Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Maslow Th 4.0 Innovation

Maslow Th 4.0 Innovation

Published by ww mm, 2022-03-03 20:41:41

Description: นางสาวกุลปรียาพร ภาคพรม

Search

Read the Text Version

ทฤษฎมี าสโลว์ (Maslow’s Hierarchy of Needs) ทฤษฎมี าสโลว์ หรือ ลำดบั ขน้ั ความต้องการ (Maslow’s Hierarchy of Needs) เป็นทฤษฎจี ติ วทิ ยา ทอ่ี ับราฮมั เอช. มาสโลว์ คดิ ข้ึนเมื่อปี ค.ศ. 1943 ในเอกสารช่ือ “A Theory of Human Motivation” Maslow ระบวุ า่ มนษุ ย์มีความต้องการทัง้ หมด 5 ขนั้ ด้วยกนั ความต้องการท้งั 5 ขน้ั มเี รียงลำดับจากขัน้ ต่ำสุดไปหาสงู สดุ มนุษยจ์ ะมคี วามต้องการในขั้นตำ่ สดุ กอ่ น เมื่อไดร้ บั การตอบสนองจนพอใจแล้วก็จะเกิดความตอ้ งการข้ันสูงตอ่ ไป ความตอ้ งการของบุคคลจะเกิดข้นึ 5 ข้ันเปน็ ลำดับ ดังน้ี 1. ความต้องการพื้นฐานทางด้านร่างกาย (Physiological Needs) เป็นความตอ้ งการลำดบั ต่ำสุดและ เปน็ พน้ื ฐานของชวี ติ ไดแ้ ก่ ความตอ้ งการเพ่ือตอบสนองความหวิ ความกระหาย ความต้องการเพ่ือความอยู่รอด ของชีวติ เรยี กง่ายๆ กค็ ือ ปจั จัยส่ี อาหาร เครอ่ื งนุ่งห่ม ยารักษาโรค ท่ีพกั อาศัย รวมถึงส่งิ ทท่ี ำใหก้ ารดำรงชีวิต สะดวกสบาย

2. ความตอ้ งการความมน่ั คงปลอดภัย (Safety Needs) เป็นความตอ้ งการท่ีจะเกดิ ขน้ึ หลังจากท่คี วาม ต้องการทางรา่ งกายไดร้ ับการตอบสนองจนเป็นทีพ่ อใจแล้ว ความต้องการขั้นนี้ถึงจะเกิดข้นึ ได้แก่ ความต้องการ ความปลอดภัยมีทย่ี ดึ เหน่ยี วทางจิตใจ ปราศจากความกลวั การสญู เสยี และภยั อนั ตราย เช่น สภาพสิ่งแวดล้อมบ้าน ปลอดภัย การมงี านที่ม่นั คง การมเี งินเก็บออม ความต้องการความมนั่ คงปลอดภยั รวมถงึ ความมนั่ คงปลอดภยั ส่วนบุคคล สขุ ภาพและความเป็นอยู่ ระบบรับประกนั -ชว่ ยเหลอื ในกรณีของอบุ ตั ิเหต/ุ ความเจ็บปว่ ย 3. ความต้องการความรักและสงั คม (Belonging and Love Needs) เมือ่ มีความปลอดภยั ในชวี ติ และ มน่ั คงในการงานแล้ว คนเราจะตอ้ งการความรัก ความสัมพันธก์ ับผูอ้ น่ื มคี วามต้องการเป็นเจา้ ของและมีเจ้าของ ความรกั ในรปู แบบตา่ งกัน เชน่ ความรักระหวา่ ง คู่รัก พ่อ แม่ ลกู เพื่อน สามี ภรรยา ได้รับการยอมรับเป็นสมาชิก ในกลุม่ ใดกลุ่มหนงึ่ หรือหลายกลุ่ม

4. ความต้องการการได้รบั การยกยอ่ งนบั ถือในตนเอง (Esteem Needs) เมื่อความต้องการความรัก และการยอมรบั ไดร้ ับการตอบสนองแลว้ คนเราจะต้องการสร้างสถานภาพของตวั เองให้สูงขนึ้ เดน่ ข้ึน มคี วาม ภมู ใิ จและสรา้ งความนับถือตนเอง ช่นื ชมในความสำเร็จของงานที่ทำ ความรสู้ กึ มนั่ ใจในตนเองและมีเกียรติ ความ ต้องการเหลา่ นี้ เชน่ ยศ ตำแหน่ง ระดบั เงินเดือนทีส่ ูง งานทที่ ้าทาย ไดร้ ับการยกยอ่ งจากผู้อื่น มีส่วนรว่ มในการ ตัดสนิ ใจในงาน โอกาสแหง่ ความก้าวหนา้ ในงานอาชพี ฯลฯ 5. ความตอ้ งการพัฒนาศกั ยภาพของตน (Self-actualization) เป็นความตอ้ งการขน้ั สงู สุดของมนุษย์ และความต้องการนีย้ ากต่อการบอกไดว้ า่ คืออะไร เราเพยี งสามารถกลา่ วไดว้ ่า ความต้องการพฒั นาศักยภาพของ ตนเป็นความต้องการท่มี นุษย์ตอ้ งการจะเปน็ ต้องการท่ีจะได้รบั ผลสำเรจ็ ในเปา้ หมายชวี ติ ของตนเอง และต้องการ ความสมบูรณ์ของชีวิต

Thailand 4.0 “Thailand 4.0” เป็นวสิ ยั ทศั น์เชิงนโยบายการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศไทย หรอื โมเดลพฒั นา เศรษฐกิจของรัฐบาลภายใต้การนำของพลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรแี ละหวั หน้าคณะรกั ษาความ สงบแหง่ ชาติ (คสช.) ท่ีเขา้ มาบรหิ ารประเทศบนวสิ ยั ทัศน์ท่ี ว่า “มั่นคง ม่ังค่ัง และยั่งยนื ” ทม่ี ีภารกิจสำคัญในการ ขับเคลอ่ื นปฏิรปู ประเทศด้านต่าง ๆ เพื่อปรับแก้ จัดระบบ ปรบั ทศิ ทาง และสรา้ งหนทางพัฒนาประเทศให้เจริญ สามารถรับมือกับโอกาสและภยั คุกคามแบบใหม่ ๆ ท่เี ปลยี่ นแปลงอยา่ งเร็ว รนุ แรงในศตวรรษที่ 21 ได้ “Thailand 4.0” เป็นวิสยั ทัศนเ์ ชงิ นโยบาย ทเ่ี ปลย่ี นเศรษฐกจิ แบบเดิมไปสเู่ ศรษฐกิจทีข่ บั เคลอ่ื นด้วย นวัตกรรมเศรษฐกจิ ท่ีขับเคล่อื นด้วยนวัตกรรม ไดแ้ ก่ 1.เปล่ียนจากการผลกั ดันสินค้าโภคภณั ฑไ์ ปสสู่ นิ คา้ เชงิ นวตั กรรม 2.เปลี่ยนจากการขับเคลอื่ นประเทศดว้ ยภาคอตุ สาหกรรมไปสู่การขบั เคลื่อนดว้ ยเทคโนโลยี และความคิด สรา้ งสรรค์ 3 .เปลย่ี นจากการเนน้ ภาคการผลิตสนิ ค้าไปสูก่ ารเน้น ภาคบริการมากข้นึ “Thailand 4.0” เปน็ การเปล่ยี นทงั้ ระบบใน 4 องคป์ ระกอบสำคัญ คอื 1. เปลย่ี นจากการเกษตรแบบดั้งเดิม (Traditional Farming) เปน็ การเกษตรสมยั ใหมท่ เ่ี น้นการบริหารจดั การและ เทคโนโลยี (Smart Farming) เกษตรกรแบบเปน็ ผูป้ ระกอบการ (Entrepreneur) 2. เปลี่ยนจาก Traditional SMEs ท่ีรฐั ต้องใหค้ วามช่วยเหลือตลอดเวลา ไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ Startups ท่ีมีศักยภาพสูง 3. เปล่ียนจาก Traditional Services ซ่งึ มกี ารสร้างมูลคา่ ค่อนขา้ งต่ำ ไปสู่ High Value Services 4. เปลยี่ นจากแรงงานทักษะต่ำไปสแู่ รงงานที่มคี วามรู้ ความเช่ยี วชาญ และ ทกั ษะสูง

“Thailand 4.0” คือ ประเทศไทยในอดตี ที่ผา่ นมามกี ารพัฒนาด้านเศรษฐกิจเป็นไปอย่างตอ่ เนื่องตั้งแต่ ยคุ แรก ยคุ แรก เรียกวา่ “Thailand 1.0” เนน้ การเกษตรเป็นหลัก เชน่ ผลติ และขาย พืชไร่ พชื สวน หมู หมา ไก่ เปน็ ต้น ยคุ สอง เรียกวา่ “Thailand 2.0” เนน้ อุตสาหกรรมแต่เปน็ อุตสาหกรรมเบา เช่น การผลิตและขาย รองเทา้ เคร่อื งหนงั เคร่อื งดมื่ เคร่ืองประดับ เคร่ืองเขยี น กระเป๋า เครื่องนงุ่ หม่ เป็นต้น ป2ี 559 จดั อยูใ่ นยคุ ที่สาม เรยี กว่า “Thailand 3.0” เป็นอตุ สาหกรรมหนักและการส่งออก เชน่ การ ผลติ และขาย ส่งออกเหล็กกล้า รถยนต์ กล่นั นำมัน แยกกา๊ ซธรรมชาติ ปูนซีเมนต์ เป็นต้น แต่ ประเทศไทยในยุคที่ 1.0 2.0 และ 3.0 รายไดป้ ระเทศยังอยู่ในระดบั ปานกลาง จงึ ต้องรีบพัฒนาเศรษฐกิจสรา้ งประเทศ จงึ เปน็ เหตใุ ห้นำไปสูย่ ุคท่สี ี ใหร้ หัสใหม่ว่า “Thailand 4.0” ใหเ้ ปน็ เศรษฐกิจใหม่ (New Engines of Growth) มรี ายไดส้ ูง โดยวางเปา้ หมายใหเ้ กดิ ภายใน 5-6 ปีน้ี คล้าย ๆ กบั การวางภาพอนาคตทางเศรษฐกิจท่ี ชดั เจนของประเทศท่ีพัฒนา เช่น สหรฐั อเมรกิ า “A Nation of Makers” องั กฤษ “Design of Innovation” อินเดีย “Made in India” หรือ ประเทศเกาหลีใตท้ ี่วางโมเดลเศรษฐกิจในชอ่ื “Creative Economy”

นวตั กรรม “นวตั กรรม” หมายถงึ ความคิด การปฏิบตั ิ หรอื ส่ิงประดษิ ฐใ์ หม่ ๆ ท่ียงั ไม่เคยมใี ชม้ าก่อน หรอื เปน็ การ พฒั นาดดั แปลงมาจากของเดิมทม่ี ีอย่แู ล้ว ใหท้ ันสมยั และใชไ้ ด้ผลดียิ่งขนึ้ เมื่อนำนวัตกรรมมาใชจ้ ะชว่ ยใหก้ าร ทำงานน้นั ได้ผลดีมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธิผลสูงกวา่ เดมิ ทง้ั ยงั ชว่ ยประหยดั เวลาและแรงงานได้ด้วย การแบง่ ประเภทของนวัตกรรม สามารถแบ่งไดห้ ลายแบบ ขึน้ อยู่กบั ขอบเขตและลักษณะของการแบ่ง แต่ โดยรวมแลว้ สามารถแบง่ ง่ายๆ ได้ 4 ประเภท ดงั ต่อไปนี้ 1. นวตั กรรมผลิตภัณฑ์ (Product Innovation) การปรับปรงุ สิ่งประดษิ ฐ์ หรอื ผลิตภณั ฑท์ ่ีมีอย่แู ล้วใหพ้ ฒั นากา้ วหน้าย่งิ ขน้ึ โดยมที ัง้ แบบท่ีจับต้องได้ และ จับตอ้ งไม่ได้ นอกจากชว่ ยสรา้ งความสะดวกสบายแล้ว ยงั สามารถเพ่ิมมูลคา่ เชงิ พาณิชย์ในตลาดได้ เชน่ รถยนต์ ขบั เคลื่อนอตั โนมัติ, จอโทรทัศน์แบบ HDTV, หฟู ังไรส้ าย เป็นตน้ 2. นวตั กรรมกระบวนการ (Process Innovation) การพัฒนาแนวทาง วธิ ีผลติ สินคา้ และบรกิ าร ให้มรี ูปแบบใหมท่ ี่ทนั สมัยมากขน้ึ อาจจะเปน็ การลดขัน้ ตอน กระบวนการผลิตใหร้ วดเร็วมากขนึ้ เพ่ือประหยัดต้นทนุ และเวลา เช่น การยา้ ยฐานการผลิตสนิ คา้ ไปยงั แหล่งใหม่ เปน็ ตน้

3. นวัตกรรมดา้ นการวางตำแหน่งของสินคา้ (Position Innovation) การเปล่ียนแปลงรูปแบบของนวตั กรรม สนิ ค้าและบรกิ าร จากแบบเดมิ ๆ ที่คนส่วนใหญร่ จู้ กั หรอื คุ้นเคยอยู่ แล้ว ไปสู่การรบั ร้ใู หม่ท่ีทนั สมัยมากข้ึน เพื่อนำเสนอเทคโนโลยีและภาพลกั ษณ์ใหม่ๆ สู่ผูบ้ ริโภค เช่น เครอื่ งสำอาง ท่ีปรบั ปรงุ แบรนด์ โดยใช้เทคโนโลยีปรับปรงุ สูตรใหม่ ทำให้ครองใจกลุ่มลูกค้าวยั รนุ่ มากขึ้น เปน็ ตน้ 4. นวตั กรรมด้านกระบวนทัศน์ (Paradigm Innovation) การสร้างนวตั กรรมทสี่ ามารถเปลี่ยนแปลงความคิดเดมิ ๆ ได้ เพอ่ื นำไปสกู่ ารสรา้ งกรอบความคิดใหมๆ่ เช่น จากเดมิ เชอ่ื ว่าสมารท์ โฟน 5G จะตอ้ งมีราคาทสี่ ูง แต่เทคโนโลยกี ็ทำใหส้ มารท์ โฟนเหลา่ นี้ราคาถูกลง และสามารถ เข้าถงึ คนหลายระดบั ได้มากข้ึน เป็นต้น

องคป์ ระกอบของนวตั กรรม ประกอบดว้ ย 1. ความใหม่ ใหมใ่ นทน่ี ี้คือ ส่งิ ใหม่ท่ีไม่เคยมผี ใู้ ดทำมาก่อน เคยทำมาแล้วในอดตึ แต่นำมาร้ือฟ้นื ใหม่ หรอื เปน็ สงิ่ ใหม่ ทมี่ ีการพฒั นามาจากของเกา่ ที่มีอยู่เดิม 2. ใช้ความรหู้ รือความคดิ สรา้ งสรรค์ในการพฒั นา นวตั กรรมตอ้ งเกดิ จากการใชค้ วามรู้และความคดิ สร้างสรรคใ์ นการสร้างและพัฒนา ไมใ่ ชเ่ กิดจากการลอกเลียนแบบ หรือการทำซ้ำ 3. มปี ระโยชน์ สามารถนำไปพัฒนาหรอื แก้ปัญหาในการดำเนินงานได้ ถ้าในทางธรุ กิจต้องมีประโยชน์เชงิ เศรษฐกจิ สรา้ งมลู ค่าเพ่ิม 4. นวัตกรรมมีโอกาสในการพัฒนาตอ่ ได้ ช้นั ตอนของนวตั กรรม 1.การคิดค้น (Invention) เป็นการยกร่างนวัตกรรมประกอบดว้ ยการศึกษาเอกสารทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับ นวัตกรรม การกำหนดโครงสรา้ งรูปแบบของนวตั กรรม 2.การพัฒนา (Development) เป็นขั้นตอนการลงมือสร้างนวัตกรรมตามที่ยกรา่ งไว้ การตรวจสอบ คุณภาพของนวตั กรรมและการปรับปรงุ แกไ้ ข 3.ข้ันนำไปใชจ้ ริง (Implement) เป็นขนั้ ที่มีความแตกต่างจากที่เคยปฏิบัติเดมิ มา ในขั้นตอนน้รี วมถึง ขั้นการทดลองใช้นวตั กรรม และการประเมินผลการใช้นวตั กรรม 4.ขนั้ เผยแพร่ (Promotion) เป็นขนั้ ของการเผยแพร่ การนำเสนอ หรอื การจำหน่าย นางสาวกุลปรียาพร ภาคพรม ม.5/5 เลขท่ี 11


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook