลาง ทสี่ ุด ด้านกระบวนการข้ันตอนการให้บริการ 000 1.มีช่องทางการใหบ้ ริการที่เหมาะสม 10 40 (20) (80) 2.ระบบบริการทางการแพทย์ รถรับ-ส่งเพื่อเอก็ เรย์ และ 20 30 ตรวจ RT-PCR (40) (60) 3.กิจกรรมการพยาบาลผา่ นทาง group Line application 35 15 (70) (30) 4.กิจกรรมประเมินสุขภาพจิต กิจกรรมบริหารปอด ฝึก 40 10 หายใจ ฝึกการไออยา่ งมีประสิทธิภาพ กิจกรรมบริหาร (80) (20) สมองเป็น 2 เท่า ด้านส่ิงอานวยความสะดวก 12 38 1.ลกั ษณะตวั อาคารที่พกั สะอาด มน่ั คงและปลอดภยั (24) (76) 20 30 2.เคร่ืองมืออุปกรณ์อานวยความสะดวกเพียงพอ (40) (60) 20 30 3.เครื่องมืออุปกรณ์อานวยความสะดวกเพยี งพอ (40) (60) ส่วนที่ 4 ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ - ศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวลเม่ือไม่มีผปู้ ่ วยโควดิ แลว้ ใหค้ งไวเ้ พ่อื รับผปู้ ่ วยท่ี มีผลAntigen test kid เป็ นผลบวก ใหม้ าพกั คอยเพ่ือรอผลยนื ยนั การตรวจดว้ ยวธิ ี RT-PCR

20 บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ การศึกษาคร้ังน้ีเป็ นการศึกษาเชิงปฏิบตั ิการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research-PAR) ของ ชุมชนในการเฝ้าระวงั และการดูแลผูป้ ่ วยโควิด-19 ระลอกใหม่ในศูนย์ดูแลผูป้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนตาบล กนั ตวจระมวล อาเภอปราสาท จงั หวดั สุรินทร์ในคร้ังน้ีมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือศึกษารูปแบบการเฝ้าระวงั และการ ดู แล ผู้ป่ วย โควิด -19 ระ ล อก ใ หม่ใ นศู นย์ดู แล ผู้ป่ วย โควิด – 19 ชุ มชนตาบล กันตวจระ มวล (CCC : Covid Care Center ) โดยมีกระบวนการในการพฒั นาระบบ ประกอบดว้ ย 4 ข้นั ตอนดงั น้ี ส่วนท่ี 1 การวเิ คราะห์ข้อมูลบริบทและสภาพปัญหาของพืน้ ท่ี

ส่วนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลบริบทและสภาพปัญหาของพืน้ ท่ี บริบท : Cortex ปัจจยั นาเข้า : Input กระบวนการ 1.มีนโยบายและมีการแต่งต้งั 1.ทอ้ งถ่ินสนบั สนุน 1. ประชุมวางแผนเ คณะกรรมการดาเนินงานบริหาร งบประมาณกองทุน ศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโคว และควบคุมโรคโควดิ -19ระดบั หลกั ประกนั สุขภาพในการ ตาบลกนั ตวจระมว ตาบล และมีเครือขา่ ยในชุมชน ดาเนินงานกิจกรรมเพื่อให้ 2.Plan: ระบุและวเิ ค เพื่อขบั เคล่ือนนโยบายระดบั บรรลุวตั ถุประสงค์ ดงั ตอ่ ไปน้ี ตาบล 2.ทอ้ งถ่ินสนบั สนุนบุคลากร ผู้ -ชุมชนไม่ยอมรับใ 2.ประชุมและถ่ายทอดนโยบาย ผา่ นการอบรมการรับส่งผปู้ ่ วย เช้ือโควดิ -19 พกั ร และกระบวนการทางานโดยการ ติดเช้ือโควดิ –19 เขา้ การตรวจ บา้ น ประชุมแกนนาผรู้ ับผดิ ชอบงาน และรักษาที่รพ. ปราสาท (Home Isolation) สู่การปฏิบตั ิ 2.ใชเ้ ทคโนโลยตี ิดต่อส่ือสาร -การส่งมอบยาฟ้าท 3.ศึกษาสถานการณ์การระบาด เพือ่ รับลงทะเบียนผปู้ ่ วยติดเช้ือ รพ. แมข่ ่ายล่าชา้ โควดิ -19 ในชุมชนและเตรียม โควดิ -19 /ผปู้ ่ วยกลุ่มเส่ียงสูง -มาตรการ DMHTT ความพร้อมเพอ่ื ตอบโตภ้ าวะ ในการรับการเขา้ ตรวจ RT- เขม้ ขน้ ฉุกเฉินภายใตส้ ถานการณ์การ PCR 3.Do: พฒั นาและด ระบาดโควดิ -19ระลอกใหม่ และ และ Chest x ray แผน ช่วยเหลือดูแลผปู้ ่ วยติดเช้ือโควดิ 3.ใชเ้ ทคโนโลยตี ิดต่อสื่อสาร -ใหผ้ ปู้ ่ วยติดเช้ือโค -19 กลบั ภูมิลาเนา ในการดูแลผปู้ ่ วย เช่น line คอยรักษาที่ศูนยด์ ูแ group Google form – 19 ชุมชนตาบลก

21 :Process ผลผลติ :Product เร่ืองการจดั ต้งั 1.Check:ประเมินและสรุปผล วิด – 19 ชุมชน -ทอ้ งถ่ินและทุกภาคส่วนทราบแนวทางการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ใน วล ชุมชน คราะห์ปัญหา -ผปู้ ่ วยติดเช้ือโควดิ -19 ไดร้ ับการรักษาตามนาวทางการรักษาผปู้ ่ วย โควดิ -19 ไมม่ ีภาวะแทรกซอ้ นและไม่เสียชีวติ ให้ผปู้ ่ วยติด -ไม่มีคลสั เตอร์ใหม่ในชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล รักษาตวั ใน -นวตั กรรมการดูแลผปู้ ่ วยติดเช้ือโควิด –19 ในศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวล (CCC : Covid Care Center ) ดงั น้ี กจิ กรรมให้ความรู้ ทะลายโจรจาก -ชีวติ วถิ ีใหม่ มาตรการ D-M-H-T-T และแนวทางการรักษาของ T ยงั ไม่ แพทย์ -การบริหารปอดขณะติดเช้ือโควดิ -19 -การบริหารสมองเป็น 2 เทา่ ดาเนินการตาม -การประเมินสุขภาพจิต Mental check in -การเสริมสร้างวคั ซีนใจ ควดิ -19 พกั -การออกกาลงั กาย กา้ วทา้ ใจ / แอโรบิค แลผปู้ ่ วยโควดิ 2.Act: ปรับปรุงแกไ้ ขและวางแผนต่อไป กนั ตวจระมวล -แนวทางการรับมือผปู้ ่ วยรายใหม่และกรณีมีคลสั เตอร์ใหม่

บริบท : Cortex ปัจจยั นาเข้า : Input กระบวนการ 4.ศึกษาแนวทางเวชปฏิบตั ิการ 4.อสม.สมาชิกเทศบาลร่วม -จดั ซ้ือยาฟ้าทะลาย ดูแลผปู้ ่ วยโควดิ –19 แนวใหม่ ปฏิบตั ิงานในการดูแลผปู้ ่ วยโค จ่ายแก่ผปู้ ่ วย วดิ -19 -มาตรการ DMHTT 5.ระดมทุนสนบั สนุนท้งั เช่นงานศพ จดั ไม่เก ภาครัฐและเอกชน เช่น การ -มาตรการกกั ตวั ต่อ บริจาคอาหาร เครื่องดื่ม แมส รักษาครบ faces shield และเงิน มาตรการชุมชน ได -มาตรการการขายส กินเหลา้ ในชุมชน -มาตรการปิ ดหมูบ่ คลสั เตอร์ในชุมชน เพิม่ 5 คน และผสู้ ัม จานวนมาก

22 :Process ผลผลติ :Product ยโจรไวส้ ารอง -พฒั นาระบบการส่งตอ่ ผปู้ ่ วยออนไลนไ์ ร้รอยต่อ -การเสริมสร้างวคั ซีนใจในชุมชน Tในชุมชน -กิจกรรมเยยี วยาพฒั นาอาชีพ สมศกั ด์ิศรีความเป็นมนุษยห์ ลงั กิน 3 วนั ผลกระทบโควดิ การทอ่ งเท่ียวเชิงสุขภาพสมุนไพรและกญั ชา อหลงั จาก ดแ้ ก่ สุรา และต้งั วง บา้ นกรณีมี น มีผตู้ ิดเช้ือ มผสั เสี่ยงสูง

23 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงปริมาณ สามารถจาแนกผลการวเิ คราะห์เชิงปริมาณก่อนและหลงั การพฒั นา ของกลุ่มเป้าหมาย ดงั น้ี ขอ้ มูลทว่ั ไป ไดแ้ ก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดบั การศึกษา อาชีพ รายไดเ้ ฉล่ียต่อ เดือนพบว่ากลุ่มตวั อยา่ งเป็ นเพศหญิงมากที่สุด ร้อยละ 52 เพศชาย ร้อยละ 48 อายุ 30-49 มากท่ีสุดร้อยละ 54 สถานถาพสมรส มากท่ีสุด ร้อยละ 90 ระดบั การศึกษามธั ยมศึกษาตอนปลายมากที่สุด ร้อยละ 84 ประกอบอาชีพ คา้ ขายมากท่ีสุด ร้อยละ 36 และพบว่ามีบุคคลกลุ่มเปราะบางท่ีมีความเสี่ยงต่อการติดเช้ือไวรัสโควิด -19 ในครอบครัวมากท่ีสุดร้อยละ 96 ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรมการป้องกนั ตนเองจากการติดเช้ือไวรัสโควิด-19 จานวน 15 ขอ้ พบวา่ คะแนนเฉล่ียหลงั เขา้ ร่วมกิจกรรมอยใู่ นระดบั มาก ร้อยละ80 ระดบั ปานกลางร้อยละ 20 ความพึงพอใจพบวา่ ดา้ นเจา้ หน้าที่ผใู้ ห้บริการ เจา้ หนา้ ท่ีใหค้ าแนะนา ตอบขอ้ ซกั ถามไดอ้ ย่างชดั เจน ถูกตอ้ ง น่าเช่ือ ระดบั มากที่สุด ร้อยละ 70 เจา้ หนา้ ท่ีสามารถแกป้ ัญหา อุปสรรค ที่เกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งเหมาะสมระดบั มากที่สุดร้อยละ 80 เจา้ หนา้ ท่ีใหค้ าแนะนา ตอบขอ้ ซกั ถามไดอ้ ยา่ งชดั เจน ถูกตอ้ ง น่าเชื่อ ระดบั มาก ร้อยละ 60 และเจา้ หน้าท่ีให้บริการดว้ ยความเต็มใจ รวดเร็ว และเอาใจใส่ระดบั มากท่ีสุด ร้อยละ 80 ด้านกระบวนการ ข้นั ตอนการใหบ้ ริการ ช่องทางการใหบ้ ริการที่เหมาะสม ระดบั มากท่ีสุด ร้อยละ 80 ระบบบริการทางการแพทย์ รถรับ-ส่งเพ่ือเอ็กเรย์ และตรวจ RT-PCR ระดบั มากที่สุด ร้อยละ 60 กิจกรรมการพยาบาลผา่ นทาง group Line application ระดบั มาก ร้อยละ 70 และ กิจกรรมประเมินสุขภาพจิต กิจกรรมบริหารปอด ฝึ กหายใจ ฝึ กการไอ อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรมบริหารสมองเป็ น 2 เท่า ระดบั มากร้อยละ 80 และด้านสิ่งอานวยความสะดวก พบว่าลกั ษณะตวั อาคารที่พกั สะอาด มนั่ คงและปลอดภยั ระดบั มากที่สุดร้อยละ 76 เครื่องมืออุปกรณ์อานวย ความสะดวกเพียงพอ ระดบั มากที่สุดร้อยละ 60 และเครื่องมืออุปกรณ์อานวยความสะดวกเพียงพอ พบวา่ ระดบั มากที่สุด ร้อยละ 60 ส่วนท่ี 4 ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ - ศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตวจระมวลเมื่อไม่มีผปู้ ่ วยโควดิ แลว้ ใหค้ งไวเ้ พอ่ื รับผปู้ ่ วยท่ี มีผลAntigen test kid เป็ นผลบวก ใหม้ าพกั คอยเพอ่ื รอผลยนื ยนั การตรวจดว้ ยวธิ ี RT-PCR

24 ปัจจยั แห่งความสาเร็จ 1. มีการสร้างภาคีเครือข่ายชุมชนในการเขา้ มามีส่วนร่วม ในการเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควิด -19 ระลอกใหม่ในศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชน 2.ผทู้ ี่มีส่วนเก่ียวขอ้ งมีความรู้ความเขา้ ใจรู้บทบาทหนา้ ท่ี การใหค้ วามสาคญั การรับรู้สภาพปัญหา แนวทางการแกไ้ ขปัญหา ตระหนกั ถึงความรับผดิ ชอบ ร่วมกนั ในในการเฝ้าระวงั และการดูแลผูป้ ่ วยโควิด -19 ระลอกใหม่ในศูนย์ดูแลผูป้ ่ วยโควิด – 19 ชุมชนและการบูรณาการทางานร่วมกนั ของ หน่วยงานให้มีแนว ทางการปฏิบตั ิงานท่ีสอดคลอ้ งในทิศทางเดียวกนั ในทุกมิติ 2) มีการกากบั ติดตาม และประเมินผล การดาเนินงานการเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ระลอก ใหมใ่ นศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชนในพ้นื ที่อยา่ งสมาเสมอ เพอ่ื เป็นการกระตุน้ การดาเนินงานอยา่ งต่อเน่ือง และสอดคลอ้ งกบั บริบทของชุมชน โดยมีการคืนขอ้ มูลแก่ผูเ้ ก่ียวขอ้ งเป็ นระยะ เกิดผลอย่างเป็ นรูปธรรมและ ยงั่ ยนื 3) มีนโยบายสนบั สนุนจากทุกภาคส่วน 4) การออกแบบกิจกรรมการเฝ้าระวงั และการดูแลผปู้ ่ วยโควดิ -19 ระลอกใหม่ในศูนยด์ ูแลผปู้ ่ วยโควดิ – 19 ชุมชน ตลอดจนแนวทางในการดาเนินงานการปรับใหม้ ีความเหมาะสมกบั บริบท ส่งผลใหผ้ มู้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ ง เขา้ มามี บทบาทในการดาเนินกิจกรรมอยา่ งชดั เจน ข้อเสนอแนะ - ควรติดตามผปู้ ่ วยหลงั การจาหน่ายในเรื่องการดาเนินชีวติ ในรูปแบบชีวติ วถิ ีใหม่ การติดเช้ือซ้า และ การรับวคั ซีนป้องกนั การติดเช้ือโควดิ -19

25 ภาคผนวก ภาพกจิ กรรมการดาเนินงานการมสี ่วนร่วมของชุมชนในการเฝ้าระวงั และการดูแลผู้ป่ วยโควดิ -19 ระลอกใหม่ในศูนย์ดูแลผู้ป่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตรวจระมวล อาเภอปราสาท จังหวดั สุรินทร์

26 การประชุมเตรียมความพร้อมและถอดบทเรียนจากการดาเนินงาน

27 ดาเนินการสร้างศูนย์ดูแลผู้ป่ วยโควดิ – 19 ชุมชนตาบลกนั ตรวจระมวล

28 ติดตามการดาเนินงาน โดยนายอาเภอปราสาท

29 ติดตามการดาเนินงาน โดยสาธารณสุขอาเภอปราสาท

30 ติดตามการดาเนินงาน โดยปลดั จงั หวดั สุรินทร์

31 กิจกรรมบริหารปอด ฝึกหายใจ และฝึกการ ไออยา่ งมีประสิทธิภาพ

32 กิจกรรมบริหารสมองเป็น 2 เท่า และ เทคนิคคลายเครียด

23 การพยาบาลและการส่งต่อโรงพยาบาลแม่ข่าย

34 กิจกรรมแอโรบิค กิจกรรมดนตรีบาบดั

35


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook