Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Maslow Th 4.0 Innovation

Maslow Th 4.0 Innovation

Published by ww mm, 2022-03-03 19:03:11

Description: นางสาวกัญญภัค สันทาลุนัย

Search

Read the Text Version

ลำดบั ข้นั ความต้องการของมนุษย์ (Hierarchy of Needs) บราฮัม มาสโลว์ (Abraham Maslow) นักจติ วิทยาระดบั โลกผคู้ ดิ ค้นแนวคดิ ดงั กล่าวเชอื่ วา่ คนเรามีความปรารถนาหรือความต้องการทีจ่ ะเตมิ เตม็ ความสมบรู ณ์แบบในชีวติ (Self-actualized) กันทุกคน ซึง่ นับเปน็ จดุ สูงสดุ ของชีวติ โดยกวา่ จะไปถงึ จดุ นไ้ี ดน้ นั้ ก็จำเป็นตอ้ งไดร้ บั การเติมเตม็ ในขัน้ ตา่ งๆใหไ้ ด้ก่อน โดยมาสโลวก์ ไ็ ดส้ รปุ ลำดับขนั้ ความตอ้ งการของมนุษย์ (Hierarchy of Needs) ไว้ 5 ขั้นดว้ ยกนั ข้นั ท่ี 1 ความต้องการทางกายภาพ (Physiological) ถือเปน็ ความตอ้ งการข้นั พนื้ ฐานทีส่ ดุ เพอ่ื ความอยรู่ อดและการดำรงชีพของมนษุ ยท์ กุ ๆคน โดยหากมนุษย์ไม่ไดร้ บั การตอบสนองเหล่านี้ กอ็ าจทำใหม้ นุษย์ไมส่ ามารถใชช้ ีวิตหรอื ทำงานออกมาได้ ดี ตวั อยา่ งเชน่ ความต้องการอาหาร น้ำ อากาศหายใจ เสือ้ ผ้า ทพี่ ักอาศัย และยังรวมไปถงึ ความ ตอ้ งการทางเพศเพอ่ื การอยูร่ อดของเผ่าพนั ธุ์มนษุ ยอ์ กี ดว้ ย

ขน้ั ที่ 2 ความต้องการความมนั่ คงปลอดภยั (Safety) เม่อื มนษุ ยไ์ ด้รับความต้องการข้นั พน้ื ฐานแลว้ กม็ คี วามตอ้ งการท่ีมากขึน้ และมคี วาม สลับซับซ้อนทเ่ี พมิ่ ข้ึน ท่เี รยี กว่าความตอ้ งการความมัน่ คงปลอดภัยในการใชช้ ีวติ รวมถงึ การวางแผน สำหรบั อนาคต ตวั อย่างเช่น ความม่ันคงทางการเงิน การทำงาน เศรษฐกจิ ความปลอดภยั ดา้ น สุขภาพ ทรพั ยส์ นิ ทีส่ ง่ ผลตอ่ พฤติกรรมมนุษย์ในการทำประกนั ภัยด้านตา่ งๆ และการอยใู่ น สภาพแวดล้อมทีป่ ลอดภยั ขัน้ ที่ 3 ความตอ้ งการความรักและความเป็นเจ้าของ (Love/Belonging) มนุษยท์ ุกคนตอ้ งการเปน็ ทรี่ กั และไดร้ บั การยอมรับในกลุม่ เพือ่ น ครอบครัว คนรัก เพอ่ื น ร่วมงาน ผูค้ นในสังคม กลมุ่ กิจกรรมตา่ งๆ โดยในข้ันนี้จะมีความเกี่ยวข้องความสมั พันธท์ างอารมณท์ ่ี สง่ ผลตอ่ พฤติกรรมตา่ งๆของมนุษย์ เพราะพ้ืนฐานของมนษุ ย์นนั้ ไม่อยากอยอู่ ยา่ งโดดเด่ียว ไมอ่ ยากมี ความกังวล และไม่อยากถูกทอดทงิ้ ขั้นท่ี 4 ความเคารพนบั ถือ (Esteem) เมอ่ื ความตอ้ งการทั้ง 3 ข้นั ไดร้ บั การเตมิ เตม็ อยา่ งเตม็ ท่แี ลว้ ในขนั้ ที่ 4 คือการไดร้ บั ความ เคารพนับถอื จากผู้คนรอบขา้ ง เพื่อให้รู้สกึ ว่าตวั เองมีคณุ คา่ ไมร่ ู้สึกอ่อนแอหรอื ตำ่ ตอ้ ย ตวั อยา่ งเชน่ การมรี ว่ มในกจิ กรรมเดน่ ๆ การจบการศึกษาดีๆ การเป็นส่วนหน่งึ ของทมี กฬี า การหางานอดเิ รกทำ ตา่ งๆ เพ่อื ใหค้ นรอบขา้ งไดเ้ หน็ ว่าตวั เองมที ักษะหรือความสามารถมากแค่ไหน ขั้นที่ 5 ความสมบูรณแ์ บบ (Self-actualization) จุดสูงสุดของความตอ้ งการน้นั คอื ความสมบรู ณ์แบบในชีวิตหรือเรยี กไดว้ า่ อยากเป็นทุกๆ อย่างทอ่ี ยากเป็นในฐานะมนษุ ยค์ นนึงท่สี ามารถจะเป็นได้ โดยมาสโลว์เชอื่ วา่ มนุษยน์ ้ันสามารถพัฒนา ขีดความสามารถและใช้มนั อยา่ งเตม็ ที่ เพ่อื ไปสคู่ วามสมบรู ณแ์ บบมากทสี่ ดุ

Thailand 4.0 “Thailand 4.0” เป็นวสิ ยั ทัศน์เชงิ นโยบายการพัฒนาเศรษฐกจิ ของประเทศไทย หรือ โมเดล พฒั นาเศรษฐกจิ ของรฐั บาล ภายใต้การนำของพลเอกประยทุ ธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและหวั หนา้ คณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ (คสช.) ทเ่ี ข้ามาบริหารประเทศบนวสิ ยั ทัศน์ที่ วา่ “มน่ั คง มั่งคัง่ และ ยัง่ ยืน” ทมี่ ภี ารกิจสำคัญในการขบั เคล่ือนปฏิรปู ประเทศด้านตา่ ง ๆ เพ่อื ปรับแก้ จดั ระบบ ปรับ ทศิ ทาง และสรา้ งหนทางพฒั นาประเทศให้เจรญิ สามารถรบั มอื กับโอกาสและภัยคุกคามแบบใหม่ ๆที่ เปลย่ี นแปลงอย่างเร็วและ รนุ แรงในศตวรรษท่ี 21 ได้ เศรษฐกิจที่ขับเคล่อื นดว้ ยนวตั กรรม ได้แก่ 1.เปลย่ี นจากการผลกั ดันสินค้าโภคภณั ฑ์ไปสสู่ นิ คา้ เชงิ นวัตกรรม 2.เปลย่ี นจากการขบั เคลือ่ นประเทศด้วยภาคอตุ สาหกรรมไปส่กู ารขบั เคลือ่ นดว้ ยเทคโนโลยี และ ความคดิ สร้างสรรค์ 3 .เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสินค้าไปสู่การเน้น ภาคบรกิ ารมากข้ึน

“Thailand 4.0” คือ ประเทศไทยในอดตี ทผ่ี า่ นมามกี ารพัฒนาดา้ นเศรษฐกจิ เปน็ ไปอยา่ งต่อเนอื่ ง ตง้ั แตย่ คุ แรก ยุคแรก เรยี กวา่ “Thailand 1.0” เน้นการเกษตรเป็นหลกั เช่น ผลิตและขาย พืชไร่ พชื สวน หมู หมา กา ไก่ เปน็ ตน้ ยุคสอง เรยี กว่า “Thailand 2.0” เนน้ อตุ สาหกรรมแตเ่ ป็นอตุ สาหกรรมเบา เชน่ การผลติ และ ขายรองเท้า เครอื่ งหนัง เคร่ืองดื่ม เครอ่ื งประดับ เครอ่ื งเขียน กระเป๋า เคร่อื งนงุ่ ห่ม เปน็ ต้น ป2ี 559 จัดอยใู่ นยคุ ทส่ี าม เรียกว่า “Thailand 3.0” เปน็ อตุ สาหกรรมหนกั และการสง่ ออก เชน่ การผลติ และขาย สง่ ออกเหล็กกลา้ รถยนต์ กล่นั นำมนั แยกกา๊ ซธรรมชาติ ปูนซีเมนต์ เปน็ ตน้ แต่ ประเทศไทยในยุคที่ 1.0 2.0 และ 3.0 รายได้ประเทศยังอย่ใู นระดบั ปานกลาง จงึ ต้องรีบพัฒนา เศรษฐกจิ สรา้ งประเทศ จงึ เปน็ เหตุใหน้ ำไปสยู่ ุคทีส่ ี ใหร้ หสั ใหม่ว่า “ประเทศไทย 4.0” ใหเ้ ปน็ เศรษฐกจิ ใหม่ (New Engines of Growth) มรี ายไดส้ ูง โดยวางเป้าหมายใหเ้ กดิ ภายใน 5-6 ปีน้ี คล้าย ๆ กับการวางภาพ อนาคตทางเศรษฐกิจท่ชี ัดเจนของประเทศทพ่ี ัฒนา เช่น สหรฐั อเมรกิ า “A Nation of Makers” องั กฤษ “Design of Innovation” อนิ เดีย “Made in India” หรือ ประเทศเกาหลีใต้ที่วางโมเดล เศรษฐกจิ ในช่ือ “Creative Economy” นางสาวกัญญภัค สันทาลนุ ัย ม.5/5 เลขที่6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook