Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่1.ความหมายองค์ประกอบศิลป์-2แก้

บทที่1.ความหมายองค์ประกอบศิลป์-2แก้

Published by aomjulalak44, 2020-03-17 03:02:12

Description: บทที่1.ความหมายองค์ประกอบศิลป์-2แก้

Search

Read the Text Version

หนว่ ยที่1 ความหมายองค์ประกอบศิลป์ หวั ขอ้ เร่อื ง (Topics) 1.1 ความหมายขององคป์ ระกอบศลิ ป์ 1.2 ความสาคญั ขององค์ประกอบศลิ ป์ 1.3 ทัศนศิลป์ 1.4 ทัศนธาตุ แนวคดิ สาคัญ (Main ldea) ในปัจจุบันเทคโนโลยีก้าวเข้าสู่การนาสมัย ไมว่ ่าจะมองไปทางใด จะพบวา่ คอมพวิ เตอร์ไดเ้ ขา้ มามีบทบาท ในงานตา่ ง ๆ มากย่งิ ขึน้ รวมไปถงึ งานด้านกราฟิกท่ีได้มีการนาเอาคอมพิวเตอร์เขา้ มาสรา้ งสรรค์ในช้ินงานการ ออกแบบและเกดิ พฒั นาอย่างตอ่ เนอื่ ง ซงึ่ ในหนว่ ยการเรียนนี้จะศกึ ษาและทาความเข้าใจกบั คอมพวิ เตอร์ท่ีใช้ใน งานกราฟิก สมรรถนะย่อย (Element of Competency) แสดงความรเู้ กย่ี วกับความหมายองค์ประกอบศลิ ป์ จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ (Performance Objectives) 1. บอกความหมายขององคป์ ระกอบศลิ ป์ 2. อธบิ ายเกย่ี วกับหลักการขององคป์ ระกอบศลิ ป์ 3. อธิบายเกีย่ วกบั ทศั นศิลป์ 4. อธิบายเกี่ยวกบั ทัศนธาตุ

หน่วยที่ 1 ความหมายองคป์ ระกอบศิลป์ 1.1 ความหมายขององคป์ ระกอบศลิ ป์ คาว่าองคป์ ระกอบ ตามความหมายพจนานกุ รมราชบณั ฑิตยสถาน คือส่วนต่างๆ ท่ีประกอบกนั ทาใหเ้ กดิ รูปรา่ งใหม่ขึน้ โดยเฉพาะ องคป์ ระกอบศิลป์ หมายถึง สิ่งทศี่ ลิ ปินและนักออกแบบใช้เปน็ สอ่ื ในการแสดงออกและสร้างความหมาย โดยนามาจดั เขา้ ด้วยกันและเกิดรปู รา่ งอันเด่นชัด องค์ประกอบศิลป์ ยังเป็นเครอ่ื งหมายหรือรูปแบบทน่ี ามาจัดรวมกันแล้วเกดิ รปู ร่างตา่ งๆทแี่ สดงออกใน การสื่อความหมายและความคิดสรา้ งสรรค์และเป็นศลิ ปะท่ีมนุษย์สรา้ งข้นึ เพือ่ แสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคดิ หรือความงดงามซ่ึงประกอบด้วยสว่ นทีม่ นุษย์สรา้ งขึน้ และส่วนทีเ่ ป็นการแสดงงออกอนั เปน็ ผลที่เกิดจาก โครงสร้างทางวตั ถตุ ่างๆส่วนประกอบตา่ งๆของศิลปะ เช่น จดุ เส้น รปู ร่าง ขนานสัดส่วน นา้ หนกั แสงเงา ลักษณะ พนื้ ผวิ ทว่ี า่ ง และสี 1.2 ความสาคัญขององคป์ ระกอบศลิ ป์ ในการสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปะในสาขาตา่ งๆไมว่ า่ จะเป็นสาขาวจิ ิตรศลิ ปห์ รอื ประยกุ ต์ศิลป์ผูส้ ร้างสรรคต์ ้องมคี วามรู้ เบ้ืองตน้ ดา้ นศิลปะมาก่อน และศึกษาถงึ หลักการองค์ประกอบพ้นื ฐาน 1.2.1 องค์ประกอบทส่ี าคญั การจัดวางองคป์ ระกอบเหล่านน้ี ้ัน รวมถึงการกาหนดสี ในลักษณะต่างๆ เพิ่มเตมิ ใหเ้ กิดความเข้าใจ เพอ่ื เวลาที่สรา้ งผลงานศิลปะจะได้ผลงานที่มคี ุณคา่ ความหมายและความงามเปน็ ทีน่ ่าสนใจแก่ผ้พู บเหน็ หากสรา้ งสรรค์ ผลงานโดยขาดองค์ประกอบศลิ ป์ ผลงานน้นั อาจดูด้อยคา่ หมดความหมายหรือไมห่ นา้ สนใจไปเลย ดงั นนั้ จะเห็นได้ ว่าองคป์ ระกอบศิลป์นัน้ มีความสาคัญอยา่ งมากในการสร้างงานศิลปะ องค์ประกอบศิลป์ เป็นเสมอื นหวั ใจดวงหน่ึงของการทางานศิลปะ เพราะในงานองคป์ ระกอบศิลป์หนงึ่ ชนิ้ จะประกอบไปด้วย การรา่ งภาพ(วาดเสน้ ) การจดั วางให้เกิดความงาม (จดั ภาพ) และการใช้ส(ี ทฤษฎสี )ี ซึ่งแตล่ ะ อย่างจะตอ้ งเรียนรสู้ ูร่ ายละเอยี ดลึกลงไปอีก องค์ประกอบศลิ ป์จึงเปน็ พื้นฐานสาคัญที่รวบรวมความรหู้ ลายๆอยา่ ง ไวด้ ว้ ยกัน จึงตอ้ งเรยี นรู้ก่อนท่จี ะศกึ ษาในเร่อื งอน่ื ๆ (อนันต์ ประภาโส) องคป์ ระกอบศลิ ป์ จดั เปน็ วชิ าทีม่ คี วามสาคญั สาหรับผู้ศึกษางานศิลปะ หากว่าความรู้ความเข้าใจในวชิ านี้ แล้ว ผลงานทส่ี ร้างข้นึ มาก็ยากท่ีประสบความสาเร็จ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงงานศิลปะสมัยใหม่ทีม่ กี ารแสดงเฉพาะ เสน้ สี แสง เงา นา้ หนัก พืน้ ผวิ จงั หวะ และบรเิ วณที่ว่าง มคี วามจาเป็นอยา่ งยิ่งต้องนาหลักกรองคป์ ระกอบศลิ ป์มาใช้ 1.2.2 หลกั การจดั องคป์ ระกอบพืน้ ฐาน 1. เอกภาพ(Unity) หมายถงึ ความเป็นอนั หน่ึงอนั เดียวกัน ความสอดคล้องกลมกลนื เปน็ หนว่ ย เดยี วกัน ดว้ ยการจดั องค์ประกอบให้มีความสมั พนั ธ์เกีย่ วขอ้ งกนั เป็นกลมุ่ ก้อนไม่กระจดั กระจาย โดยการจดั ระเบยี บของรูปทรง จังหวะ เนอ้ื หาให้เกดิ ดุลยภาพจะไดส้ ือ่ อารมณ์ ความรู้สึก ความหมายไดง้ ่ายและรวดเรว็

ภาพทม่ี ีเอกภพ ภาพทไ่ี มม่ ีเอกภาพ รปู ท่ี 1.1 การจัดองคป์ ระกอบ 2. ดุลยภาพ (Balance) ความสมดุลหรือดุลยภาพ หมายถึง ความเท่ากันเสมอกัน มนี ้าหนัก หรอื ความ กลมกลนื พอเหมาะพอดี โดยมแี กนสมมติทาหน้าท่แี บง่ ภาพใหซ้ ้ายขวา บน ลา่ ง ให้เท่ากนั การเทา่ กันอาจไม่ เทา่ กันจริง ๆ ก็ได้ แตจ่ ะเท่ากนั ในความรู้สึกตามที่ตามองเห็นความสมดุลแบ่งเปน็ 2 ประเภท ดังนี้ (1) ความสมดลุ 2 ขา้ งเทา่ กนั (Symmetrical Balance) หมายถงึ การจดั วางองค์ประกอบต่าง ๆ ของ ศิลปะให้ทงั้ 2 ข้างแกนสมมติมีขนาด สัดสว่ น และน้าหนักเท่ากัน หรอื มรี ูปแบบเหมอื นกันคลา้ ยกัน (2) ความสมดุล 2 ขา้ งไม่เทา่ กัน (Asymmetrical Balance) หมายถงึ การจัดองค์ประกอบของศลิ ปะ ทงั้ 2 ข้างแกนสมมตมิ ีขนาดสดั สว่ นน้าหนักไม่เทา่ กัน ไมเ่ หมือนกนั ไมเ่ สมอกนั แตส่ มดุลกนั ในความรสู้ กึ ความ สมดุล 2 ขา้ งไมเ่ ทา่ กนั คอื ภาพมีความสมดลุ ของเน้อื หาและเร่อื งราวแต่ไม่เท่ากันในเรื่องขนาด นา้ หนกั 3. จุดเด่น (Dominance) หมายถงึ ส่วนสาคัญท่ีปรากฏชัด สะดดุ ตาท่สี ุดในงานศลิ ปะ จุดเดน่ จะชว่ ย สรา้ งความน่าสนใจในผลงานให้ภาพเขียนมคี วามสวยงาม มชี วี ติ ชีวายง่ิ ขึน้ จุดเด่นเกิดจากการจัดวางที่ เหมาะสม และร้จู ักการเนน้ ภาพ (Emphasis) ท่ีดี จดุ เดน่ มี 2 แบบ คือ (1) จดุ เด่นหลกั เปน็ ภาพท่มี ีความสาคัญมากท่ีสดุ ในเรอ่ื งทจ่ี ะเขียน แสดงออกถึงเร่ืองราวท่ี ชดั เจน เด่นชัดทสี่ ุดในภาพ (2) จุดเดน่ รอง เปน็ ภาพประกอบของจดุ เด่นหลัก ทาหน้าที่สนบั สนุนจุดเด่นหลกั ให้ภาพมีความสวยงาม ยิ่งข้นึ เช่น ในภาพจุดเด่นรองได้แก่ รูปเรอื 4. ความขัดแย้ง (Contrast) ขัดแย้งด้วยรูปทรงขัดแย้งด้วยขนาดขัดแย้งดว้ ยเสน้ ขดั แย้งด้วยผิวขดั แยง้ ด้วยสีความขัดแย้งท่ีกล่าวมาถูกจดั วางเพอ่ื ให้เกิดความงามทางศิลปะ 5. ความกลมกลืน (Harmony) ภาพด้านลา่ งเป็นความกลมกลนื ด้านเร่อื งราวทส่ี อดคลอ้ งเป็นเร่ืองราว เกี่ยวกบั ธรรมชาติ และเป็นความกลมกลืนในเรื่องสีวรรณะเดียวกัน 1.3 ทศั นศิลป์ ทศั นศิลป์ คือ กระบวนการถ่ายทอดผลงานทางศิลปะ การทางานศิลปะอย่างมีจิตนาการความคิด สรา้ งสรรค์มรี ะบบระเบยี บเป็นข้ันเป็นตอนการสร้างสรรค์งานอย่างมีประสิทธภิ าพสวยงาม มีการปฏิบัตงิ านตาม แผนและมีการพัฒนาผลงานให้ดขี ึ้นตอ่ เน่อื ง ทศั นศลิ ป์คอื การรับรู้ทางจกั ษปุ ระสาท โดยการมองเหน็ สสาร วัตถุ และสรรพสิ่งตา่ ง ๆ ท่ีเขา้ มากระทบ รวมถึงมนษุ ย์ และสตั ว์ จะด้วยการหยดุ นง่ิ หรอื เคลอ่ื นไหวก็ตาม หรือจะด้วยการปรุงแตง่ หรือไมป่ รงุ แต่งกต็ าม กอ่ ใหเ้ กิดปจั จัยสมมุติต่อจติ ใจ และอารมณข์ องมนุษย์ อาจจะเป็นไปในทางเดียวกันหรอื ไม่ก็ตาม

ทัศนศิลป์เปน็ การแปลความหมายทางศิลปะ ทแ่ี ตกต่างกันไปแตล่ ะมุมมอง ของแตล่ ะบคุ คล ในงานศลิ ปะ ชนิ้ เดยี วกัน ซ่ึงไร้ขอบเขตทางจินตนาการ ไมม่ กี รอบทแี่ นน่ อน ข้นึ กบั อารมณข์ องบุคคลในขณะทัศนศ์ ิลป์นัน้ แนวคิดทัศนศิลปเ์ ปน็ ศิลปะทรี่ บั รูไ้ ด้ดว้ ยการมอง ไดแ้ ก่รูปภาพววิ ทิวทัศนท์ ัว่ ไปเป็นสาคญั อนั ดับตน้ ๆ รูปภาพคน เหมอื น ภาพล้อ ภาพสง่ิ ของต่างๆกล็ ้วนแลว้ แต่เป็นเรือ่ งของทศั นศลิ ป์ด้วยกันท้งั สิ้น ซง่ึ ถา้ กลา่ ววา่ ทัศนศลิ ป์เปน็ ความงามทางศลิ ปะท่ไี ด้จากการมอง หรือ ทัศนา นนั่ เอง รปู ที่ 1.3 ภาพทัศนศิลป์แบบไทย 1.4 ทศั นธาตุ ทศั นธาตุ (Visual Elements) ในทางทัศนศิลป์ หมายถึง ส่วนประกอบของศลิ ปะที่มองเหน็ ได้ ประกอบดว้ ย จดุ เส้น รูปร่าง รูปทรง นา้ หนกั ออ่ น-แก่ สี บริเวณว่าง และพนื้ ผิว 1. จดุ (Dot) หมายถึง รอยหรอื แต้มท่ีมลี ักษณะกลมๆ ปรากฏที่ผิวพนื้ ไมม่ ขี นาด ความกวา้ ง ความยาว ความหนา เปน็ สง่ิ ที่เลก็ ท่ีสดุ และเปน็ ธาตเุ ร่มิ แรกทีท่ าให้เกิดธาตอุ นื่ ๆ ข้นึ จุด เป็นต้นกาเนดิ ของเสน้ รปู รา่ ง รูปทรง แสงเงา พื้นผิว ฯลฯ เช่น นาจุดมาวางเรยี งต่อกนั จะเกดิ เป็น เส้น และการนาจุดมาวางใหเ้ หมาะสมก็จะเกดิ เป็นรูปรา่ ง รปู ทรง และลักษณะผิวได้ 2. เสน้ (Line) คอื จุดหลาย ๆ จุดตอ่ กันเป็นสาย เปน็ แถวแนวไปในทิศทางใดทศิ ทางหนง่ึ เป็นทางยาว หรือจดุ ท่เี คลื่อนทไี่ ปในทิศทางใดทศิ ทางหนึง่ ดว้ ยแรงผลกั ดัน หรอื รอยขดู ขดี เขยี นของวตั ถเุ ปน็ รอยยาว เส้นนอน ให้ความรู้สึกกวา้ งขวาง เงียบสงบน่งิ ราบเรียบ ผอ่ นคลายสายตา เสน้ ตัง้ ให้ความรู้สกึ สงู สงา่ มน่ั คง แข็งแรง รุง่ เรอื ง

เสน้ เฉยี ง ให้ความรสู้ กึ ไม่ม่นั คง เคล่ือนไหวรวดเร็ว แปรปรวน เสน้ โค้ง ใหค้ วามรู้สึกอ่อนไหว สภุ าพอ่อนโยน สบาย น่มุ นวล เย้ายวน เสน้ ประ ––––––– ใหค้ วามรู้สกึ ไมต่ อ่ เนือ่ ง ไมม่ น่ั คง ไม่แนน่ อน 1.4.2 รปู รา่ งและรปู ทรง รปู ร่าง (Shape) หมายถงึ เสน้ รอบนอกทางกายภาพของวตั ถุ ส่งิ ของเคร่อื งใช้ คน สตั ว์ และ พืช มี ลกั ษณะเปน็ 2 มติ ิ มีความกว้างและความยาว รูปรา่ ง แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท คอื 1.รปู รา่ งธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง รปู รา่ งทเ่ี กดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาติ เชน่ คน สตั ว์ และ พชื เป็นตน้ 2.รูปรา่ งเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถงึ รปู ร่างทมี่ นษุ ยส์ ร้างข้นึ มีโครงสรา้ ง แนน่ อน เชน่ รูปสามเหล่ียม รปู สเี่ หลีย่ ม และรปู วงกลม เปน็ ตน้ 3.รูปรา่ งอสิ ระ (Free Shape) หมายถงึ รปู ร่างทีเ่ กดิ ขึน้ ตามความต้องการของผสู้ รา้ งสรรค์ ให้ความรู้สกึ ท่ี เป็นเสรี ไม่มีโครงสร้างทแี่ น่นอนของตัวเอง เปน็ ไปตามอทิ ธพิ ลของส่ิงแวดลอ้ ม เชน่ รปู ร่างของหยด นา้ เมฆ และควัน เป็นตน้ รูปท่ี 1.4 รูปร่างและรปู ทรงเลขาคณิต รปู ทรง (Form) หมายถงึ โครงสร้างท้ังหมดของวตั ถทุ ี่ปรากฎแก่สายตาในลักษณะ 3 มติ ิ คอื มที ้ังสว่ นกวา้ ง ส่วนยาว สว่ นหนาหรอื ลกึ คอื จะใหค้ วามรสู้ กึ เปน็ แท่ง มเี นอ้ื ที่ภายใน มี ปรมิ าตร และมนี า้ หนกั

รปู ท่ี 1.5 รูปมติ แิ ละเงา 1.4.3 สี พื้นผวิ การใช้ผิว นา้ หนักออ่ น-แก่ (Value) หมายถงึ จานวนความเขม้ ความอ่อนของสีตา่ ง ๆ และแสงเงาตามท่ี ประสาทตารับรู้ เมอ่ื เทียบกบั น้าหนักของสขี าว-ดา ความอ่อนแก่ของแสงเงาทาใหเ้ กดิ มิติ เกิดระยะใกล้ไกลและ สัมพันธ์กบั เร่ืองสโี ดยตรง สี (Color) หมายถึง สิ่งท่ีปรากฏอยู่ทั่วไปรอบ ๆ ตัวเรา ไมว่ า่ จะเปน็ สีทเ่ี กิดขน้ึ เองในธรรมชาติ หรอื สิง่ ที่มนษุ ยส์ ร้างข้ึน สีทาใหเ้ กิดความรสู้ กึ แตกตา่ งมากมาย เชน่ ทาใหร้ สู้ กึ สดใส ร่า เริง ต่ืนเตน้ หม่นหมอง หรือเศรา้ ซมึ ได้ เป็นต้น สีและการนาไปใช้ 1.วรรณะของสี (Tone) จากวงจรสธี รรมชาติ ในทางศลิ ปะได้มกี ารแบ่งวรรณะของสีออกเปน็ 2 วรรณะ คือ สวี รรณะร้อน ได้แก่สที ี่ให้ความรูส้ กึ อบอนุ่ หรอื รอ้ น เชน่ สีเหลือง ส้มเหลอื ง สม้ ส้ม แดง แดง มว่ งแดง เปน็ ตน้ สว่ นสวี รรณะเยน็ ไดแ้ ก่ สีที่ให้ความรู้สึกเยน็ สงบ สบาย เชน่ สเี ขียว เขยี ว เหลือง เขยี วน้าเงนิ น้าเงนิ มว่ งน้าเงนิ มว่ ง เปน็ ตน้ 2.ค่าของสี (Value of color) หมายถงึ สใี ดสหี นึง่ ทาให้คอ่ ย ๆ จางลงจนขาวหรอื สวา่ งและทาให้คอ่ ย ๆ เขม้ ขึ้นจนมืด 3.สีเอกรงค์ (Monochrome) หมายถงึ สีท่ีแสดงอิทธิพลเด่นชัดออกมาเพยี งสเี ดยี ว หรอื ใช้เพยี งสี เดียวในการเขยี นภาพโดยให้คา่ ของสีอ่อน กลาง แก่ คล้ายกับภาพถา่ ย ขาว ดา 4.สีสว่ นรวม (Tonality) หมายถงึ สใี ดสหี นง่ึ ทีใ่ หอ้ ิทธิพลเหนอื สีอน่ื ท้ังหมด เช่น การเขียนภาพ ทวิ ทศั น์ ปรากฏสสี ว่ นรวมเป็นสเี ขยี ว สนี า้ เงิน เปน็ ต้น 5.สที ่ปี รากฏเดน่ (Intensity) 6.สีตรงขา้ มกนั หรอื สตี ัดกนั (Contrast) หมายถงึ สีทอี่ ยู่ตรงกันขา้ มในวงจรสีธรรมชาติ เชน่ สีแดงกับ สีเขยี ว สนี า้ เงินกบั สีส้ม สมี ว่ งกับสเี หลอื ง 1.4.4 บริเวณวา่ ง (Space) หมายถึง บริเวณทีเ่ ป็นความวา่ งไม่ใช่สว่ นทีเ่ ปน็ รูปทรงหรือ เน้อื หาในการจดั องค์ประกอบใดก็ตามถา้ ปล่อยใหม้ ีพน้ื ท่วี ่างมากและให้มีรูปทรงน้อย การจัดนั้นจะให้ ความรูส้ กึ อา้ งอ้าง โดดเดี่ยว

1.4.5 พนื้ ผวิ (Texture) หมายถึง พื้นผิวของวัตถตุ ่าง ๆ ท่เี กดิ จากธรรมชาติและมนุษยส์ ร้างสรรค์ขึ้น พนื้ ผวิ ของวตั ถุท่แี ตกต่างกัน ยอ่ มใหค้ วามรสู้ กึ ที่แตกต่างกนั ด้วย สรุปสาระสาคัญ การจัดองคป์ ระกอบศลิ ป์ การจะวางวตั ถุ การใช้พ้นที่ สัดสว่ น การกาหนดเส้น สี แสง เงา การจัดวาง ตาแหนง่ วัตถุ และการใช้ชนดิ ของการจัดวตั ถุแบบต่าง ๆ ล้วนแล้วแต่เปน็ องคป์ ระกอบศลิ ปก์ ่อให้เกิดการลงตวั ของ ชิ้นงาน

แบบฝกึ หัดหน่วยท่ี 1 ความหมายองค์ประกอบศิลป์ คาส่ัง จงตอบคาถามต่อไปนีใ้ หส้ มบรู ณ์ 1. ธาตหุ มายถงึ อะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2.ทศั นศลิ ปห์ มายถึงอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3.องคป์ ระกอบศิลปค์ ืออะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. เอกภาพหมายถึงอะไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.ทศั นศลิ ป์กับทศั นธาตุต่างกันอยา่ งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

แบบทดสอบหลงั เรียนหนว่ ยหน่วยที่ 1 ความหมายองค์ประกอบศลิ ป์ คาสง่ั จงทาเคร่อื งหมายกากบาท (×) ทับขอ้ ท่ีถกู ตอ้ งท่สี ดุ 1. ขอ้ ใดเปน็ หลกั การออกแบบในงานกราฟิก ก. มีเอกภาพ ข. ความเปน็ ปัจจุบัน ค. ความทนั สมัย ง. ความลา้ ลกึ 2. ข้อใดไมใช่หลักการจดั องค์ประกอบศิลป์ ก. จุดเดน่ ข. เอกภาพ ค. จดุ สมดุล ง. จุดรอง 3. หลกั องคป์ ระกอบศิลป์หมายถงึ ข้อใด ก. การนาองคป์ ระกอบต่างๆ ของศลิ ปะมาแยกเพอ่ื สรา้ งคณุ ค่า ข. การนาองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของศลิ ปะมาสมั พันธ์กนั เพอื่ ใหเ้ กิดคณุ ค่าทางความงาม ค. ผสมกลมกลืนให้เกดิ มิติใหม่ ง. ถกู ทัง้ ข้อ ข. และ ค. 4. จุดเด่นตรงกบั ขอ้ ใด ก. Harmony ข. Contrast ค. Dominance ง. Unity 5. ความกลมกลนื ตรงกับขอ้ ใด ก. Harmony ข. Contrast ค. Dominance ง. Unity 6. ความสมดุลตรงกับข้อใด ก. Harmony ข. Contrast ค. Dominance ง. Unity

7. ลักษณะโดดเด่นของเอกภาพคืออะไร ก. ความเดน่ ชัด ข. ปรากฏชัด ค. ความเปน็ หนึ่งเดียว ง. สรา้ งจดุ สนใจ 8. Contrast ตรงกับขอ้ ใด ก. ความขัดแยง้ ข. เอกภาพ ค. ความสมดลุ ง. ความกลมกลืน 9. สมดุลแบง่ ออกไดท้ งั้ หมดกปี่ ระเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 10. จดุ เดน่ แบ่งไดเ้ ปน็ ก่ีประเภท ก. 2 แบบ ข. 3 แบบ ค. 4 แบบ ง. 5 แบบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook