Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การนิเทศภายในสถานศึกษา-ปี-64

การนิเทศภายในสถานศึกษา-ปี-64

Published by ปริวรรต คําวรรณ, 2022-03-15 04:13:38

Description: การนิเทศภายในสถานศึกษา-ปี-64

Search

Read the Text Version

ค่มู ือการนิเทศภายในสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔ นายกิชสณพนธ์ เฉลมิ วสิ ตุ ม์กลุ ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านท่าอาจ โรงเรียนบ้านท่าอาจ กลมุ่ โรงเรียนแม่สอด-ท่าสายลวด อาเภอแมส่ อด จังหวัดตาก สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาตาก เขต ๒ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

คานา การจัดการศึกษาในปจจุบัน มีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัยและความกาวหนา ทางด้านเทคโนโลยีตลอดจนความตองการของตลาดแรงงาน การจัดการศึกษาในสถานศึกษาจําเปนตอง ปรับเปล่ียนใหสอดคลองกับภาวะการณปจจุบัน ส่ิงสําคัญประการหน่ึงที่จะชวยใหครูในสถานศึกษา สามารถปฏิบัติงานไดบรรลุเปาหมายตามความคาดหวังของหลักสูตร ในยุคของการปฏิรูปการศึกษาก็คือ การนเิ ทศ ปจจุบันการนิเทศการศกึ ษาโดยศึกษานเิ ทศกจากสวนกลางและเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ไมสามารถจะ ทําไดอยางท่ัวถึง เน่ืองจากนโยบายลดอัตรากําลังภาครัฐการนิเทศการศึกษาจากภายนอกหรือจาก ศึกษานิเทศกจึงไมเพียงพอ เพ่ือให้การพัฒนาการนิเทศมีความครอบคลุมครูและโรงเรียน จึงจําเปนตองมี การนิเทศภายในสถานศึกษา คู่มือการนิเทศภายในสถานศึกษาเล่มน้ี ประกอบไปด้วย ความสําคัญของการนิเทศภายใน รูปแบบ กระบวนการ และกิจกรรมการนิเทศ รวมทั้งตัวอยา่ งเครื่องมือนเิ ทศ ขอขอบคุณ คณะกรรมการนิเทศภายในสถานศึกษาทุกท่าน และผู้ท่ีเกี่ยวข้องท่ีร่วมกันวางแผน กําหนดแนวทางการดาํ เนนิ งานนิเทศภายในโรงเรยี นไดเ้ สรจ็ สน้ิ พรอ้ มนาํ สกู่ ารปฏบิ ัติ นายกิชสณพนธ์ เฉลมิ วิสุตม์กลุ ผู้อํานวยการโรงเรยี นบา้ นทา่ อาจ

สารบญั หน้า 1 บทที่ 1 1 บทนา 3 3 ความสําคญั ของการนิเทศภายใน 5 วัตถปุ ระสงค์ของการนิเทศภายใน 6 ขอบข่ายของการนิเทศ 13 กระบวนการนิเทศภายใน 14 กจิ กรรมการนเิ ทศภายในโรงเรียน 14 บทบาทของผู้บริหาร 14 2 ขอ้ มูลพนื้ ฐานดา้ นวิชาการ 15 ผลการสอบ O-NET ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 6 15 ผลการทดสอบระดบั ชาติการสอบ NT 18 ผลการทดสอบการอ่านช้นั ประถมศึกษาปที ่ี 1 (RT) 19 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 ถงึ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 19 3 การดาเนินการนเิ ทศภายใน 21 คณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน 23 เปา้ หมายการนิเทศ 27 ปฏิทินการนิเทศ 28 กิจกรรมการนเิ ทศ 30 4 เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการนิเทศภายในโรงเรยี น 32 มาตรการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของโรงเรยี น 33 แบบประเมนิ ความรู้ความเข้าใจและการนําหลกั สตู รสถานศึกษาไปใช้ 35 แบบประเมินการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 36 แบบประเมินแผนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 37 แบบประเมินการเยยี่ มชัน้ เรยี น แบบบนั ทกึ สงั เกตการสอน ภาคผนวก โครงการนิเทศภายในโรงเรยี น โครงการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น คาํ ส่งั แต่งตงั้ คณะกรรมการนิเทศภายในโรงเรียน แบบบันทกึ ผลการประเมนิ ต่าง ๆ

๑ บทที่ 1 บทนา ความสาคญั ของการนเิ ทศภายใน ตามพระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาติ (ฉบบั ที่ 4) พ.ศ.2562 โดยคํานึงถงึ หลักทว่ี ่าผู้เรียน จะตอ้ งมีความสําคัญทีส่ ดุ สามารถพฒั นาตนเองเต็มตามศักยภาพ ตามมาตราที่ 22 โดยสถานศึกษา จะตอ้ งดาํ เนินงานจดั กิจกรรมใหส้ อดคล้องกับความสนใจ ความถนดั ฝกึ ทกั ษะกระบวนการคดิ การ เรยี นรจู้ ากประสบการณ์จริง บรู ณาการความรูด้ ้านต่าง ๆ ตลอดจนส่งเสริม ใหผ้ สู้ อนจดั การเรียนทเ่ี อ้ือต่อ การเรยี นรูแ้ ละจดั การเรยี นรใู้ หเ้ กิดขึ้นไดท้ ุกเวลา ทกุ สถานทต่ี ามมาตรา 24 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2546:11-12) ซ่ึงในการปฏริ ูปการศกึ ษาใหป้ ระสบความสาํ เร็จตามพระราชบญั ญัติการศึกษาแหง่ ชาติ นัน้ จําเปน็ อย่างยิง่ ทจี่ ะต้องมีการพฒั นาครใู หป้ รับพฤตกิ รรมการสอนจากเดิมๆ กระบวนการหนงึ่ ทีใ่ ช้ใน การสนับสนุนการพัฒนาคณุ ภาพครู ตลอดจนพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนใหบ้ รรลุตามท่ีต้องการคือ กระบวนการนเิ ทศการศึกษา เพราะการนิเทศการศึกษาจะชว่ ยกระต้นุ ส่งเสริมและปรบั ปรงุ กระบวนการ การสอนของครูให้บรรลตุ ามจุดมงุ่ หมายของหลักสูตรทก่ี ําหนด ซง่ึ การนิเทศการศึกษาภายในโรงเรยี นเปน็ กระบวนการหนึง่ ท่ีจะชว่ ยพัฒนาครูใหส้ ามารถพฒั นาการเรียนการสอนของตนไดต้ รงตามสภาพของปัญหา และความต้องการทแ่ี ท้จริง การนเิ ทศภายในโรงเรยี นเป็นการสง่ เสริม สนบั สนนุ หรือให้ความชว่ ยเหลือครูในโรงเรียนให้ ประสบความสาํ เรจ็ ในด้านการปฏบิ ัตงิ านตามภารกิจหลัก ไดแ้ ก่ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนหรอื การ สรา้ งเสรมิ พัฒนาการของผเู้ รยี นทุกดา้ น ทัง้ ด้านร่างกาย สงั คมอารมณ์ จิตใจและสติปญั ญาให้เต็มตามวัย และศักยภาพ เป็นการปฏิบตั ิงานร่วมกันระหวา่ งผบู้ ริหารสถานศึกษาและครใู นโรงเรียนนน้ั ที่มงุ่ เน้นการ ปรบั ปรงุ แก้ไข พัฒนาการปฏิบัติงานของครใู ห้มีประสทิ ธิภาพและส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพนกั เรยี นและ คุณภาพการจัดการศกึ ษา ดังนนั้ การนิเทศจงึ เป็นกระบวนการสําคญั ทจ่ี ะชว่ ยสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และมี สว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ปรบั เปลี่ยนแนวคดิ และวธิ กี ารในการจดั กระบวน การเรยี นรู้ เพ่อื ใหผ้ ูเ้ รียนไดเ้ กิดการเรียนรู้อย่างแทจ้ ริง สามารถทีจ่ ะทําใหผ้ เู้ รยี นได้พฒั นาเต็มตามศักยภาพ และการ นเิ ทศภายในที่ประสบผลสําเรจ็ จะทาํ ให้เกิดการเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมการสอนของครู และบคุ ลากรทุก ฝ่าย ทสี่ ง่ ผลตอ่ การพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรยี น หวั ใจของการนเิ ทศภายใน คอื ครสู ามารถพัฒนาตนเอง พัฒนางานและการพัฒนาผเู้ รียนให้มีคณุ ภาพอย่างรอบด้าน จนมีผลการพัฒนาเป็นทป่ี ระจกั ษ์ และ สามารถเผยแพร่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเพ่ือนครู และบุคคลทเี่ ก่ียวข้องกับการเรยี นรูข้ องนักเรียน งานนิเทศภายในโรงเรียน มีความสําคัญและจําเป็นอย่างย่ิงต่อการจัดการเรียนรู้และการพัฒนา คุณภาพการศึกษาให้บรรลุตามเป้าหมาย ซ่ึงเป็นหน้าท่ีของผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทุกฝ่าย ในสถานศึกษาจะต้องร่วมมือร่วมใจกันดําเนินการพัฒนางานทุกด้านในสถานศึกษาสํานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษา ในฐานะหนว่ ยงานหลกั ในการรับผิดชอบการจัดการศึกษา จะต้องให้ความสําคัญของการนิเทศ ภายในโรงเรียน เพ่ือให้สถานศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางในการกําหนดการบริหารจัดการให้ร้อยรัดกันทําให้ เกดิ ผลในทางการปฏิบตั ทิ ช่ี ัดเจนข้นึ

๒ เนอื่ งด้วยสถานะการสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรยี น บา้ นท่าอาจไดก้ ารจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทเี่ หมาะสมกับบรบิ ทของสถานศึกษา โดยใช้รูปแบบ On line และ On demand จึงไดม้ ีการ นเิ ทศช้ันเรยี นผา่ นส่ือออนไลนแ์ ละตดิ ตามการจดั การเรียนการสอน โดยครผู สู้ อนจะตอ้ งใช้สอื่ การสอนที่ หลากหลายและเหมาะสมกับผเู้ รียน เนื้อหาการเรยี นการสอนบางสว่ นไม่สามารถจดั การเรยี นการสอน ออนไลนไ์ ด้และจะตอ้ งมีการปรับระยะเวลาใหเ้ หมาะสม เพื่อใหผ้ ้เู รียนเกดิ ความเขา้ ใจในเนือ้ หาทีกระชบั เขา้ ใจง่าย จงึ จําเปน็ ต้องมกี ารนเิ ทศตดิ ตามการจดั การเรยี นสอนเพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการเรยี น กรสอนภายในสถานศกึ ษา ปีการศกึ ษา 2564

๓ วตั ถุประสงค์ของการนิเทศ 1. เพื่อกํากบั ติดตาม การดาํ เนินการพัฒนางานวชิ าการของครผู สู้ อนด้านหลักสูตร การพฒั นา สอ่ื นวัตกรรมและการวดั และประเมินผล 2. เพื่อสง่ เสรมิ สนับสนุนครูให้สามารถพัฒนางาน และผเู้ รยี นได้อย่างมีคุณภาพตามจดุ มุ่งหมาย ของหลักสตู รสถานศึกษา 3. เพ่ือสง่ เสรมิ สนบั สนุนครใู ห้สามารถพัฒนาความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ที่นําไปสกู่ าร พฒั นาความก้าวหน้าในวิชาชีพ 4. เพื่อส่งเสริม สนบั สนุนใหเ้ กิดการมสี ว่ นร่วมในการพฒั นางานของโรงเรยี น 5. เพ่อื สรา้ งความสมั พันธอ์ ย่างกลั ยาณมิตร ภายในโรงเรยี นและผทู้ ี่เก่ียวข้อง 6. เพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรียนทุกช้นั เรียนใหม้ คี ุณภาพตามเป้าหมาย ทก่ี ําหนด ขอบขา่ ยการนเิ ทศภายใน ขอบข่ายและภารกจิ งานวชิ าการ ตามแนวทางการกระจายอํานาจการบรหิ ารและการจัดการศึกษา ท่ีกําหนดในกฎกระทรวง 1. การพัฒนาหรือการดําเนินการเกี่ยวกับการใหค้ วามเห็นการพฒั นาสาระหลักสูตรท้องถน่ิ 2. การวางแผนงานด้านวชิ าการ 3. การจดั การเรียนการสอนในสถานศึกษา 4. การพัฒนาหลักสตู รของสถานศึกษา 5. การพฒั นากระบวนการเรียนรู้ 6. การวิจยั เพ่ือพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาในสถานศึกษา 7. การพัฒนาและส่งเสรมิ ให้มแี หล่งเรียนรู้ 8. การนเิ ทศภายใน 9. การแนะแนว 10. การพัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา 11. การส่งเสริมชมุ ชนใหม้ คี วามเข้มแข็งทางวชิ าการ 12. การประสานความร่วมมือในการพัฒนาวชิ าการกบั สถานศึกษาและองค์กรอื่น 13. การสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ งานวชิ าการแกบ่ ุคคล ครอบครวั องคก์ ร หนว่ ยงาน สถานประกอบการและสถาบันอ่ืนท่จี ดั การศกึ ษา 14. การจดั ทําระเบยี บและแนวปฏิบัตเิ กย่ี วกบั งานด้านวชิ าการของสถานศกึ ษา 15. การคดั เลือกหนังสือ แบบเรยี นเพ่อื ใชใ้ นสถานศึกษา 16. การพฒั นาและใช้เทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษา

๔ หลกั การนิเทศภายใน 1. การปฏิบตั งิ านตามวิธวี ิทยาศาสตร์ โดยดําเนินการอย่างมีระบบ ระเบียบ และครอบคลุมถงึ วธิ ี การศึกษาสภาพปจั จบุ นั ปัญหาความตอ้ งการ การวางแผนการนิเทศ การปฏบิ ัติการนเิ ทศ การประเมนิ ผล การนิเทศ ซ่ึงควรจะมาจากการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และสรปุ ผลอย่างมปี ระสิทธิภาพและเปน็ ทเี่ ช่ือถือ ได้ 2. การปฏิบัติงานตามวถิ ปี ระชาธิปไตย เคารพในความแตกต่างระหวา่ งบุคคลใหเ้ กียรติซง่ึ กนั และ กนั เปิดใจกว้างยอมรับผลการประเมินตนเอง ยอมรับในเหตแุ ละผลและปฏิบตั ิตามข้อตกลง ตลอดจนใช้ ความรู้ ความสามารถในการปฏบิ ัติงาน เพอื่ ให้งานบรรลเุ ปา้ หมาย 3. การปฏิบัติงานเพ่อื พฒั นา สร้างสรรค์ โดยการแสวงหาความสามารถพเิ ศษของครูแต่ละบคุ คล เปดิ โอกาสให้ไดแ้ สดงออกและสนบั สนุนสง่ เสรมิ ความสามารถเหลา่ น้ันอย่างเตม็ ท่ี 4. การปฏบิ ัตติ ามกระบวนการกลุ่มและการมสี ่วนรว่ ม เนน้ ความร่วมมือรว่ มใจในการดําเนินงาน โดยยึดวัตถปุ ระสงค์การทํางานร่วมกนั การชว่ ยเหลือแบง่ ปันประสบการณ์ซึง่ กันและกัน รว่ มคดิ รว่ มพฒั นา ท้ังนเ้ี พื่อความสําเร็จของงานโดยสว่ นรวม 5. การปฏบิ ัตงิ านเพ่อื ประสทิ ธภิ าพ เน้นการปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบ มีการ ควบคมุ ติดตามผลการดาํ เนินงานและผลผลิตอย่างใกลช้ ิด เพ่ือให้มีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลตาม มาตรฐานการศึกษา 6. การปฏบิ ัติงานโดยยึดวตั ถุประสงค์ การดาํ เนนิ งานทุกคร้งั ตอ้ งกาํ หนดวตั ถุประสงคก์ ารทาํ งาน อย่างชดั เจน ออกแบบการดําเนินงานอยา่ งเหมาะสม ท้งั นีเ้ พือ่ ให้งานบรรลวุ ัตถุประสงค์ที่กาํ หนดไว้

๕ กระบวนการนเิ ทศภายใน กระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรียนบ้านทาอาจเปน็ กิจกรรมท่ีสาํ คัญทสี่ ดุ โดยเปน็ การสนบั สนนุ การ เรียนการสอนภายในโรงเรยี นให้ดําเนินไปอย่างมีประสิทธภิ าพขัน้ ตอนกระบวนการนิเทศภายในโรงเรียน ประกอบดว้ ย กจิ กรรมประชุมก่อนเปิดภาคเรียน การเย่ยี มชนั้ เรยี น การสงั เกตการสอนและการนเิ ทศการ จดั ทําหนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ PLC และงานวจิ ัยในช้นั เรียน เตรยี มความพร้อมก่อนเปิด ภาคเรยี น การเยี่ยมชัน้ เรียน การสังเกตการสอน การนิเทศการจดั ทาหน่วย การเรยี นรู้ แผนการจัดการ เรยี นรู้ PLC และงานวิจัย ในชน้ั เรยี น

๖ 1. เตรียมความพร้อมกอ่ นเปดิ ภาคเรยี น วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื เตรียมการก่อนเปิดภาคเรียน ให้ครสู ามารถทําการสอนไดท้ ันทีในวันเปดิ เรยี นวันแรก 2. เพื่อประเมนิ ผลการดาํ เนินงานในปหี รอื ภาคเรยี นทผี่ ่านมา 3. เพื่อวางแผน/โครงการทจ่ี ะดําเนินการในปหี รอื ภาคเรียนต่อไป เป้าหมาย 1. โรงเรยี นมคี วามพร้อมในการจัดการศึกษาในปีหรือภาคเรียนต่อไป 2. ครสู ามารถจัดการเรยี นการสอนได้ในทันทใี นวนั เปิดทาํ การของปีการศึกษา 3. แผนงาน / โครงการ พร้อมการดาํ เนนิ งาน กิจกรรมและขนั้ ตอนการดาเนินงาน 1. เตรยี มการประชุม 1.1 วางแผนการประชมุ 1.2 จัดสถานทีแ่ ละส่ิงอํานวยความสะดวก 1.3 เตรยี มเอกสารการประชุม 1.4 เตรยี มบุคลากร 2. จัดประชมุ ดาํ เนนิ การประชุมตามหวั ข้อการประชมุ ดังนี้ 2.1 การประเมนิ ผลในรอบปี/ภาคเรยี น ท่ีผา่ นมา 2.2 ปัญหา อุปสรรค การดําเนนิ งานในปี / ภาคเรียนที่ผา่ นมา 2.3 โครงการที่จะดาํ เนนิ การในปี/ภาคเรียน ตอ่ ไป 2.4 การจดั ครูเข้าชัน้ /จัดรายวิชา 2.5 งาน/โครงการเร่งด่วนที่ต้องจัดทาํ ระยะเวลา ตลอดปกี ารศึกษา ส่ือและเครอ่ื งมือ - แผนกาํ หนดการประชมุ - เอกสารตา่ งๆ เชน่ โครงการ หลกั สูตร แผนการสอน ฯลฯ - สมุดบนั ทกึ การประชุม

๗ 2. การเย่ียมชั้นเรยี น วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอ่ื สํารวจปญั หาและความต้องการของครู 2. เพอ่ื ให้คําปรกึ ษาและคาํ แนะนาํ แก่ครู 3. เพื่อร่วมกันพฒั นางานของนกั เรียนให้เออ้ื ต่อการเรียนการสอน เป้าหมาย 1. ผู้บริหาร/ครทู ไ่ี ด้รับการมอบหมาย เย่ยี มชั้นเรียนภาคเรยี นละ 1 คร้ัง 2. สภาพ บรรยากาศท้ังในและนอกห้องเรยี นเอ้ือต่อการเรยี นการสอน 3. ครูและนกั เรยี นปฏบิ ัตงิ านตามภารกจิ ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ กจิ กรรมและข้ันตอนดาเนินงาน 1. กําหนดจดุ มุง่ หมายในการเยี่ยมชนั้ เรียน 2. กาํ หนดปฏิทินการเย่ยี มชัน้ เรยี น 3. ดาํ เนินการเยย่ี มช้นั เรยี น 4. สรุปผล พฒั นา ปรบั ปรงุ แก้ไข ระยะเวลา ภาคเรยี นละ 1 ครงั้ ส่ือและเครือ่ งมอื แบบบันทึกการเยย่ี มช้ันเรยี น

๘ 3. การสงั เกตการสอน วัตถุประสงค์ 1. เพอ่ื นําขอ้ มูลที่ได้จากการสังเกตมาปรบั ปรงุ พฤติกรรมการการสอน 2. เพื่อเสริมประสิทธิภาพการจัดกระบวนการเรียนการสอน 3. เพื่อสรา้ งความสัมพนั ธท์ ีด่ ีในการรว่ มมือในการทาํ งาน เป้าหมาย 1. คณะกรรมการนเิ ทศสังเกตการสอนครแู ต่ละทา่ น ภาคเรยี นละ 1 ครั้ง 2. ครทู ุกคนมีการพัฒนาการจัดกระบวนการเรยี นการสอนท่มี ีประสทิ ธิภาพ กจิ กรรมและขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน - ประชมุ วางแผนเพื่อกําหนดหัวข้อการสงั เกตการสอน - ชแี้ จงทําความเข้าใจถึงความจําเปน็ ทตี่ อ้ งมกี ารสงั เกตการสอน - กําหนดปฏทิ ินและบุคลากรเพื่อสงั เกตการสอน - ดาํ เนนิ การสงั เกตการสอน - ประเมินผล ระยะเวลา ภาคเรียนละ 1 ครง้ั ส่อื และเครอื่ งมอื แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน

๙ 4. การนเิ ทศการจัดทาหนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ PLC และงานวจิ ัยในชน้ั เรียน วตั ถุประสงค์ 1. เพ่อื พัฒนาการจดั ทาํ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ PLC และงานวิจยั ในชัน้ เรียน 2. เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให้สูงขน้ึ เปา้ หมาย 1. ครมู ีหนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ ภาคเรยี นละ 1 รายวิชา 2. ครูมงี านวจิ ัยในชนั้ เรียน เพ่ือพฒั นาผู้เรยี น กิจกรรมและข้ันตอนดาเนนิ งาน - ประชมุ วางแผนเพ่ือชี้แจงแนวทางการดาํ เนินงาน - กําหนดปฏทิ ินและบุคลากรเพือ่ นเิ ทศการจดั ทาํ หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการ เรยี นรู้ และงานวจิ ัยในช้นั เรียน - ดาํ เนนิ การจัดทาํ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ และงานวิจยั ในช้นั เรยี น - ประเมินผล ระยะเวลา ภาคเรยี นละ 1 ครัง้ สอื่ และเครอ่ื งมอื - แบบประเมนิ การจดั ทาํ หน่วยการเรียนรู้ - แบบบนั ทึกการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ - แบบบันทกึ การตรวจวจิ ยั ในช้นั เรยี น

๑๐ เทคนคิ การนิเทศ 1. การนิเทศแบบร่วมพัฒนา การนเิ ทศแบบรว่ มพัฒนา คือ ปฏิสัมพันธท์ างการนิเทศระหวา่ ง ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ศึกษานิเทศก์และครู ในกระบวนการนิเทศการศกึ ษาท่ีมุ่งแกป้ ัญหาและพัฒนาการ เรยี นการสอนอย่างเปน็ ระบบ โดยใชเ้ ทคนิคการนิเทศการสอนเป็นปัจจัยหลกั บนพื้นฐานของสมั พนั ธ์ภาพ แหง่ การร่วมคดิ รว่ มทาํ พึงพา ช่วยเหลือ ยอมรับซง่ึ กันและกนั ใหเ้ กียรตแิ ละจรงิ ใจต่อกันระหว่างผูน้ ิเทศ ผู้สอนและค่สู ญั ญา เพื่อรว่ มกัน พัฒนาทักษะวิชาชีพ อันจะสง่ ผลโยตรงต่อการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ลักษณะสาํ คญั ของการนิเทศแบบร่วมพฒั นา เปน็ ปฏิสัมพันธท์ างการนิเทศจากใจถงึ ใจ บนพ้นื ฐานของความ รัก ความเข้าใจและความจรงิ ใจต่อกันในการพัฒนาทกั ษะวิชาชพี 2. การนเิ ทศรูปแบบออนไลน์ การนิเทศออนไลนเ์ กิดข้ึนหลังจากการเปลี่ยนแปลงของสงั คมโลก อย่างรวดเร็ว ระบบการ ส่ือสารไรพ้ รมแดน สงั คมเปล่ียนเปน็ สังคมยคุ ดจิ ิทลั ปัจจัยเหล่าน้สี ่งผลตอ่ รปู แบบ การใช้ชวี ติ ของบุคคลและวถิ ี 18 การทาํ งานของบุคคล เพื่อมุ่งตอบสนองความต้องการที่ รวดเรว็ ทันเวลา เพ่อื ขจดั ปญั หาและอุปสรรคในเร่ือง เวลา และระยะทางอนั จะส่งผลต่อความสําเรจ็ ของงาน จุดเดน่ ของการ ติดตอ่ ส่อื สารผา่ นระบบดิจิทลั ที่สามารถ ทาํ ไดเ้ พียงเสี้ยววนิ าที ทาํ ให้เกิดรูปแบบการทํางานแบบใหมๆ่ ของ คนรนุ่ ใหม่ และเกิดขนึ้ ในหลากหลาย สาขาวชิ า ในการทํางาน ทางดา้ นการศึกษาก็มี เคร่ืองมือการนเิ ทศ ออนไลน์ ไดแ้ ก่ 1. Microsoft Teams ความสามารถของโปรแกรมน้คี รอบคลมุ มาก สามารถใช้สําหรับการจดั การ เรยี นการสอนได้ เต็มรปู แบบ ส่งงาน สง่ การบา้ น ครูตรวจงาน Video Call ดยู ้อนหลังได้ ใชใ้ นเครอ่ื ง PC หรอื โหลด App บน มอื ถอื ได้ 2. Google Meet ความสามารถของโปรแกรมน้เี หมาะสําหรับการประชุมทรัพยากรอนิ เทอร์เนต็ น้อย มีเมนูน้อย ทําให้ผู้ใช้งานไมส่ ับสน 3. Zoom Cloud Meetings ความสามารถของโปรแกรมน้เี หมาะสาํ หรบั การประชมุ สามารถ VDO Call แชร์หน้าจอกนั ได้ ใชใ้ นเครอื่ ง PC หรอื โหลด App บนมอื ถือได้ 4. Line ความสามารถของโปรแกรมนี้เหมาะสาํ หรับ Video Call ได้ คุยงาน แชท สง่ งานกนั ไดใ้ น กลุม่ ใช้งานงา่ ย ใชใ้ นเครื่อง PC หรือ โหลด App บนมือถือได้ 5. Facebook Live ความสามารถของโปรแกรมเหมาะสาํ หรบั ถา่ ยทอดสดบน Facebook เพื่อ แพรภ่ าพ การสนทนา ประสทิ ธภิ าพ การถามตอบ หรืองานกจิ กรรมแบบออนไลน์ เมื่อแพรภ่ าพสด ผู้ร่วม สนทนา จะสามารถเขา้ ร่วมการสนทนาและถามคําถาม แสดงความคิดเหน็ แสดงความรู้สึก หรอื ดไู ปพรอ้ ม กนั ได้แบบ เรียลไทม์

๑๑ กระบวนการสงั เกตการจดั การเรยี นรูใ้ นช้ันเรยี น โรงเรียนได้กาหนดใหก้ ารนิเทศ โดยใช้การสังเกตในชนั้ เรยี น เป็นกระบวนการหลกั ของโรงเรยี นโดยมี ข้ันตอนการดาเนินการดงั ต่อไปนี้ ขัน้ ตอนท่ี 1 การสร้างความสัมพนั ธร์ ะหว่างผนู้ ิเทศกบั ครผู รู้ ับการนิเทศ ในลักษณะของ \"ผู้ รว่ มวิชาชีพครู\" นัน่ คอื จะต้องยอมรบั ศรทั ธา เลื่อมใส เสมอภาค จรงิ จงั จริงใจ โดยมสี ายใยความสมั พนั ธ์ ร่วมกนั คอื การเพิ่มประสิทธผิ ลและประสิทธภิ าพหรือผลสมั ฤทธิก์ ารเรยี นรขู้ องนักเรียนเป็นสําคญั ขัน้ ตอนท่ี 2 การปรกึ ษาหารือและเตรียมแผนการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่มุง่ เนน้ 2.1 การจัดเนือ้ สาระและกจิ กรรมทส่ี อดคล้องกับกบั ความสนใจและความถนัดของ นักเรยี น โดยคํานึงถึงความแตกตา่ งระหว่างบุคคล 2.2 ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจดั การ การเผชิญสถานการณ์ และการประยกุ ต์ ความรู้ มาใช้เพื่อป้องกันและแก้ไขปญั หา 2.3 จดั กจิ กรรมให้นักเรียนได้เรยี นรจู้ ากประสบการณจ์ รงิ ฝกึ การปฏิบัติ ใหท้ าํ ได้ คิดเปน็ ทําเป็น รักการอ่านและเกดิ การใฝร่ อู้ ย่างต่อเนอื่ ง 2.4 จัดการเรียนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู้ดา้ นตา่ ง ๆ อยา่ งไดส้ ัดสว่ นสมดุลกนั รวมทั้งปลกู ฝังคุณธรรม คา่ นิยมที่ดีงามและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคไ์ วใ้ นทกุ รายวิชา 2.5 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ ู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม ส่ือการเรียน และอาํ นวยความสะดวกเพื่อให้ผูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้และมีความรอบร้รู วมท้ังสามารถใช้การวจิ ยั เปน็ ส่วน หน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ทัง้ น้ี ผู้สอนและนักเรยี นอาจเรยี นรไู้ ปพร้อมกนั จากสอื่ การเรยี นการสอน และแหลง่ วิทยาการประเภทต่าง ๆ 2.6 จดั การเรยี นร้ใู ห้เกิดขึน้ ได้ทกุ เวลาทุกสถานที่ มกี ารประสานความรว่ มมือกับบิดา มารดา ผู้ปกครอง และบคุ คลในชุมชนทุกฝา่ ย เพอื่ ร่วมกันพฒั นาผู้เรยี นตามศักยภาพ เทคนคิ การประชมุ ก่อนการสังเกตการจดั กระบวงนการเรยี นรู้ 1) ชแ้ี นะถงึ ความกงั วลของครูเก่ียวกบั การจัดกระบวนการเรียนรู้ 2) การแปลและคล่ีคลายความกงั วลไปสพู่ ฤติกรรมท่ีเฉพาะเจาะจงสามารถสงั เกตได้ 3) ระบวุ ธิ ีการปรับปรงุ การจดั กระบวนการเรียนรู้ 4) ชว่ ยเหลอื ครตู ัง้ จดุ มุ่งหมายเพื่อปรับปรุงและพัฒนาตนเอง 5) เลือกเวลา สังเกตการจดั กระบวนการเรียนรู้ 6) เลือกเคร่ืองมือและพฤตกิ รรมที่จะบันทึก 7) ทาํ ความกระจา่ งเก่ียวกบั ลกั ษณะของบทเรียนและการจัดกระบวนการเรียนรู้ ขัน้ ตอนที่ 3 การสังเกตการจดั กระบวนการเรียนรู้ เทคนิคบางประการในการสังเกตการจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดย 3.1 สังเกตความต่อเน่ืองของปฏิสัมพันธร์ ะหว่างครูกับนกั เรยี น นักเรียนกับครแู ละ นกั เรียนกับนกั เรียน 3.2 พยายามคน้ หาแบบฉบับของพฤติกรรมการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 3.3 แสวงหาหลกั ฐานท่เี กยี่ วขอ้ งกบั สมมตฐิ านทตี่ ั้งไว้ 3.4 ค้นหาและสรุปให้ได้ว่าพฤตกิ รรมการจดั กระบวนการเรียนร้ชู ุดใดเด่นชดั มีคุณภาพ ประสบผลสําเร็จหรอื ประสบความลม้ เหลว

๑๒ 3.5 บันทกึ สิ่งทเ่ี กดิ ขึน้ โดยใชม้ าตรการในการวัดและประเมิน (นิพนธ์ ไทยพานิช 2531) ขนั้ ตอนท่ี 4 การวเิ คราะหพ์ ฤตกิ รรมการจดั กระบวนการเรยี นรู้รว่ มกัน เปน็ ข้ันการเสนอข้อมูล ปอ้ นกลับเกีย่ วกบั พฤตกิ รรมการจดั กระบวนการเรยี นรู้ของผรู้ บั การนเิ ทศ พฤติกรรมของนักเรยี นและ บรรยากาศในชน้ั เรียนทเี่ กิดข้ึน ขณะดําเนนิ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ใหค้ รูผู้รับการนเิ ทศทราบ ท้ังครผู ู้รับ การนเิ ทศกับผ้รู บั การนเิ ทศจะร่วมกนั วิเคราะห์ ว่าพฤติกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้ใดเด่นและ พฤติกรรมใดน้อย พฤติกรรมการจดั กระบวนการเรียนรู้ใดมปี ญั หา ก็ควรร่วมมือกันหาทางปรับปรงุ หรอื พฒั นาใหด้ ขี นึ้ พฤติกรรมการนเิ ทศทางตรง ได้แก่ การแนะนํา การออกคําสง่ั และการตชิ ม พฤติกรรมการนเิ ทศทางอ้อม ไดแ้ ก่ การรบั ฟัง (การฟงั อย่างมีประสทิ ธิภาพ ของ นิพนธ์ ไทย พานชิ ประกอบด้วย มจี ุดประสงสงค์ในนการฟัง ฟังให้รอบคอบเขา้ ใจความหมาย จับประเด็นสาํ คัญ เรียบ เรียงขอ้ ความเพื่อพูดซา้ํ ใช้คําถามเพื่อใหเ้ ข้าใจตรงกนั มีความพร้อมท่ีจะพูดตอบสนอง ทําจติ ว่างปราศจาก อคติ มีความพร้อมทจ่ี ะพูดตอบสนอง มคี วามอดทน ฟังโดยสมาธิ และฟงั โยใช้เวลาเพยี งพอทีจ่ ะคิด) การ ใช้คาํ ถามเพ่ือชว่ ยคล่คี ลายคําพดู ของครูให้ชดั เจนขึน้ การสง่ เสรมิ สนบั สนุนใหแ้ สดงออก การให้มีความกล้า การเสนอแนะ การสนบั สนุน และการให้ขวญั และกําลงั ใจ เทคนิคการใหข้ ้อมลู ป้อนกลับ (Feed Back) คือ เป็นวธิ ีการนาํ เสนอข้อมูลที่ได้จากการสงั เกตใน การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้กบั ครผู เู้ ขา่ รับการนเิ ทศไดร้ บั ทราบอย่างมรี ะบบซง่ึ เท่ียงตรงแมน่ ยําไมม่ ีอคติ ดังน้ี เทคนคิ ท่ี 1 ใหข้ ้อมูลปอ้ นกลับตอ่ ครู โดยการใชข้ อ้ มูลทม่ี รี ะบบจากการสังเกตการจดั กระบวนการ เรียนรู้ เทคนคิ ท่ี 2 การซกั ถามถงึ ความรู้สึก ความคิดเหน็ และการแสดงออกของครผู ู้รบั การนเิ ทศเกยี่ วกบั ขอ้ มูล เทคนคิ ที่ 3 สนบั สนุนใหค้ รผู รู้ ับการนเิ ทศพจิ ารณาทางเลอื กใหม่ เกยี่ วกบั จดุ หมายของบทเรยี น วธิ ีการจัดกระบวนการเรียนรู้ ขนั้ ตอนท่ี 5 การปรบั ปรุงและพฒั นาการจดั กระบวนการเรยี นรู้ โดยรว่ มหาวิธกี ารแก้ไข ปรับปรุงและพัฒนา

๑๓ บทบาทของผทู้ ี่เก่ียวข้อง บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษามีบทบาทหนา้ ทใ่ี นการนเิ ทศภายใน คือ การให้ความช่วยเหลือครใู นด้านตา่ งๆ เพอ่ื ใหค้ รไู ด้ปรบั ปรุงกระบวนการจัดการเรยี นการสอน เพื่อพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นทั้งทางตรงและทางอ้อม อย่างเป็นกัลยาณมติ ร สรา้ งขวญั กําลงั ใจให้แก่ครู คอยส่งเสรมิ ให้ครมู ีการพฒั นาตนเองในดา้ นวชิ าการและ วิชาชีพ เพอ่ื ให้ครูมศี ักยภาพในการปฏบิ ัตงิ านใหบ้ รรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ทีก่ ําหนดไว้ บทบาทของครผู ้นู ิเทศ บทบาทผู้นเิ ทศภายในโรงเรียน ผู้นิเทศมีหน้าท่ใี ห้คําปรกึ ษา แนะนาํ หรอื จดั กจิ กรรมกระตุ้น ส่งเสริมสนับสนุนใหค้ รผู ู้สอนไดด้ าํ เนนิ การปรับปรงุ การสอนในห้องเรียนให้มีประสิทธภิ าพ ประกอบดว้ ย ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา หรือผูท้ ี่ได้รบั มอบหมาย หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้ หวั หนา้ สายชัน้ หรอื บุคคลที่ เก่ียวขอ้ งท่มี ีความชํานาญในโรงเรยี น โดยผ้นู เิ ทศจะต้องพัฒนาตนเองให้มีคุณลักษณะอย่างนอ้ ย 3 ประการ ได้แก่ 1) ความรู้และทักษะพืน้ ฐานดา้ นหลักสูตร การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ การวดั ผลและประเมินผล การจดั เรยี นการสอน 2) ด้านการปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งบคุ คล ผนู้ เิ ทศจะต้องมีการติดต่อประสานงานมีความสามารถใน การส่ือสารรวมท้งั การมีจติ อาสาและเตม็ ใจกับงาน 3) เฉพาะผูน้ ิเทศจะต้องมีการวางแผน การประเมนิ ผลและการใหข้ ้อมลู ย้อนกลบั แก่ผรู้ บั การ นิเทศ บทบาทของครูผรู้ บั การนเิ ทศ ผู้รบั การนิเทศต้องยอมรบั บทบาทหน้าท่ขี องผนู้ เิ ทศโดยรบั ฟังความคดิ เหน็ ข้อเสนอแนะ ใหค้ วาม ร่วมมือกบั ผูน้ เิ ทศในการวเิ คราะห์ปัญหาและกําหนดแนวทางการแก้ปญั หา ปฏบิ ัตงิ านตามทไี่ ดร้ บั การ มอบหมายดว้ ยความจรงิ ใจ และใชแ้ นวทางท่ีได้รบั การนิเทศในการแกป้ ญั หาหรือพัฒนางาน ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ ผลของการนิเทศภายในจะเป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรียนดงั นี้ 1. เปน็ ข้อมูลสารสนเทศให้กับคณะกรรมการนิเทศภายในของโรงเรยี น ในการวางแผนพัฒนา ปรบั ปรงุ การนเิ ทศภายในโรงเรียนใหเ้ หมาะสม มีคณุ ภาพและมีประสิทธภิ าพย่ิงขน้ึ 2. เป็นขอ้ มูลและสารสนเทศให้กบั ครูผูส้ อนในโรงเรียน ในการปรบั ปรงุ วางแผนพฒั นาการ จัดการเรยี นรูใ้ ห้กบั ผเู้ รียน ได้อย่างเหมาะสม มีคุณภาพและมีประสทิ ธภิ าพยิ่งขนึ้ 3. นกั เรยี นมคี ุณภาพและมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสูงข้นึ ฯลฯ

๑๔ บทที่ 2 ขอ้ มลู พ้ืนฐานด้านวชิ าการ ตารางที่ 1 แสดงคา่ รอ้ ยละผลการทดสอบระดับชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ปีการศกึ ษา 2563 ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 รายวิชา ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา ปีการศึกษา ผลต่างปี 62 2561 2562 2563 และ ปี 63 ภาษาไทย 44.25 39.05 37.84 -1.21 คณิตศาสตร์ 24.33 23.92 20.27 -3.65 วิทยาศาสตร์ 33.60 28.97 31.24 +2.27 ภาษาอังกฤษ 35.24 26.67 30.09 +3.42 รวมเฉลย่ี 34.36 29.65 29.86 -0.21 ตารางที่ 2 แสดงค่ารอ้ ยละ ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (NT) ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ปกี ารศึกษา 2563 รายการ ความสามารถ ความสามารถ รวมท้ัง ดา้ นคณิตศาสตร์ ดา้ นภาษาไทย 2 ด้าน คา่ เฉล่ียร้อยละ 27.17 35.45 31.31 ระดับโรงเรียน คา่ เฉลี่ยร้อยละ 39.07 42.74 40.91 ระดบั เขตพื้นท่ี ค่าเฉล่ยี รอ้ ยละ 40.47 47.46 43.97 ระดบั ประเทศ การผลเปรียบเทียบ ตาํ่ ตาํ่ ตาํ่ ระดบั ประเทศ (สูง/ต่ํา) ปีการศกึ ษา 2562 (ร.ร.) 34.89 32.05 33.47 ปกี ารศกึ ษา 2563 (ร.ร.) 27.17 35.45 31.31 การผลเปรียบเทยี บ ตาํ่ สูง ตาํ่ ปกี ารศึกษา (สูง/ตาํ่ )

๑๕ ตารางท่ี 3 แสดงคา่ ร้อยละผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านของนกั เรียน (RT) ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2563 สมรรถนะ คะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ เปรยี บเทียบผลต่าง ปีการศึกษา ปกี ารศึกษา 2563 2562 การอ่านออกเสยี ง 21.57 33.56 +11.99 การอ่านรู้เร่ือง 35.65 42.49 +6.84 รวม ๒ สมรรถนะ 28.61 38.02 +9.41 ตารางท่ี 4 รอ้ ยละของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรียนทไี่ ดร้ ะดับ 3 ข้ึนไป ทกุ กลมุ่ สาระ เฉลยี่ การเรยี นรู้ ทุกชัน้ เรยี น ปีการศึกษา 2563 ค่าเฉลย่ี ร้อยละรายกลุ่มสาระการเรียนรู้ 49.47 44.91 ชั้น ไทย คณติ วิทยฯ สังคมฯ อังกฤษ ศลิ ปะ การงาน สุข ประวัตฯิ 38.05 ฯ ศึกษาฯ 40.00 44.88 ป.1 42.47 47.95 49.32 36.99 36.99 72.60 73.97 69.86 15.07 53.33 ป.2 32.39 43.66 42.25 21.13 19.72 73.24 85.92 52.11 33.80 45.11 ป.3 19.70 21.21 22.73 24.24 21.21 72.73 59.09 83.33 18.18 ป.4 36.36 34.55 21.82 34.55 1.82 54.55 78.18 61.82 36.36 ป.5 25.49 27.45 33.33 27.45 21.57 56.86 78.43 98.04 35.29 ป.6 38.57 40.00 32.86 31.43 37.14 72.86 75.71 94.29 57.14 รวม เฉลยี่ 32.50 35.80 33.72 29.30 23.08 67.14 75.22 76.58 32.64 ตารางที่ 5 ผลการประเมินการอ่าน คิด วเิ คราะห์ และเขยี น ปกี ารศึกษา 2563 ช้ันเรียน จานวน จานวนนกั เรยี นทีม่ ีผลการประเมิน(คน) หมายเหตุ นักเรียน ไมผ่ า่ น ปรับปรงุ ดี ดีเย่ยี ม ป.1 73 14 12 32 15 ป.2 71 7 10 37 17 ป.3 66 2 27 22 15 ป.4 55 2 5 31 17 ป.5 51 0 15 28 8 ป.6 70 5 6 48 11 รวม 386 30 75 198 83

๑๖ ตารางท่ี 6 แสดงคา่ รอ้ ยละผลการประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ของนักเรียน ปีการศึกษา 2563 จานวน จานวนนักเรียนที่ผา่ น จานวนนกั เรียนที่ผลการประเมิน ชนั้ นักเรียน การประเมินคุณลักษณะอันพงึ ระดับดีขน้ึ ไป ทง้ั หมด ประสงค์ (คน) ผา่ น ดี ดเี ย่ยี ม จานวน รอ้ ยละ ป.1 73 0 7 61 68 93.15 ป.2 71 0 38 26 64 90.14 ป.3 66 0 30 35 65 98.48 ป.4 55 4 22 27 49 89.09 ป.5 51 10 33 8 41 80.39 ป.6 70 1 25 39 64 91.43 รวม 386 15 155 196 351 90.93 ตารางที่ 7 แสดงค่าร้อยละของนกั เรยี นท่ีซา้ ช้ันใน ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน จานวน คดิ เปน็ สาเหตทุ ีซ่ า้ ชนั้ ชั้น/ห้อง นักเรียนเขา้ นกั เรียน รอ้ ยละ เวลาเรยี น ไมผ่ า่ นเกณฑ์ ไม่ผา่ นเกณฑ์ ไมผ่ ่านเกณฑก์ าร สอบ ซา้ ชน้ั ประเมินผลปลายป/ี ไมพ่ อ ผลการอา่ น คิด คณุ ลกั ษณะ ปลายภาค วิเคราะห์ เขียน อนั พงึ ประสงค์   ป.1 73 12 16.44    ป.2 71    ป.3 66 5 6.85   ป.4 55    ป.5 51 2 2.74  ป.6 70 2 2.74   รวม 386   0 0.00 2 2.74  23 5.25 

๑๗ เปา้ หมายในการพัฒนาครูในปีการศึกษา 2564 การจดั การศกึ ษาโดยยดึ ผู้เรยี นเปน็ สําคัญ ครูต้องปฏิรูปการจัดการเรยี นรู้กระบวนการเรียนการ สอน เพื่อฝึกใหน้ กั เรยี นรูจ้ ักคิด วเิ คราะห์ และสรา้ งความรู้ด้วยตนเอง ดงั นั้นเปา้ หมายสําคญั ในการพัฒนา ผ้เู รยี นจึงมุ่งเน้นให้นกั เรยี นเป็นมนษุ ย์ที่สมบรู ณท์ ัง้ ร่างกาย จติ ใจ และสตปิ ญั ญา มคี วามรแู้ ละคุณธรรม ในการดาํ รงชีวติ อยา่ งสมดลุ มีทกั ษะจําเปน็ และสามารถอย่รู ่วมกบั ผู้อืน่ อยา่ งมีความสุข มีภาวะผนู้ าํ มีการ เรียนรดู้ ้วยตนเองอย่างตอ่ เน่อื งตลอดชีวิต โรงเรยี นจงึ เน้นการเรยี นรเู้ พ่ือสรา้ งเสริมแรงบันดาลใจให้มชี วี ติ อยอู่ ย่างมีความหมาย มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการสร้างสิง่ ใหม่ๆ ยดึ ประโยชน์ มงุ่ สร้าง การทาํ งานใหเ้ กิดผลสัมฤทธิ์ เปน็ พลเมอื งที่มีคุณภาพ และดําเนนิ ชวี ิตอยา่ งมคี วามสุข ดงั นัน้ การพฒั นาผ้เู รียนใหม้ คี ุณลกั ษณะดงั กล่าวขา้ งต้น จึงจาํ เปน็ ต้องพฒั นาการจัดกิจกรรมการ เรยี นร้ใู หก้ ับครผู สู้ อน โดยโรงเรยี นได้กาํ หนดไวด้ ังต่อไปนี้ 1. การจดั การเรียนการสอนโดยเน้นการลงมือปฏบิ ัติ (Active Learning) 2. การประเมินผลตามสภาพจริง 3. การวจิ ัยในช้ันเรียน 4. การสอนโดยโครงงาน 5. การใช้สอ่ื เทคโนโลยีเพอ่ื พัฒนาการเรยี นการสอน 6. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ใหเ้ กิดการคิดวิเคราะห์ 7. การพัฒนาการวดั และประเมนิ ผลในระดบั ชนั้ เรยี น (การออกข้อสอบตามแนว PISA )

๑๘ บทที่ 3 การดาเนินการนเิ ทศภายใน แผนการนิเทศภายใน โรงเรยี นได้ดําเนนิ การกําหนดไว้ดังต่อไปน้ี 1. คณะกรรมการนิเทศ 2. เป้าหมายการนเิ ทศ 2.1 การวางแผนการจดั การเรยี นรู้ 2.2 การพฒั นาการจดั การเรียนรู้ 2.3 การพฒั นาสื่อนวตั กรรม 2.4 การพฒั นาการวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ในชั้นเรียน 2.5 การจัดทําวจิ ัยในช้นั เรยี น 2.6 การประกนั คุณภาพภายใน 3. ปฏิทินการนเิ ทศ 4. กระบวนการนิเทศและกจิ กรรมการนิเทศ 4.1 เตรียมความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี น 4.2 การเยย่ี มช้นั เรียน 4.3 การสังเกตการสอน 4.4 การนเิ ทศการจดั ทําหนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ PLC และงานวจิ ยั ในช้ัน เรียน

๑๙ คณะกรรมการนเิ ทศภายในโรงเรียนบา้ นทา่ อาจ 1. นายกชิ สณพนธ์ เฉลมิ วสิ ตุ มก์ ุล ผ้อู าํ นวยการโรงเรยี น ประธานกรรมการ 2. นางสาววรากร ทองทวี รองผู้อํานวยการโรงเรยี น/ผูร้ ับมอบหมาย รองประธานกรรมการ 3. นางสาวกณกิ าร์ ปรอื ปรัง หัวหน้ากลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย กรรมการ 4. นายดนยั พันธพ์ นมไพร หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ กรรมการ 5. นายวรปรชั ญ์ อินต๊ะสุข หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษาฯ กรรมการ 6. นางสาวจรี ชั ญ์ คฤหะมาน หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ กรรมการ 7. นางชนิกานต์ ลวี่ ัฒนายง่ิ ยง หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรฯ์ กรรมการ 8. นายอศิ ยม เครือคําแดง หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศึกษาฯ กรรมการ 9. นางสาวภมุ รนิ ทร์ ฉิมพาลีวา่ หัวหนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรูศ้ ลิ ปะ กรรมการ 10. นางสาวศภุ ณลญิ ญ์ ทับโตาง หวั หนา้ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ กรรมการ 11. นางสุภาพร จอมประเสรฐิ ครูวิชาการ/ครูทรี่ บั ผดิ ชอบโครงการ กรรมการและเลขานกุ าร เป้าหมายการนเิ ทศ 2.1 การวางแผนการจดั การเรียนรู้ - วัตถุประสงคข์ องการนิเทศ 1. เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมของบุคลากรในโรงเรยี น 2. เพ่ือกําหนดแนวทางการปฏบิ ตั ิงานในโรงเรยี น 3. เพื่อแจง้ นโยบายและแนวทางการจดั การศึกษาของโรงเรียนให้ บคุ ลากรใน โรงเรียนใหค้ วามร่วมมือการปฏิบตั ิงานร่วมกัน - เปา้ หมายเชงิ ปริมาณและคุณภาพ ครรู อ้ ยละ 90 ได้มีการวางแผนในการจดั การเรยี นการสอนและเตรียม ความพร้อมในการเขา้ รบั การนเิ ทศช้ันเรียน 2.2 การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ - วตั ถปุ ระสงค์ของการนเิ ทศ 1. เพ่ือศกึ ษาแนวทางการ พัฒนาการจัดการเรียนรู้ 2. เพ่ือร่วมคิดและร่วม พัฒนาการจดั การเรยี นรู้ - เป้าหมายเชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ 1. ครรู อ้ ยละ 90 จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลายมีการ พัฒนาการจัดการเรยี นการร้เู พอื่ พัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น 2. ครูผู้สอนสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกบั สภาพ ผเู้ รียนและบรรลุตามเป้าหมายพัฒนา

๒๐ 2.3 การพัฒนาส่ือนวัตกรรม - วตั ถุประสงค์ของการนิเทศ 1. เพ่อื จดั กิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้สือ่ นวัตกรรมในการจัดการ เรียนการสอนในรูปแบบตา่ งๆไดส้ อดคล้องกบั ศักยภาพของนักเรยี น 2. เพื่อให้ครผู ู้สอนมีพัฒนาการจดั การเรียนการสอนโดยใช้สื่อนวัตกรรม ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพซ่งึ มผี ลทาํ ให้ นกั เรยี นได้รับการพัฒนาการเรียนรู้อยา่ งเต็ม ตามศักยภาพ - เปา้ หมายเชงิ ปรมิ าณและคุณภาพ 1. ครูรอ้ ยละ 90 จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนทหี่ ลากหลายมีการ พฒั นาสอ่ื นวัตกรรมเพื่อนาํ ไปใชใ้ นการแก้ปญั หาในการจัดการเรียนการสอน 2. ครูมสี ่อื การสอนท่ีมปี ระสิทธิภาพในการจดั กระบวนการเรยี นการ สอนเพื่อพฒั นาผเู้ รยี นให้มีความรู้ความเข้าใจเกย่ี วกับเนอ้ื หาการเรยี นรู้ได้ดี ยิ่งข้ึน 2.4 การพัฒนาการวดั และประเมินผลการเรยี นร้ใู นช้นั เรียน - วตั ถุประสงค์ของการนเิ ทศ 1. เพ่ือให้ครสู ามารถวิเคราะห์ สภาพผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คลทาํ วิจัยในช้ัน เรยี น ใช้ผลเปน็ ขอ้ มูลในการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนตอบสนองความ ตอ้ งการของผู้เรียนและสามารถใช้ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ มาบูรณาการร่วมกับสือ่ เทคโนโลยี สนบั สนุนการจดั การเรียนรู้ 2. เพ่ือใหค้ รสู ามารถวัดและประเมนิ ผลโดยเนน้ พฒั นาการด้วยวธิ ีการ หลากหลายตรงตามเป้าหมายของกจิ กรรมและปฏบิ ตั ิหน้าท่ีอยา่ งเต็มกาํ ลงั ความสามารถ - เปา้ หมายเชิงปรมิ าณและคุณภาพ 1. ครรู ้อยละ 90 มีความรคู้ วามเข้าใจวิธีวัดและประเมินผลอยา่ ง หลากหลาย 2. ครูผู้สอนสามารถนาํ ความรูม้ าพัฒนาการวดั และประเมินผลได้อยา่ ง มปี ระสทิ ธภิ าพ 2.5 การจดั ทาํ วิจยั ในช้นั เรยี น - วัตถุประสงค์ของการนเิ ทศ 1. เพ่ือให้ครูผูส้ อนมกี าร ประเมนิ ผลหลังการสอน และชว่ ยเหลือ นกั เรียนที่ เรยี นชา้ ไมผ่ ่านเกณฑ์ ทางการเรยี นไดผ้ า่ นเกณฑ์ 2. เพื่อให้ครูผสู้ อนไดม้ ีความรู้ความเขา้ ใจในการจดั ทาํ วิจยั ในช้ันเรียน 3. รูจ้ กั วเิ คราะหป์ ัญหาในการจดั การเรียนการสอนเพ่ือเป็นแนวทางใน การพฒั นาการสอน

๒๑ - เปา้ หมายเชงิ ปริมาณและคุณภาพ 1. ครูรอ้ ยละ 90 ศึกษาวจิ ยั ผ้เู รียนและพฒั นาการจดั การเรยี นรใู้ นวิชา ท่ีสอน 2. ครผู ู้สอนสามารถจดั กระบวนการเรยี นรู้ใหส้ อดคล้องกับสภาพ ผเู้ รยี นและบรรลตุ ามเป้าหมายพัฒนา 2.6 การประกนั คุณภาพภายใน - วตั ถุประสงค์ของการนิเทศ เพือ่ ใหส้ ถานศกึ ษามีมาตราฐานการศึกษาท่ีสอดคล้องและครอบคลุม ตามทก่ี ระทรวงกาํ หนด - เปา้ หมายเชงิ ปริมาณและคุณภาพ ครูร้อยละ 90 มีความรู้ความเข้าใจเกยี่ วกับมาตราฐานการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 3. ปฏิทนิ การนเิ ทศ ที่ กจิ กรรมการนิเทศ ระยะเวลา 1. การเย่ยี มช้ันเรียน ชน้ั ป. 1 15-19 พฤศจิกายน 2564 ชน้ั ป. 2 15-19 พฤศจิกายน 2564 ชั้น ป. 3 15-19 พฤศจิกายน 2564 ชน้ั ป. 4 29-3 ธนั วาคม 2564 ชัน้ ป. 5 29-3 ธนั วาคม 2564 ชั้น ป. 6 29-3 ธันวาคม 2564 2. การสังเกตการสอนในชน้ั เรียน ชั้น ป. 1 22-26 พฤศจิกายน 2564 ชน้ั ป. 2 22-26 พฤศจิกายน 2564 ชน้ั ป. 3 22-26 พฤศจิกายน 2564 ชัน้ ป. 4 6-9 ธันวาคม 2564 ช้นั ป. 5 6-9 ธนั วาคม 2564 ชนั้ ป. 6 6-9 ธันวาคม 2564 3. นิเทศการดําเนินโครงการ/การยกผลสัมฤทธ์ิ พฤศจิกายน – มกราคม เป็นต้น 2564

๒๒ 4. กระบวนการนเิ ทศและกิจกรรมการนเิ ทศ กระบวนการนเิ ทศภายในโรงเรียน เปน็ กระบวนการหลักทโี่ รงเรยี นใช้ดําเนินการนิเทศ ตามกิจกรรมทก่ี ําหนด โดยโรงเรียนบา้ นทา่ อาจ มี กระบวนการนเิ ทศ 5 ขน้ั ตอนดงั น้ี กระบวนการนเิ ทศของโรงเรียน 1. วิเคราะหส์ ภาพปัจจุบันของปัญหา 2. วางแผนการนเิ ทศ 3. สรา้ งเครื่องมอื /นวตั กรรม 4. ปฏิบัติการนเิ ทศ 5. สรปุ และรายงานผลการนิเทศ กิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรยี น 1. เตรยี มความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน 2. การเย่ียมชั้นเรียน 3. การสงั เกตการสอน 4. การนิเทศการจดั ทําหน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ PLC และ งานวิจยั ในชัน้ เรยี น

๒๓ รายละเอียดกิจกรรมนิเทศภายใน ปกี ารศึกษา 2564 การเตรียมความพร้อมก่อนเปิ ดภาคเรียน วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ให้ครสู ามารถเตรียมการสอนและสามารถดาํ เนินการได้ทนั ทีในวันเปิดเรยี นวนั แรก 2. เพอื่ รว่ มกนั วางแผนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 3. เพ่อื สร้างความเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน เป้าหมาย 1. ครูและบุคลากรของโรงเรยี นทกุ คน ให้มาเตรยี มความพร้อม 5 วันก่อนเปดิ ภาคเรียน 2. เตรียมความพรอ้ มดา้ นหลักสูตร กระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผล ส่ือ/นวตั กรรม แผนการจัดการเรียนรู้ 3. การเตรยี มจัดแผนงาน / โครงการ /กิจกรรมใหม้ ีความพร้อมทจ่ี ะนาํ สู่การปฏิบตั ิ กจิ กรรมและข้นั ตอนการดาเนินงาน 1. เตรียมการประชุม 1.1วางแผนการประชุม 1.2จดั สถานท่ีและสงิ่ อาํ นวยความสะดวก 1.3เตรียมเอกสารการประชุม 1.4เตรยี มบคุ ลากร 2. จัดประชมุ ดําเนินการประชุมตามหวั ข้อการประชุม ดงั น้ี 2.1 ผลการประเมินผลในรอบปี/ภาคเรยี น ท่ผี ่านมา 1.2ปัญหา อุปสรรค การดําเนินงานในปี / ภาคเรยี นท่ผี ่านมา 1.3โครงการที่จะดําเนินการในปี/ภาคเรียน ต่อไป 1.4การจัดครูเข้าชั้น/จัดรายวิชา 1.5งาน/โครงการเรง่ ดว่ นท่ีต้องจัดทาํ ระยะเวลา ก่อนเปิดภาคเรยี นท่ี 1 และภาคเรียนท่ี 2 ส่อื และเคร่ืองมือ - เอกสารตา่ งๆ ทเ่ี กยี่ วข้องในแตล่ ะงาน เชน่ โครงการ หลกั สูตร แผนการสอน ฯลฯ - สมดุ บันทกึ การประชุม - แบบประเมนิ การจดั ประชมุ การประเมนิ ผล - ประเมนิ ติดตามความพร้อมในการปฏิบตั งิ านในสปั ดาห์แรกของการเปดิ ภาคเรยี น ผู้รับผดิ ชอบกิจกรรม นางสภุ าพร จอมประเสรฐิ ครูโรงเรียนบา้ นท่าอาจ

๒๔ การเยย่ี มช้ันเรียน วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อสาํ รวจปัญหาและความต้องการของครู 2. เพอ่ื ให้คําปรึกษาและคาํ แนะนาํ แกค่ รู 3. เพ่อื ร่วมกนั พัฒนางานของนกั เรียนให้เอือ้ ต่อการเรยี นการสอน เปา้ หมาย 1. ผบู้ ริหาร/ครทู ่ไี ดร้ บั การมอบหมาย เย่ยี มชนั้ เรียนภาคเรียนละ 1 ครัง้ 2. สภาพบรรยากาศทั้งในและนอกห้องเรียนเอ้ือต่อการเรียนการสอน 3. ครูและนกั เรียนปฏิบัตงิ านตามภารกจิ ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ กจิ กรรมและขน้ั ตอนดาเนนิ งาน 1. กาํ หนดจุดม่งุ หมายในการเยย่ี มช้นั เรียน 2. กําหนดปฏิทนิ การเย่ียมชน้ั เรยี น 3. ดําเนนิ การเยีย่ มช้ันเรียน 4. สรุปผล พัฒนา ปรบั ปรุงแก้ไข ระยะเวลา ภาคเรยี นที่ 2 พฤศจิกายน 2564 - มกราคม 2564 สื่อและเคร่อื งมอื แบบบนั ทึกการสังเกตการเยีย่ มชน้ั เรยี น การประเมนิ ผล - ประเมินผลจากบันทกึ การเยีย่ มชัน้ เรยี น ผู้ปฏิบัติ - ผู้บริหารโรงเรียน - ครูวชิ าการโรงเรยี น - คณะกรรมการนเิ ทศ - ครทู กุ ชัน้ เรยี น

๒๕ การสังเกตการสอน วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ ปรับปรุงและการพัฒนาการสอนของครู 2. เพือ่ เสริมประสิทธภิ าพการจัดกระบวนการเรียนการสอน 3. เพอ่ื ใหข้ อ้ เสนอแนะแก่ครผู ูส้ อน 4. เพ่อื Coaching การจัดการเรียนรขู้ องครู 5. เพือ่ สรา้ งความสมั พนั ธท์ ด่ี ีในการรว่ มมือในการทํางาน เป้าหมาย 1. คณะกรรมการนเิ ทศโดยการสังเกตการสอนครูทุกคน อยา่ งนอ้ ยภาคเรยี นละ 1 ครง้ั 2. ครทู ุกคนมีการพัฒนาการจดั กระบวนการเรยี นการสอนทมี่ ีประสทิ ธภิ าพ กิจกรรมและขั้นตอนการดาเนินงาน - ประชมุ วางแผนเพ่ือกําหนดหัวขอ้ การสงั เกตการสอน - ชแี้ จงทาํ ความเข้าใจถึงความจําเปน็ ทต่ี ้องมกี ารสังเกตการสอน - กําหนดปฏทิ นิ และบุคลากรเพ่ือสงั เกตการสอน - ดาํ เนินการสงั เกตการสอน - ประเมินผล สอื่ และเครอื่ งมอื แบบบนั ทึกการสงั เกตการสอน การประเมินผล - ประเมนิ ผลจากการจัดการเรยี นการสอนของครู ผู้ปฏบิ ัติ ผบู้ รหิ ารโรงเรยี น - ครวู ิชาการโรงเรียน - คณะกรรมการนเิ ทศ - ครทู กุ ชนั้ เรยี น -

๒๖ การนิเทศการจดั ทาหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ PLC และงานวจิ ัยในช้ันเรียน วัตถุประสงค์ 1. เพือ่ พฒั นาการจัดทาํ หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ PLC และงานวิจยั ในช้ัน เรียน 2 .เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นใหส้ งู ขึ้น เป้าหมาย 1. ครูมีหนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรยี นรู้ ภาคเรยี นละ 1 รายวชิ า 2. ครูมงี านวิจยั ในช้ันเรียน เพื่อพัฒนาผูเ้ รียน กจิ กรรมและขนั้ ตอนการดาเนินงาน - ประชมุ วางแผนเพ่ือชแ้ี จงแนวทางการดําเนนิ งาน - กําหนดปฏิทนิ และบุคลากรเพ่อื นเิ ทศการจดั ทาํ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจดั การ เรยี นรู้ และงานวจิ ัยในชนั้ เรยี น - ดาํ เนนิ การจดั ทําหนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ และงานวิจยั ในชน้ั เรียน - ประเมินผล - ส่ือและเครอ่ื งมือ - แบบประเมินการจดั ทาํ หน่วยการเรียนรู้ - แบบบันทกึ การตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ - แบบบนั ทึกการตรวจวจิ ยั ในชั้นเรียน การประเมินผล - ประเมนิ ผลจากการจดั ทําหน่วยการเรยี นรขู้ องครู ผปู้ ฏิบัติ ผบู้ รหิ ารโรงเรียน - ครูวิชาการโรงเรียน - คณะกรรมการนิเทศ - ครทู ุกช้นั เรยี น -

๒๗ บทท่ี 4 เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการนิเทศภายในโรงเรียน มาตรการและแนวทางยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของโรงเรยี น โรงเรยี นบ้านทา่ อาจได้นํามาตรการและแนวดําเนนิ งานยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใหก้ ับ โรงเรียนนําไปใชใ้ นการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพนักเรยี น ของสาํ นักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาตาก เขต 2 มากําหนดเปน็ ของโรงเรียน โดยได้นาํ ไปใชใ้ นการจดั กิจกรรมการเรยี นรทู้ ุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และทกุ ช้นั เรียน ตลอดปกี ารศึกษา 2564 โดยมี 3 มาตรการดังต่อไปนี้ 1. มาตรการยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นในกล่มุ สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ กจิ กรรมการเรยี นการสอนในทุกวชิ าให้เน้นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning เพือ่ ใหน้ กั เรยี นได้ฝึกการทํางาน การคดิ วิเคราะห์ การแก้ปัญหาร่วมกัน การอยู่รว่ มกนั อยา่ งสนั ตแิ ละ เป็นการเสริมสร้างทักษะชีวิตใหก้ ับนักเรียน ดงั มาตรการต่อไปน้ี(ดงั ตัวอย่าง) มาตรการ/กลุม่ สาระฯ แนวดาเนินงาน 1.ภาษาไทย 1. ใหน้ กั เรียนท่องจาํ อกั ษรสามหมู่ สระ และวรรณยกุ ต์ และกฎเกณฑ์ ทางภาษา อื่น ๆ ท่จี ําเปน็ รวมทัง้ สอนแบบแจกลูกสะกดคํา 2. ฝกึ เขียนตามคาํ บอก คาํ พื้นฐานของแตล่ ะชั้นทุกวนั 3. ให้นักเรยี นทอ่ งอาขยายในแตล่ ะช้ัน ทกุ วันกอ่ นเลกิ เรยี น 2.คณิตศาสตร์ 1. ฝึกทกั ษะการคดิ เลขเรว็ อย่างน้อยวนั ละ 10 ขอ้ ทกุ วนั 2. ให้นักเรยี นทอ่ งจําสตู รคณู มาตราชงั่ ตวง วดั ฯลฯ ทุกวันกอ่ นเลกิ เรยี น 3. ฝกึ วิเคราะหโ์ จทยป์ ัญหาอย่างนอ้ ยวันละ 5 ข้อ 3.วิทยาศาสตร์ 1. นักเรยี นไดเ้ รียนรูแ้ ละทาํ โครงงานอย่างน้อย 1 โครงงาน / ภาคเรยี น 2. ฝึกการทดลอง การปฏิบตั ิจรงิ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. เน้นการลงมอื ปฏบิ ตั ิ และใช้ขอ้ สอบตามแนว PISA 4.ภาษาองั กฤษ 1. ภาษาอังกฤษวันละคาํ หนา้ เสาธง 2. .ให้ท่องคําศพั ทแ์ ละเขียนตามคาํ บอกอย่างนอ้ ยวนั ละ 5 คาํ ทุกวนั 5.สงั คมศกึ ษาศาสนาและ 1. สอดแทรกคุณธรรมทกุ ครงั้ ที่จดั กิจกรรมการเรียนการสอนทุกกลมุ่ สาระ วัฒนธรรม 2. ส่งเสรมิ การใช้แหล่งเรียนรภู้ ูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ 6.สขุ ศึกษาและพลศึกษา 1. ใหท้ ุกโรงเรยี นสอนให้นักเรยี นรแู้ ละปฎบิ ัตสิ ุขบญั ญัติ 10 ประการ 2. ให้นกั เรียนเคารพกฎกติกาอยา่ งมเี หตผุ ล (รแู้ พ้ รชู้ นะ รู้อภยั ) 7.ศลิ ปะ 1. ให้ครผู สู้ อนฝึกให้นกั เรียนมีความรู้ตามมาตรฐานฯ โดยเนน้ Active Learning 2. ฝกึ ให้นักเรียนรําวงมาตรฐานทกุ ระดับชั้น 8.การงานอาชีพ 1. ใหโ้ รงเรียนจัดการเรยี นรโู้ ดยเนน้ การคดิ วิเคราะห์ กระบวนการทํางาน 2. ฝึกนกั เรียนใหส้ ามารถทํางานทส่ี อดคลอ้ งกับหลกั สตู รและชีวติ จรงิ โดยเนน้ การลงมอื ปฏบิ ตั ิ(Active Learning)

๒๘ 2. มาตรการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นในระดบั ช้ันเรยี น มาตรการ แนวดาเนินงาน 1. การปรับการ 1. ประเมินผู้เรียนก่อนสอน เพื่อตรวจสอบพ้ืนฐานของนักเรยี น เรียนรู้ 2. .ให้ยึดมาตรฐาน/ ผลการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายของการเรยี น ให้สอดคล้องกับ 3. จัดกจิ กรรมใหส้ อดคล้องกับมาตรฐาน/ ตัวชวี้ ัดและเน้นการฝกึ ปฏิบตั ิ หลักสูตร 4. ฝึกให้เด็กคดิ วิเคราะห์ด้วยสถานการณต์ ่าง ๆ 5. ประเมินผลระหว่างเรยี นเพือ่ พัฒนานักเรยี น โดยการสรา้ งเคร่อื งมือให้ เป็นไปตามมาตรฐาน/ตวั ชวี้ ดั 6. ประเมนิ ผลหลังสอน / ประจําบทเรยี น/หนว่ ย เพ่อื นําผลที่เกิดขึน้ มาเปน็ ข้อมูลในการพฒั นาตอ่ ไป 2. ซ่อมเสริมการ 1. ใหโ้ รงเรียนจดั เวลาสาํ หรับใชใ้ นการซ่อมเด็กอ่อน เสรมิ เดก็ เก่ง เรยี นรู้ของนกั เรยี น และใชส้ อื่ ใหเ้ หมาะสมกับเดก็ อย่างต่อเน่อื ง 2. ใช้วธิ กี ารทห่ี ลากหลายเชน่ เพือ่ นชว่ ยเพื่อน คหู่ คู ู่ตวิ ศิษย์เก่าชว่ ย ฯลฯ 3. จดั ใหค้ รดู าํ เนินการสอนพเิ ศษนอกเวลาเรยี นทุกคน 4. ใหผ้ ูอ้ าํ นวยการ ส่งเสรมิ สนบั สนุน ติดตาม การดําเนินงาน 3. ครูตอ้ งฝกึ หัด 1. ใหค้ รูนาํ ตวั อย่างข้อสอบมาทดลองสอบเด็กและอธิบายข้อทดสอบ นักเรียนให้เคยชินกบั เป็นการทบทวนความรู้ ข้อ ทดสอบทกุ 2. ให้ผ้อู ํานวยการโรงเรียนสนับสนุนครูโดยการจดั หาข้อสอบให้กบั ครู สัปดาห์ 3. ทดลองจดั สอบเสมือนจริง โดยประสานกับเพ่ือนครตู า่ งโรงเรยี น หรือ ผู้อํานวยการโรงเรียนเปน็ ผ้คู วบคุม กาํ กบั ห้องสอบ 4. เฉลยข้อทดสอบด้วยการอธิบายท้งั ขอ้ ทถ่ี ูกและขอ้ ท่ีผดิ ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจ 4. การประสานผทู้ ี่มี 1. ประสานงานกบั ผปู้ กครองใหช้ ว่ ยกวดขันการอ่านเขยี นที่บ้าน โดยจดั ให้มกี าร สว่ นเกยี่ วขอ้ งให้ช่วย เย่ียมบา้ นนักเรยี น โดยเฉพาะนกั เรียนท่มี ีผลการเรียนตํ่า สนบั สนนุ 2. ประสานกบั เพื่อนครโู รงเรียนใกลเ้ คียงเพื่อจัดทาํ หรือใช้ขอ้ สอบร่วมกนั 3. ประสานงานกับผู้เกยี่ วข้องอน่ื ๆ เพอื่ ชว่ ยในการฝกึ หดั นักเรียน

๒๙ 3. มาตรการยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนในการประเมินระดบั ชาติ ที่ แนวทางการดาเนินงาน 3.1 โรงเรียนกําหนดใหม้ คี ณะกรรมการขับเคลอ่ื นการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของโรงเรยี น 3.2 วเิ คราะหผ์ ลสัมฤทธทิ์ างการเรียน NT, O-NET ของชน้ั ป.3 และ ป.6 ทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรทู้ ่ีทดสอบ เพ่ือหาจดุ พัฒนา 3.3 รวบรวมข้อสอบ NT, O-NET ของชนั้ ป.3 และ ป.6 ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ตง้ั แต่ปกี ารศึกษา 2562 เป็นต้นมา 3.4 วิเคราะห์ตัวช้ีวัดโดยใช้ผลการทดสอบ O-NET และ Test Blueprint 3.5 จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนตามตัวชว้ี ดั Test Blueprint และจุดพฒั นา ทงั้ นี้ให้ พจิ ารณา จากแนวทางการพฒั นาผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของ สพป.ตาก เขต 2 3.6 ให้นาํ แบบทดสอบ NT,O-NET ของชั้น ป.3 และ ป.6 และ มาใชท้ ดสอบในการจดั กจิ กรรม การเรียนการสอน โดยใชข้ ้อทดสอบเป็นส่ือและเครอ่ื งมอื ในการจดั กจิ กรรมให้เปน็ กิจกรรม ทด่ี ําเนินการเปน็ ประจําทุกวนั ท้ังนีใ้ ห้โรงเรียนกําหนดเวลาตามความเหมาะสม 3.7 ทดสอบนกั เรยี นเป็นระยะ ๆ โดยจาํ ลองให้ใกล้เคียงกับการทดสอบจรงิ 3.8 นําผลการทดสอบมาวเิ คราะห์และปรับปรุงการเรยี นการสอนในเน้ือหาท่เี ป็นปัญหา ให้บรรลุเป้าหมาย หลักการจัดกิจกรรม การพฒั นาเพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนน้ัน โรงเรียนมีหลกั ดาํ เนินการดงั ต่อไปนี้ 1. หลกั การมีสว่ นร่วม ครทู ุกคนต้องมสี ่วนร่วมและใหก้ ารสนับสนนุ ในกจิ กรรมทุกกจิ กรรมท่ี โรงเรยี นจดั ขึ้นในการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนักเรยี น 2. การรู้จกั เด็กเป็นรายบุคคล ผ้ทู ่เี ก่ยี วขอ้ งทกุ คน ต้องใหค้ วามสาํ คัญในการพฒั นาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน โดยต้องรจู้ กั เด็กเปน็ รายบคุ คล เพอ่ื เป็นข้อมูลในการซ่อมเสริม และพัฒนาศักยภาพนักเรียน 3. ความตอ่ เนอื่ ง การจัดกิจกรรมยกระดับผลสมั ฤทธคิ์ วรปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง และเป็นประจาํ 4. ความยืดหย่นุ เวลาในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ในกลุ่มสาระการเรยี นรูต้ า่ ง ๆ ให้ยืดหยนุ่ ตาม เหมาะกบั สภาพของโรงเรียน 5. เรยี นรู้ด้วยการปฏิบัติ (Active Learning) ใช้ส่ือและแหลง่ เรียนรู้ท่เี หมาะสมกบั กิจกรรมการ พัฒนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของโรงเรียนโดยเนน้ เนน้ หลักเรียนรู้ด้วยการลงมือทํา(Learning by Doing) เคร่อื งมือการประเมินผล ประกอบด้วย โรงเรยี นบา้ นทา่ อาจไดก้ าํ หนดแบบประเมินในโครงการนเิ ทศภายในโรงเรยี น ดังตอ่ ไปนี้ 1. แบบประเมิน ความรคู้ วามเขา้ ใจและการนําหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้ 2. แบบประเมิน ความสามารถในการจดั การเรียนรู้ 3. แบบประเมนิ แผนการจัดการเรียนรู้ 4. แบบประเมิน การเยี่ยมช้นั เรียน 5. แบบประเมนิ บนั ทึกสังเกตการสอน 6. แบบประเมิน การจดั การเรยี นรู้

๓๐ แบบประเมิน ความรู้ความเข้าใจและการนาหลกั สูตรสถานศึกษาไปใช้ คาชี้แจง ทา่ นมคี วามร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกับหลักสูตรฯ มากน้อยเพยี งใด และ ท่านสามารถนําไปใช้ไดม้ าก-น้อยเพยี งใด ใหท้ ่านทาํ เครื่องหมาย  ลงในชอ่ งขวามือ ระดับความรู้ความ ระดบั การนาํ ความรู้ ที่ รายการ เขา้ ใจ ไปใช้ 54321 54321 ดา้ นหลกั สูตรฯ 1 ความเชอื่ มโยงระหวา่ งหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และปรบั ปรุ กรอบหลักสตู ร ระดับท้องถิ่นและความตอ้ งการของโรงเรยี น 2 จดุ หมายของหลกั สตู ร 3 สมรรถนะสําคัญของผ้เู รียน 4 คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 5 ความสอดคล้องระหวา่ งวิสัยทัศน์ของหลกั สูตรฯ พทุ ธศักราช 2551 กบั จุดหมายของหลกั สูตร 6 ความสอดคล้องระหว่างจุดหมายของหลักสตู รฯ กบั สมรรถนะสําคัญของผเู้ รียน 7 ความสอดคล้องระหว่างจดุ หมายของหลกั สูตรฯ กบั คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 8 มาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวัด/ผลการเรียนรู้ 9 คุณภาพผเู้ รียนในรายวิชา 10 หลักการจดั กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รยี น 11 โครงสรา้ งเวลาเรยี น 12 การจัดรายวิชาประวตั ิศาสตร์ 13 การจัดรายวชิ าหนา้ ท่ีพลเมือง 14 กระบวนหรอื ขนั้ ตอนการจดั ทําหลกั สูตรสถานศกึ ษา 15 การต้ังช่อื รายวชิ า 16 การกําหนดรหัสรายวชิ า 17 การจัดทาํ รายวชิ าเพิ่มเตมิ หรือ กจิ กรรมเพิ่มเติม 18 การวเิ คราะห์มาตรฐาน/ตัวชว้ี ดั (KPA) 19 การจัดทาํ คําอธบิ ายรายวชิ า 20 การจัดทาํ โครงสรา้ งรายวชิ า

๓๑ ท่ี รายการ ระดบั ความรู้ความ ระดบั การนําความรู้ เขา้ ใจ ไปใช้ 21 การจัดทาํ หน่วยการเรยี นรู้ 22 การจัดทําแผนการเรียนร้หู รอื แผนการสอน 54321 54321 ด้านกิจกรรมการเรียนรู้ 1 การจดั กจิ กรรมลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู้ 2 การจัดกิจกรรมการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ 3 การจัดการเรียนรทู้ ่ีเน้นผเู้ รยี นเป็นสําคัญ 4 การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning 5 การจัดกิจกรรมการเรียนรแู้ บบโครงงาน 6 การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้โู ดยใช้ STEM ด้านการวดั และประเมนิ ผล 1 การวัดและประเมนิ ผลรายวิชา 2 การวัดและประเมินผลอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี น 3 การวัดและประเมินผลคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 4 การวัดและประเมนิ ผลกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 5 การวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริง 6 การวดั และประเมนิ ผลเดก็ ทมี่ ีความตอ้ งการจาํ เป็นพเิ ศษ 7 เกณฑ์การเล่อื นชน้ั 8 เกณฑ์การจบหลกั สตู ร 9 การออกข้อทดสอบ 10 การออกข้อสอบตามแนว PISA

๓๒ แบบประเมนิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ คาช้ีแจง ให้ท่านประเมนิ ตวั ท่านเองวา่ ท่านมคี วามสามารถในการจัดการเรียนรมู้ าก-นอ้ ย เพยี งใด แล้วทําเครื่องหมาย  ลงในช่องขวามือ ระดับความสามารถ ท่ี รายการ ของท่าน 54321 1 ความรู้ความเข้าใจในวชิ าท่สี อน 2 ความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้และประสบการณ์ 3 การนาํ เทคนิคการสอนใหม่ๆ มาเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการสอนของตนเอง 4 ความรบั ผิดชอบในการเรยี นการสอน 5 ความตรงต่อเวลา และเอาใจใสผ่ เู้ รียนเปน็ รายบคุ คลอยา่ งสมาํ่ เสมอ 6 การตรวจงานท่ีมอบหมายให้นกั เรยี น และการใหข้ ้อมูลยอ้ นกลับอย่าง สมาํ่ เสมอ 7 การใชส้ ือ่ และแหลง่ เรียนรทู้ ่เี หมาะสม และเอ้ือต่อการเรยี นรู้ 8 การใชส้ ือ่ เทคโนโลยี และอปุ กรณท์ ่ีทนั สมัย 9 การใช้ภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ที่เหมาะสม และเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ 10 การเปิดโอกาสให้ผเู้ รยี นมีส่วนร่วมในการใช้สอ่ื และผลิตส่ือ 11 การสอนโดยใหน้ ักเรียนไดล้ งมือปฏบิ ตั เิ ปน็ ส่วนใหญ่ 12 การจดั กิจกรรมลดเวลาเรยี น เพิม่ เวลารู้ 13 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรแู้ บบบูรณาการ 14 การจัดการเรยี นรู้ที่เน้นผเู้ รียนเปน็ สําคัญ 15 การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบ Active Learning 16 การจดั กจิ กรรมการเรียนร้แู บบโครงงาน 17 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ STEM 18 การจดั กจิ กรรมการเรียนร้โู ดยใช้ 5 Step’s

๓๓ แบบประเมนิ แผนการจดั การเรียนรู้ แบบประเมนิ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา.................................................ช้นั ............................ ชือ่ ครูผู้สอน........................................................... ..……โรงเรียน.................................................. ประเมินวันท.ี่ ...............เดือน............................พ.ศ.................. ระดบั 5 หมายถงึ ดีเยีย่ ม ระดับ 4 หมายถงึ ดีมาก ระดบั 3 หมายถึง ดี ระดับ 2 หมายถงึ พอใช้ ระดับ 1 หมายถงึ ปรบั ปรงุ ข้อที่ รายการประเมนิ 5 ระดับคะแนน 1 432 1 หน่วยการเรยี นรู้มคี วามครอบคลมุ มาตรฐานทห่ี ลักสตู รกาํ หนด 2 แผนการจัดการเรยี นร้สู อดคล้องกบั หนว่ ยการเรยี นรู้ 3 แผนการจดั การเรยี นรู้มอี งค์ประกอบสาํ คัญครบถว้ น 4 สาระสาํ คัญคสอดคล้องและครอบคลุมกับ มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด 5 แผนมีการกําหนดตวั ชว้ี ัดช้นั ปี หรือผลการเรยี นรอู้ ยา่ งเหมาะสม 6 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้มีความครอบคลุม K P A และสมรรถนะสาํ คญั 7 เนือ้ หาสาระสอดคล้องกบั ตัวช้ีวดั ช้นั ปี/ผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ และเวลา 8 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ อดคล้องกับจุดประสงค์ เนือ้ หา เวลาและ ระดับชัน้ ของนกั เรยี น 9 กิจกรรมการเรียนรมู้ ขี ัน้ ตอนหลัก 3 ข้นั ตอน ได้แก่ ขั้นนําเข้าสู่ บทเรยี น ขั้นสอนและขน้ั สรุป 10 กจิ กรรมการเรยี นรมู้ กี ารจัดลาํ ดบั ขน้ั ตอนได้อยา่ งเหมาะสมและ สอดคล้องกัน 11 กิจกรรมการเรยี นรมู้ ีความหลากหลาย และเน้นให้นักเรียน ไดล้ งมือปฏบิ ตั ิ (Active Learning) 12 กจิ กรรมการเรยี นรูเ้ ปน็ กจิ กรรมทสี่ ง่ เสริมใหน้ ักเรยี นเกดิ กระบวนการคิด 13 กจิ กรรมการเรยี นรูส้ อดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรมคา่ นิยมที่ดีงามและ คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์

๓๔ ขอ้ ที่ รายการประเมนิ ระดับคะแนน 432 5 1 14 ส่ือ วัสดุอปุ กรณ์ และแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกบั กจิ กรรมการเรียนรู้ และมีความหลากหลาย 15 นกั เรยี นได้ใชส้ อื่ และแหลง่ เรียนรู้อย่างท่วั ถึง 16 การวัดและประเมินผล สอดคล้องกับประสงค์การเรียนรู้ 17 วธิ ีการ เคร่ืองมือ และเกณฑ์การวัดและประเมินผล มคี วามสอดคล้องกนั 18 นักเรียนมสี ว่ นร่วมในการวดั และประเมนิ ผล 19 มกี ารบนั ทึกผลหลังสอนได้อย่างครอบคลมุ ตามจุดประสงค์ การเรียนรู้ 20 ภาคผนวกของแผนฯ มเี อกสารครอบคลุมกิจกรรมการเรยี นรู้ และการวัดและประเมนิ ผล รวมคะแนน รวมคะแนนท้งั สิ้น เกณฑ์การผา่ นต้องไดร้ อ้ ยละ 70 ข้นึ ไป ได้คะแนนร้อยละ ระดับดีเยี่ยม = รอ้ ยละ 90 ขึน้ ไป ระดับดมี าก = รอ้ ยละ 80 – 89 ระดับดี = รอ้ ยละ 70 - 79 ระดับพอใช้ = ร้อยละ 60 - 69 ระดบั ปรับปรงุ = ตง้ั แตร่ ้อยละ 59 ลงไป สรปุ ผลการตดั สนิ ผลการประเมินอยใู่ นระดับ........................ [ ] ผ่าน [ ] ไม่ผ่าน ความเหน็ ของผู้ประเมินเพิม่ เตมิ ............................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................... .................................................................................. ............................................................................................................................. ............................................ ลงช่ือ...............................................ผ้ปู ระเมิน (.........................................) ............./................/..............

๓๕ แบบประเมินการเยย่ี มช้ันเรียน ช่ือครปู ระจาช้ัน........................................ วันท.่ี ............เดอื น..........................พ.ศ. ..........คร้งั ท.ี่ ........ ภาคเรยี นท่ี ........... คาช้ีแจง การประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ าน 4 ระดบั ดังนี้ ระดับ 0 หมายถงึ ไม่มี ระดบั 1 หมายถึง มแี ต่ไม่ครบ ไมเ่ รยี บร้อย ระดบั 2 หมายถึง มีแต่ไม่สะอาด สวยงาม ไม่เป็นปจั จบุ ัน ระดับ 3 หมายถงึ มีครบ สะอาดเรยี บร้อย สวยงาม เป็นปจั จบุ ัน ท่ี รายการ ระดับ หมายเหตุ 3210 1 สัญลกั ษณ์ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ 2 ป้ายสถติ ิ จํานวนนักเรยี น 3 มมุ ประสบการณ์ 4 ถงั ขยะและอปุ กรณ์ทําความสะอาด 5 ขอ้ มูลพื้นฐานนกั เรียน 6 ข้อตกลงประจาํ ห้อง 7 ข้อมูลบุคคลสําคญั 8 อปุ กรณ์การแปรงฟัน 9 ปา้ ยนเิ ทศประจาํ ห้อง 10 บทอาขยาน 11 สตู รคณู และรปู ทรงเรขาคณิต 12 สูตรและมาตราต่าง ๆ ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ 13 โต๊ะครู (ความสะอาด,แจกัน) 14 มมุ สวยงาม (กระจก,แป้ง,หวี) 15 คําขวญั ตําบล,อําเภอ,จังหวัด 16 เวรประจําวัน 17 พนื้ หอ้ งและบรเิ วณห้องสะอาด 18 ปา้ ยชอ่ื หอ้ งเรียนและป้ายชอ่ื ครูประจาํ ชน้ั เฉลย่ี ลงชื่อ ผนู้ ิเทศ วนั ที่ ......เดือน.......................พ.ศ…… .

๓๖ แบบบนั ทึกสังเกตการสอน ครผู ู้สอน............................................................................................................................. ....... จาํ นวนนกั เรียน..............................คน เป็นหญิง.................คน ชาย........................คน ขาด..................คน วิชา.......................................หนว่ ยการเรียนรู้...............................................เรือ่ งทสี่ อน............................. ภาคเรยี นท.ี่ ...................ปกี ารศกึ ษา............................ วนั ท่ี...............................เวลา....................น. ประเดน็ การนเิ ทศ บันทึกการสงั เกต ข้อเสนอแนะ 1. พฤติกรรมการสอนของครู 2. กิจกรรมการเรียนรู้ 3. พฤติกรรมของนักเรยี น 4. การใช้ส่ือและแหล่งเรยี นรู้ 5. การวดั และประเมินผล ลงช่ือ ผนู้ ิเทศ วนั ที่ ......เดือน.......................พ.ศ...........

๓๗ ภาคผนวก 1. โครงการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นโดยใชร้ ะบบนเิ ทศภายในโรงเรยี น 2. คาํ ส่ังแตง่ ตงั้ คณะกรรมการนเิ ทศภายในโรงเรียน 3. แบบบันทึกผลการประเมนิ ตา่ ง ๆ ฯลฯ

คณะผ้จู ัดทา ๓๘ คณะทางาน ผ้อู าํ นวยการโรงเรยี น ประธานคณะทาํ งาน 1. นายกชิ สณพนธ์ เฉลิมวิสตุ ม์กลุ รองผ้อู ํานวยการโรงเรยี น รองประธานคณะทาํ งาน 2. นางสาววรากร ทองทวี ครูชาํ นาญการ คณะทํางาน ครู คณะทํางาน 3. นางสาวกณกิ าร์ ปรือปรัง ครูชาํ นาญการ คณะทาํ งาน 4. นายดนยั พนั ธพ์ นมไพร ครูชาํ นาญการ คณะทาํ งาน 5. นายวรปรชั ญ์ อนิ ต๊ะสุข ครชู ํานาญการ คณะทาํ งาน 6. นางสาวจรี ัชญ์ คฤหะมาน ครูชาํ นาญการพิเศษ คณะทํางาน 7. นางชนกิ านต์ ลีว่ ัฒนาย่งิ ยง ครูชาํ นาญการ คณะทาํ งาน 8. นายอศิ ยม เครอื คําแดง ครู คณะทาํ งาน 9. นางสาวภมุ รินทร์ ฉิมพาลี ครูชํานาญการพิเศษ คณะทํางานและเลขาฯ 10. นางสาวศุภณลญิ ญ์ ทับโตาง ครู ผชู้ ่วยเลขานกุ าร 11. นางสภุ าพร จอมประเสรฐิ 12. นายปรวิ รรต คาํ วรรณ คณะผูเ้ ขยี น รวบรวมและเรยี บเรยี ง ครโู รงเรยี นบา้ นทา่ อาจ 1. นางสภุ าพร จอมประเสริฐ ครูโรงเรียนบ้านทา่ อาจ 2. นายปริวรรต คาํ วรรณ ปก และรูปเล่ม ครู นายปรวิ รรต คําวรรณ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook