Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตอนที่ 2 ย้อนรอยเศรษฐกิจพอเพียง

ตอนที่ 2 ย้อนรอยเศรษฐกิจพอเพียง

Published by ketkanokoingam, 2017-05-18 23:27:01

Description: ความคาดหวังของรายวิชา
1. ผู้เรียนได้รับความรู้เกี่ยวกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
2. ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
3. ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียงกับทฤษฎีใหม่

Search

Read the Text Version

ตอนที่ 2 ย้อนรอยเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เริ่มต้นมาตั้งแต่พุทธศักราช สองพันห้าร้อยสิบเจ็ด โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุยลเดช ได้พระราชทานพระบรมราโชวาทแก่นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยทรงเน้นความสาคัญของการพัฒนาประเทศซ่ึงต้องสร้างพ้ืนฐานคือ “ความพอมี พอกิน พอใช้” ว่าในการพัฒนาประเทศนั้น จาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น เริ่มด้วยการสร้างพื้นฐาน คือความมีกินมีใช้ของประชาชนก่อนด้วยวิธีการที่ประหยัด ระมัดระวัง แต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เม่ือพ้ืนฐานเกิดขึ้นม่ันคงพอควรแล้ว การช่วยเหลือสนับสนุนประชาชนในการประกอบอาชีพ และตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ก่อนอ่ืนเป็นพื้นฐานน้ัน เป็นส่ิงสาคัญอย่างยิ่งยวด เพราะผู้มีอาชีพและฐานะท่ีพอเพียงท่ีจะพึ่งตนเอง ย่อมสามารถสร้างความเจริญก้าวหน้าระดบั ทส่ี ูงขนึ้ ต่อไปได้โดยแน่นอน สว่ นการถือหลักทีจ่ ะส่งเสริมความเจริญ ให้ค่อยเป็นไปตามลาดับ ด้วยความรอบคอบระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพ่ือป้องกันความผิดพลาดล้มเหลว...\" และในวันที่ 4 ธันวาคมพุทธศักราชสองพันห้าร้อยสิบเจ็ด พระองค์ได้ทรงมีพระราชดารัสเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาณ ศาลาดสุ ติ าลัย ทรงเน้น “พอมี พอกิน” อีกคร้งั ดังนี้ \"ทั้งนี้ คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยไม่มีส่ิงที่ทันสมัย แต่เราอยู่พอมพี อกนิ และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทยพออยู่พอกิน มีความสงบและทางานตั้งอธิษฐานตั้งปณิธาน ในทางนี้ ทจี่ ะใหเ้ มืองไทย อยแู่ บบพออยู่พอกิน ไม่ใช่ว่าจะรุ่งเรืองอย่างยอด แต่ว่ามีความพออยู่พอกิน มีความสงบ เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยู่พอกิน นี้ได้ เราก็จะยอดอย่างย่ิงยวดฉะนัน้ ถ้าทกุ ท่านซงึ่ ถอื วา่ เป็นผ้มู คี วามคดิ และมีอทิ ธพิ ล มพี ลงั ทจี่ ะทาให้ผู้อื่นซึ่งมีความคิดเหมือนกัน ช่วยกันรักษาส่วนรวมให้อยู่ดีกินดีพอสมควร ขอย้า พอควร พออยู่พอกิน มีความสงบ ไม่ให้คนอ่ืนมาแย่งคุณสมบัติน้ีจากเรา ไปได้ กจ็ ะเปน็ ของขวัญวันเกิดทีถ่ าวร ทจ่ี ะมีคณุ คา่ ยตู่ ลอดกาล...\" พระราชดารัสดังกล่าว พระองค์มีพระราชประสงค์ให้ใช้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวคิดในการพัฒนาประเทศ ซ่ึงต้องเน้นการสร้างพื้นฐานคือ พอมี พอกิน พอใช้ ถึงแม้ว่าข้อความท่ีกล่าวถึงส่วนใหญ่จะเป็นการแกไ้ ขปัญหาให้เกษตรกร และการจัดการด้านเกษตรกรรม หากในความเป็นจริง พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ให้เศรษฐกิจพอเพียงสามารถครอบคลุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจทุกประเภท และถึงแม้พระองค์จะทรงเน้นใหแ้ นวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง เป็นแนวพ้ืนฐานในการพัฒนาประเทศมาตั้งแต่พุทธศักราชสองพันห้าร้อยสิบเจ็ดก็ตาม แต่คนส่วนใหญ่โดยเฉพาะนักวิชาการ และข้าราชกรระดับสูง ยังไม่เข้าใจในความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดงั นน้ั ในปพี ทุ ธศักราช 2541 พระองคจ์ ึงทรงเน้นประเดน็ นี้อีกครง้ั ว่า “เม่ือปี 2517 วันน้ัน ได้พูดว่า เราควรปฏิบัติให้พอมี พอกิน พอมี พอกิน ก็แปลว่าเศรษฐกิจพอเพียงน้นั เอง” พรอ้ มกันนนั้ ได้ทรงอธิบายตอ่ ว่า

“คาว่าพอเพยี ง มีความหมายกวา้ งกว่าความสามารถในการพ่ึงตนเอง หรือความสามารถในการยืนบนขาตนเอง เพราะความพอเพียงหมายถึง การท่ีมีความพอ คือมีความโลภน้อย เม่ือโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าประเทศใด มีความคิดน้ี มีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง หมายความว่าพอประมาณ ซ่ือตรง ไม่โลภอย่างมาก คนเราอาจจะสขุ พอเพียงนี้ อาจจะมีมาก อาจจะมขี องหรูหรากไ็ ด้ แต่ต้องไม่เบียดเบียนคนอ่นื ” กล่าวได้ว่า ความพอเพียง สอดคล้องกับหลักพุทธศาสนา ซึ่งก็คือ มัชฌิมาปฏิปทา หรือทางสายกลางซ่ึงเป็นการยึดหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี เพ่ือต้ังรับความเปล่ียนแปลงไม่ไหลไปตามกระแสวัตถุนิยม หรือกระแสทุนนิยม มีอิสรภาพ เสรีภาพ ไม่พันธนาการอยู่กับส่ิงใด โดยเง่ือนไขสาคญั ในการดาเนินชีวิตคือ ความรู้คู่คุณธรรม ทั้งนี้ เพื่อนาสู่ความสมดุล ความม่ันคง และความยั่งยืนของชีวิตปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ประกอบดว้ ย 3 คณุ ลกั ษณะ คือ คุณลักษณะท่ี 1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ไม่น้อยเกินไป ไม่มากเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผอู้ น่ื เช่น การผลติ และการบรโิ ภคท่ีอยใู่ นระดับพอประมาณ คุณลักษณะที่ 2 คือ ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเก่ียวกับความพอเพียง ในการตัดสินใจเกี่ยวกับความพอเพียงนี้ ต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากปัจจัยท่ีเก่ียวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะได้รับจากการกระทานน้ั อย่างรอบคอบ คุณลักษณะท่ี 3 ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงคือ การมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง โดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคต ท้ังน้ี การตัดสินใจดาเนินกิจกรรมให้สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ัน ต้องใช้เงื่อนไข 2ประการ ดงั น้ี เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรเู้ กย่ี วกับวิชาการ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน และต้องสามารถนาความรู้มา เชื่อมโยงกัน เพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจ ประกอบการวางแผน และมีความระมัดระวังในข้ันปฏบิ ัติ เงื่อนไขที่ 2 เง่ือนไขคุณธรรม ประกอบด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีความอดทน มีความเพียร และใช้สติปัญญาในการดาเนินชวี ติ สาหรับลักษณะของความพอเพียงน้ัน ต้องข้ึนอยู่กับคาว่า “พอดี” ซึ่งไม่มีมาตรฐานตายตัว เพราะความพอดีของแตล่ ะบคุ คลจะไมเ่ ทา่ กนั ทง้ั นี้ ขอใหพ้ จิ ารณาหลักความพอดี ดังน้ี - ความพอดดี ้านจติ ใจ หมายถงึ ความสามารถในการพ่ึงตนเองได้ การมีจิตสานึกที่ดี มีความเอื้ออาทรและนึกถึงประโยชนส์ ว่ นรวม - ความพอดีดา้ นสังคม หมายถึง การช่วยเหลือเกื้อกูลกัน รู้จักผนึกกาลัง และมีกระบวนการสร้างการเรียนรทู้ ่เี กิดจากรากฐานอันมนั่ คง - ความพอดีด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เป็นความรู้จักใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด

- ความพอดีด้านเทคโนโลยี เป็นการรู้จักใช้เทคโนโลยีที่สอดคล้องความต้องการ และเป็นประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมของประเทศ ท้ังน้ี การพัฒนาเทคโนโลยี ควรมุ่งเน้นการพัฒนาจากภูมิปัญญาชาวบ้านเป็นท่ตี ั้ง - ความพอดีด้านเศรษฐกิจ หมายถึงการเพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย ดารงชีวิตอย่างพอควร สมควรตามอตั ภาพและฐานะของตน ซึ่งคุณลักษณะความพอดที ง้ั 5 ประการน้ี จะนาสูค่ วามพอเพียง 7 ด้าน คือ ครอบครัวพอเพียง จิตใจพอเพียง ส่ิงแวดล้อมพอเพียง ชุมชนเข้มแข็งพอเพียง ปัญญาพอเพียง ฐานวัฒนธรรมพอเพียง และมีความมัน่ คงพอเพยี ง นอกจากนี้ ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล กรรมการและเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ได้อธิบายถึงคาว่าเศรษฐกิจพอเพยี ง ไว้ว่า “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบด้วยหลักสาคัญ 3 ข้อ คือทาอะไรด้วยเหตุด้วยผล อย่าทาอะไรตามกระแส ทาอะไรพอประมาณ สอดคล้องกับศักยภาพท่ีมี และให้มีภูมิคุ้มกัน ต้ังอยู่ในความไม่ประมาทถ้าทาได้ตามนป้ี ระเทศชาติจะเจริญเตบิ โตอย่างยั่งยืนได้ โดยคานิยามของความพอเพียง” เศรษฐกิจพอเพียงกบั ทฤษฎีใหม่ ทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางการพัฒนาสู่ความสามารถในการพึ่งตนเองโดยใช้ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดี มีความรู้ ความเพียร ความอดทน การใช้สติปัญญา รวมถึงการช่วยเหลือซ่ึงกันและกัน ท้ังนี้ เพ่ือลดความเส่ียงท่ีเกิดจากความผันแปรของธรรมชาติหรือการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดจากปัจจัยต่างๆ ในสังคม อย่างไรก็ตาม คาว่า “เศรษฐกิจพอเพียง” มีความหมายกว้างกว่าคาว่า “ทฤษฎีใหม่” เพราะเศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิด และแนวทางปฏิบัติตนของทฤษฎีใหม่ ทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดาริ มี 2 แบบ คือแบบพน้ื ฐาน และแบบกา้ วหน้า แบบพื้นฐาน เป็นความพอเพียงระดับบุคคล และระดับครอบครัว ท่ีมุ่งแก้ปัญหาเกษตรกรรมที่อยู่หา่ งไกลแหล่งน้า และประสบความเส่ียงต่อการมีน้าไม่พอเพียง แม้กระท่ังการปลูกข้าวสาหรับบริโภค แต่ท้ังน้ีทัง้ นนั้ ต้องมที ่ีดินพอเพยี ง สาหรบั ใชใ้ นการขุดบ่อน้าเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว และจากการแก้ไขปัญหาเร่ืองน้าจะทาใหเ้ กษตรกรมีขา้ วเพือ่ การยงั ชพี ท้งั ยงั สามารถใชท้ ่ีดนิ สว่ นอ่นื สนองความต้องการพ้ืนฐานของครอบครัวและขายผลผลติ ในสว่ นทเี่ กินความตอ้ งการ สาหรบั ซอื้ ผลผลติ ท่สี รา้ งเองไมไ่ ด้ ทฤษฎใี หม่ตามแนวพระราชดาริ แบบท่ี 2 คอื แบบก้าวหนา้ โดยจะแบ่งเป็น 2 ระดบั ระดับท่ี 1 เป็นความพอเพียงในระดับชุมชนและองค์กร เป็นเรื่องของการสนับสนุนให้เกษตรกรรวมพลังกัน ในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ รวมถึงการท่ีธุรกิจต่างๆ รวมตัวในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ น่ันหมายถึงว่าเม่ือสมาชิกในแต่ละครอบครัว มีความพอเพียงข้ันพ้ืนฐานแล้ว จะรวมตัวกันเพ่ือร่วมมือสร้างประโยชน์แก่ส่วนรวม บนพนื้ ฐานของการไม่เบียดเบียน และการแบง่ ปันชว่ ยเหลอื ซง่ึ กันและกัน

ความพอเพียงแบบก้าวหน้า ระดับท่ี 2 คือ ความพอเพียงระดับประเทศ ซึ่งจะส่งเสริมให้ชุมชน หรือเครอื ขา่ ยวิสาหกิจ สร้างความร่วมมือกับองค์กรอ่ืนๆ ในประเทศ เช่น บริษัทขนาดใหญ่ ธนาคาร สถาบันวิจัยเป็นตน้ การสร้างเครือข่ายความร่วมมือลักษณะดังกล่าว จะเป็นประโยชน์ในการสืบทอดภูมิปัญญาแลกเปลีย่ นความรู้ เทคโนโลยี และบทเรยี นจากการพัฒนา ถึงตรงนี้ ท่านคงทราบแล้วว่า ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มิใช่การมุ่งเน้นเฉพาะด้านเกษตรกรรมเท่าน้ัน หากหมายความรวมถึง การดารงชีวิตของคนไทย ที่ยึดหลักความพอประมาณ การพออยู่ พอกินมีเหตผุ ล มีภมู คิ ุ้มกัน รวมถงึ การพฒั นาประเทศ ทเี่ ป็นในทางสายกลาง และการพฒั นาเศรษฐกจิ ให้กา้ วทนั โลกดังที่นายแพทย์ประเวศ วะสี ได้ให้ทัศนะท่ีน่าสนใจไว้ว่า “เศรษฐกิจพอเพียง ไมได้แปลว่าไม่เก่ียวข้องกับใครไมค่ า้ ขาย ไม่สง่ ออก ไม่ผลติ เพอื่ คนอืน่ หรือไม่ทาเศรษฐกิจมหภาค ส่ิงเหล่านี้ หลายคนพูดเอาเอง และกลัวกันไปเองทง้ั ส้นิ ดงั มปี ระเทศเนเธอแลนด์ เดนมาร์ก สวิตเซอร์แลนด์ เป็นตัวอย่างท่ีเคยยากลาบากและเสียสมดุลต่อเมื่อพฒั นาประเทศแบบเศรษฐกจิ พอเพียง จงึ กลบั เข้มแขง็ ไดส้ มดุล และเตบิ โตดว้ ยดี”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook