Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รู้เท่าทันข่าว

รู้เท่าทันข่าว

Published by กลอยใจ มิ่งพฤกษ์, 2022-05-15 03:28:04

Description: รู้เท่าทันข่าว

Search

Read the Text Version

2 l รเู้ ทา่ ทันขา่ ว

รู้เท่าทนั ข่าว (News Literacy) ส่อื และเทคโนโลยีทเ่ี ปล่ยี นแปลง ในปจั จบุ นั พฤตกิ รรมการบรโิ ภคขา่ วสารของผอู้ า่ นไดเ้ ปลยี่ นไปอยา่ งมาก เนอื่ งจากสอ่ื และเทคโนโลยี ไดพ้ ฒั นาอยา่ งรวดเรว็ มีการบริโภคขา่ วสารผ่านทางสอ่ื สงั คมออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ หรอื ไลน์ มากข้ึน และในสือ่ โซเชียลผใู้ ช้งานอินเทอร์เนต็ ทว่ั ไปยงั สามารถแสดงบทบาทเป็นผู้น�ำเสนอข่าว เองได้ โดยมีผู้อา่ นจำ� นวนไมน่ ้อยให้ความสนใจและคอยตดิ ตาม เน่ืองจากน�ำเสนอขา่ วที่รวดเรว็ แปลกใหม่ หวอื หวาและเร้าอารมณ์ ถึงแม้ว่าความรวดเร็วในการรายงานข่าวทางออนไลน์จะช่วยท�ำให้ผู้อ่านรับข้อมูลข่าวสารอย่าง ทนั ทว่ งที แตป่ ญั หาทเ่ี กดิ ขนึ้ คอื ขา่ วออนไลนบ์ างสว่ นไมไ่ ดร้ บั การกลน่ั กรองคณุ ภาพและความถกู ตอ้ ง เนอื่ งจากเปน็ สอื่ ทเ่ี ปดิ กวา้ ง และไมไ่ ดถ้ กู จำ� กดั วา่ เปน็ ขา่ วนำ� เสนอจากสอ่ื มวลชนกระแสหลกั แตเ่ พยี ง อยา่ งเดียวอกี ต่อไป นอกจากนี้ ข่าวที่น�ำเสนอผา่ นทางหน้านิวส์ฟีดของโซเชียลมเี ดียยงั สามารถ ถูกส่งตอ่ หรือแบง่ ปนั ใหผ้ ู้อนื่ อา่ นตอ่ ได้ในวงกวา้ ง ซึง่ ส่งผลท�ำใหเ้ กดิ การแพรก่ ระจายของขา่ วสาร อยา่ งรวดเรว็ และสรา้ งอทิ ธพิ ลต่อความคดิ ของคนในสังคมเปน็ อยา่ งมาก ดว้ ยเหตุนี้จึงเปน็ การเปดิ โอกาสใหผ้ ู้ไม่หวงั ดสี ร้างขา่ วปลอมเขา้ มาปะปนกบั ข่าวอน่ื ๆ บนโลกออนไลน์ จนท�ำให้ผอู้ ่านหลงเช่ือ ขา่ วปลอม ข่าวลือ หรอื ขา่ วบดิ เบือนเพราะไม่ร้เู ท่าทันสื่อเหล่านี้ พลเมืองดิจทิ ลั จึงควรมีทักษะในการรูเ้ ท่าทนั ขา่ ว มวี ิจารณญาณแยกแยะไดว้ ่าข่าวใดเป็นขา่ วปลอม มที กั ษะในการวเิ คราะหแ์ ละตรวจสอบเพอื่ ทจี่ ะไดข้ อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งในการแสดงความคดิ เหน็ รจู้ กั ประเมนิ และเลือกใชข้ ้อมลู ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ เพอื่ สรา้ งการเปลีย่ นแปลงใหเ้ กดิ สงั คมประชาธปิ ไตยท่ี ผ้คู นแลกเปลยี่ นข้อมูลขา่ วสารและแสดงความคดิ เหน็ บนขอ้ เทจ็ จรงิ และเหตุผล News Literacy l 3

การรเู้ ท่าทันขา่ วคอื อะไร การรเู้ ทา่ ทนั ขา่ ว คอื ทกั ษะในการคดิ วเิ คราะหข์ า่ วสารเพอ่ื ทจี่ ะตรวจสอบและประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถอื ของขา่ วสารและขอ้ มลู รวู้ ่าข่าวน้นั นา่ เช่ือถือหรอื ไม่ รู้วา่ ขา่ วนนั้ เขยี นข้นึ ดว้ ยจดุ ประสงคอ์ ะไร รจู้ ัก การแยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ ออกจากความคดิ เหน็ และการชน้ี ำ� ของผสู้ รา้ งและเขยี นขา่ ว ไมใ่ ชอ้ คตใิ นการรบั ขา่ วสาร โดยเฉพาะอย่างย่ิงรู้จกั การตรวจสอบข่าวปลอมท่มี กั เผยแพรท่ างส่ืออินเทอร์เน็ต เพ่ือได้ ไมต่ กเปน็ เหยอ่ื ของผไู้ มห่ วงั ดี พฤตกิ รรมการใชส้ อ่ื สงั คมออนไลนใ์ นการรบั รแู้ ละเชอ่ื ขา่ วสาร โดยขาดทกั ษะการรเู้ ทา่ ทนั ขา่ วนน้ั เปน็ เรอื่ งสำ� คญั ทไ่ี มส่ มควร จะมองขา้ ม ขา่ วสารทไี่ มม่ คี วามจรงิ หรอื ทเี่ รยี กวา่ ขา่ วปลอม (Fake news) ท่เี ผยแพรท่ างสื่อสงั คมออนไลน์นั้น สามารถ จะส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวมได้ เน่ืองจากข่าวปลอม มีการบิดเบือน ใส่ร้าย และชี้น�ำ จนอาจท�ำให้ประชาชน เกดิ ความสบั สน และขดั แยง้ จนอาจสง่ ผลใหเ้ กดิ ความวนุ่ วาย ในสังคมได้ ข่าวปลอมคอื อะไร ปัจจบุ นั ยังไม่มีค�ำจำ� กดั ความท่แี น่นอนของข่าวปลอม (Fake news) ผู้ให้ค�ำนยิ ามก็ตคี วามหมายของ ขา่ วปลอมแตกตา่ งกนั ออกไป อยา่ งไรกต็ าม ความหมายกวา้ ง ๆ ของขา่ วปลอมคือ “ขา่ วทไ่ี ม่จริง” เนอื้ หาของขา่ วปลอมอาจมขี อ้ เทจ็ จรงิ เพยี งเลก็ นอ้ ยหรอื เพยี งบางสว่ นแตข่ าดบรบิ ทของรายละเอยี ด หรืออาจเป็นข่าวทไี่ มม่ มี ูลความจรงิ เลย เนื้อหาของข่าวเปน็ เรือ่ งทกี่ ขุ ้นึ มาหรอื ไม่มีข้อเท็จจริง ไมม่ ี แหล่งขา่ วหรือค�ำพูดทีต่ รวจสอบได้ ขา่ วปลอมบางประเภทก็อาจมเี น้อื ขา่ วที่ตรวจสอบได้จรงิ แต่มี ลักษณะการเขยี นด้วยอคติ จงใจให้ร้าย หรือไม่ใสร่ ายละเอยี ดทส่ี ำ� คญั ตอ่ เหตุการณ์ลงในเน้อื ข่าว หรอื นำ� เสนอจากมมุ มองดา้ นเดยี ว บางครงั้ ขา่ วปลอมกเ็ ปน็ โฆษณาชวนเชอ่ื ทจ่ี งใจเขยี นขนึ้ มาเพอื่ ชน้ี ำ� คนอา่ น โดยมแี รงจูงใจทางการเมือง หรอื อาจเปน็ เพยี งแค่ “พาดหวั ยว่ั ใหค้ ลกิ ” (Clickbait) ที่เขียน ล่อให้คนเข้ามาอ่านเพ่ือเพ่มิ ยอดวิวโดยมีแรงจงู ใจทางการเงินอยเู่ บ้อื งหลงั อยา่ งไรก็ตามขา่ วปลอม มลี กั ษณะกวา้ ง ๆ 3 ขอ้ คอื 4 l รเู้ ทา่ ทนั ข่าว

ลกั ษณะกวา้ งๆ ของข่าวปลอม มบกีขเาดจรออ้ งะ้วตคมสตยนตูลว่ ้นุกาขินเาใททอหหร็จ่ีจงใรเ้ ะกผชอืไบดิมู้อ้อปดิกา่า่วรเนราา่าบมรจศือแณะจนชมา์มหรีขกา์อรอ้ขกอือเอ้กทกปเวท็จไิด่าปจจ็บตรจังริงรครเิงพกวเาะลยี มยงกจรระิงตนุ้ นอกจากขา่ วปลอมจะแบ่งประเภทตามระดบั ความรนุ แรงของเนื้อหาแลว้ พิจิตรา สคึ าโมโต้ เสนอว่า ขา่ วปลอมยังสามารถแบ่งตามเจตนาความต้ังใจของผู้ส่งสารหรือผูส้ ร้างขา่ วไดอ้ ีก 3 ประเภทคอื 3 Mis- information การแชร์ขา่ วปลอมโดยไมไ่ ด้ตัง้ ใจ ผูส้ ่งสารไม่มีเจตนา ปั่นป่วนหรือทำ� รา้ ยใคร แต่แชร์เพราะความไมร่ ู้ ประเภท Dis- information เปน็ ขา่ วปลอมทต่ี ง้ั ใจปน่ั ปว่ น ใหร้ า้ ย โจมตผี อู้ นื่ มเี จตนา ทีจ่ ะชกั น�ำความคดิ ของสังคม และปิดบังความจริง Mal -information ขา่ วปลอมทส่ี รา้ งความเกลยี ดชงั เปน็ ขา่ วทม่ี ขี อ้ เทจ็ จรงิ อยบู่ า้ งแตเ่ จตนาสรา้ งขน้ึ เพอื่ ดถู กู เหยยี ดหยาม สรา้ งความเกลยี ดชงั ใหผ้ ตู้ ก เปน็ ขา่ ว ขา่ วประเภทนส้ี ง่ ผลกระทบรา้ ยแรงทส่ี ดุ เชน่ การลา่ แมม่ ดในโลกออนไลน์ การสอื่ สารทสี่ รา้ งความเกลียดชัง มีการแบ่งเขาแบง่ เรา News Literacy l 5

ข่าวปลอมอยู่ภายในระบบนเิ วศขนาดใหญ่ของข้อมลู ท่ผี ดิ พลาดและบิดเบอื น การท�ำใหผ้ ู้อา่ น เข้าใจผิด อาจเกดิ โดยตงั้ ใจหรอื ไม่ได้ตง้ั ใจกไ็ ด้ แตก่ ารบิดเบือนข้อมูลเปน็ ข้อมูลเท็จท่สี ร้างขึน้ โดยเจตนาและ แพร่กระจาย เพ่อื สร้างอทิ ธิพลตอ่ ความคิดเหน็ ของสาธารณชนหรือปดิ บัง ความจริง ในการจาํ แนกประเภทของข่าวปลอม The European Association for Viewers Interests (EAVI) ซงึ่ เปน็ องคก์ รทไี่ มแ่ สวงหาผลกาํ ไรทสี่ นบั สนนุ การรเู้ ทา่ ทนั สอ่ื ไดแ้ บง่ ประเภท ข่าวปลอมและขา่ วทีส่ ร้างความเข้าใจทผ่ี ดิ ดงั นี้ 1ข่าวพาดหัว ย่วั ใหค้ ลิก หรอื คลกิ เบท 2โฆษณาชวนเชอื่ (Propaganda) เปน็ การนำ� เสนอ (Clickbait) ขา่ วทใ่ี ชค้ ำ� หรอื รปู ภาพพาดหวั ขอ้ มลู ขา่ วสารทมี่ งุ่ ชกั จงู ทศั นคตขิ องผรู้ บั สารตอ่ ทท่ี �ำให้ดูชวนสงสยั ใคร่รู้ หรือดงึ ดดู ใจให้ อดุ มการณห์ รอื มมุ มองบางอยา่ งโดยการนำ� เสนอ ผใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ทวั่ ไปคลกิ เขา้ ไปอา่ น การใหเ้ หตผุ ลเพยี งขา้ งเดยี ว การโฆษณาชวนเชอื่ ผสู้ รา้ งขา่ วอาศยั ประโยชนจ์ ากความสงสยั มกั ทำ� ซำ้� และกระจายในสอ่ื หลายชนดิ เพอื่ หวงั ผล โดยใหข้ อ้ มลู เลก็ ๆ นอ้ ย ๆ พอชวนใหผ้ อู้ า่ น ใหผ้ ู้รับสารเชอื่ และคล้อยตาม สงสัย แต่ไม่พอจะขจัดความสงสัยนั้น อดุ มการณท์ ผ่ี สู้ ง่ สารตอ้ งการสอ่ื จนต้องคลิกเข้าไปดูเนื้อหาน้ัน ๆ ท้ังที่ เนื้อข่าวอาจไม่ค�ำนึงถึงคุณภาพหรือ 3ขา่ วแฝงการโฆษณา (Sponsored content, ความถูกต้องของข้อมูล แต่การพาดหัว Native Advertising) รปู แบบโฆษณาทใ่ี ชร้ ปู แบบ ทำ� ใหค้ นหลงกลคลกิ เขา้ ไปเพอ่ื เรยี กยอดววิ เนอื้ หาแนบเนียนกับเนอื้ หาปกตใิ นเวบ็ ไซตน์ นั้ ๆ ในเว็บไซต์น่ันเอง หรือแนบเนียนไปกับสิ่งแวดล้อมของแพลตฟอร์ม ของสื่อน้ัน ๆ ทเ่ี ป็นอยู่ พร้อมทำ� หนา้ ท่ใี หเ้ นอื้ หา 4 ขา่ วลอ้ เลยี นและเสยี ดสี (Satire and ทค่ี นตอ้ งการรับรู้ หรือรับชม โดยไม่ทราบว่าเป็น Hoax) ขา่ วท่ีดดั แปลงขอ้ มูลเพ่ือมุง่ สรา้ ง โฆษณาจนกวา่ จะไดอ้ า่ น/ดจู บ ขา่ วแฝงการโฆษณาน้ี อารมณข์ นั ใหก้ ับผอู้ ่าน ใชเ้ นื้อหาทต่ี ลก จะทำ� การแฝง (Tie-in) เร่อื งราวของแบรนดแ์ ละ ขบขันเพ่ือแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ สนิ คา้ ไมม่ ากเกนิ ไป ทำ� ใหค้ นอา่ นหรอื คนเสพสอ่ื นน้ั เหตุการณ์ข่าวในโลกแห่งความเป็นจริง รสู้ ึกว่าไมไ่ ด้อา่ นโฆษณาอยู่ เน้อื หาคอนเทนต์นน้ั ผา่ นการลอ้ เลียนหรือเสยี ดสี อาจจะเป็นทงั้ การผลติ โดยผูล้ งโฆษณา หรอื เปน็ การรว่ มกนั ผลติ ระหวา่ งผโู้ ฆษณาและเจา้ ของชอ่ งทาง 5ข่าวทผี่ ดิ พลาด (Error) บางครัง้ แม้แต่ขา่ วทเ่ี ผยแพรจ่ ากสาํ นกั ข่าว ออนไลน์ท่ีเชือ่ ถือได้ กอ็ าจมคี วามผดิ พลาดได้เชน่ กัน เชน่ การเขียน ข้อความท่ผี ดิ ชอ่ื บคุ คลหรอื รปู ภาพผิดจากเน้อื ข่าวจรงิ ๆ ซงึ่ ทาํ ใหผ้ ู้รบั สารเข้าใจไปในทศิ ทางอื่น หรือไม่เข้าใจใน ขา่ วน้นั 6 l รเู้ ทา่ ทันขา่ ว

7ข่าวเอนเอยี งเลือกข้าง (Partisan) เป็นข่าว ทฤษฎสี มคบคดิ (Conspiracy theory) บิดเบือนข่าวสาร มักจะเลือกข้างโดยน�ำเสนอ เป็นเร่ืองเล่าหรือบทความท่ีสร้างข้ึนมาจาก ความคิดของคน หรือกลุ่มคนท่ีนําเหตุการณ์ 6 ข่าววิพากษ์วิจารณ์ในทางลบต่อฝ่ายที่ตนเอง ต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้นมาปะติดปะต่อเข้าด้วยกัน ไมช่ อบ ในขณะทีฝ่ ่ายท่ตี นเองสนับสนุน จะเสนอ ทฤษฎีสมคบคิดอธิบายเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้น ข่าวชนื่ ชมเกนิ จรงิ โดยเฉพาะด้านการเมอื ง โดยอาศยั ข้อมลู ทีไ่ ม่มีความเชอ่ื มโยงกนั เชน่ เคร่ืองบินพาณิชย์ที่หายไปจากจอเรดาร์อย่าง ไร้ร่องรอยเกิดจากมนุษย์ต่างดาวลักพาตัวไป ทฤษฎีสมคบคิดยังอาจมีวัตถุประสงค์ซ่อนเร้น อนื่ ๆ เพือ่ ให้ประโยชน์ ให้โทษต่อบุคคลหรือ 8วทิ ยาศาสตรล์ วงโลก (Pseudoscience) กลมุ่ บคุ คลหนง่ึ ใด เช่น เครื่องบินที่ คอื ขอ้ เขียนที่อ้างวา่ เป็นทัง้ วทิ ยาศาสตร์ หายไปนนั้ โดน CIA ยดึ ไวเ้ พราะตอ้ งการ และขอ้ เทจ็ จรงิ แตจ่ รงิ ๆ แลว้ ขดั แยง้ หรอื ของสำ� คญั ทีอ่ ยใู่ นเคร่อื งบิน เขา้ กนั ไมไ่ ดก้ บั กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ หรอื ไมม่ หี ลกั ฐานหรอื ความเปน็ ไปไดใ้ ด ๆ มาสนบั สนุน ไมส่ ามารถทำ� การตรวจสอบ หรอื ขาดฐานความเป็นวทิ ยาศาสตร์ ใน 9ข่าวท่ีให้ข้อมูลผิด ๆ (Misinformation) แวดวงข่าว วทิ ยาศาสตร์ลวงโลกจะมาใน คอื ขา่ วทไ่ี มไ่ ดต้ รวจสอบใหแ้ นช่ ดั เสยี กอ่ น ขอ้ มลู รูปแบบของบทความทางการแพทย์หรือ อาจมีท้งั จริงและเทจ็ ผสมกนั ผสู้ ง่ สารต้ังใจจะ บทความสขุ ภาพทแี่ ฝงโฆษณายารกั ษาหรอื สง่ ขา่ วออกไป แตอ่ าจจะไมไ่ ดต้ ระหนกั วา่ ขา่ วนน้ั อปุ กรณเ์ พอ่ื สขุ ภาพ โดยแอบอา้ งวา่ มขี ้อมูลทผ่ี ิดพลาดอยู่ เช่น ขา่ วลอื ไดผ้ า่ นการวจิ ยั ทางวทิ ยาศาสตรแ์ ลว้ มกี ารสรา้ งภาพผเู้ ชย่ี วชาญขน้ึ มา เพอื่ ใหด้ ูนา่ เชอ่ื ถอื 10ขา่ วหลอกลวง (Bogus) คอื ขา่ วปลอมทเ่ี จตนาในการสรา้ ง ขนึ้ มาและจงใจใหแ้ พรก่ ระจาย มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ หลอกลวง อาจมเี นอื้ เรอื่ ง ภาพ หรอื ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทเ่ี ปน็ เทจ็ มาประกอบกนั อาจรวมถึงการแอบอา้ งเป็นแหล่งขา่ วหรอื บคุ คลท่อี ยใู่ นเหตุการณท์ ุกวธิ ีการท่ีจะทําให้ ข่าวน้ันดูเปน็ ข่าวปลอมทสี่ มบูรณ์มากข้นึ อยา่ งไรกต็ าม ประเภทของขา่ วปลอมอาจไม่ได้แบง่ แยกกนั เปน็ อิสระทชี่ ัดเจน แต่คาบ เกยี่ วกันได้ เช่น ขา่ วเอนเอยี งเลอื กข้างอาจจัดเปน็ โฆษณาชวนเช่ือกไ็ ด้ หรอื โฆษณา ชวนเชื่ออาจอยูใ่ นกลมุ่ ของขา่ วแฝงโฆษณาก็ได้ ข่าวหลอกลวงอาจจะใชค้ ลกิ เบทเพื่อ ดึงดูดความสนใจคนอ่านไดเ้ ชน่ กนั News Literacy l 7

รูปแบบเนอื้ หาของขา่ วปลอม ส�ำหรบั ลักษณะเน้อื หาของข่าวปลอมนั้น First Draft News ซ่ึงเปน็ องค์กรที่ต้งั ข้นึ มาเพ่อื ตอ่ สู้กับ ข่าวปลอม รว่ มกบั โซเชียลมีเดีย และ Publisher อีกกวา่ 30 ราย รวมถงึ เฟซบุ๊ก, ทวิตเตอร์, New York Times หรือ BuzzFeed ไดจ้ ัดรปู แบบเนื้อหาของขา่ วปลอมไว้ 7 แบบโดยเรยี งตาม ระดับความรุนแรงจากนอ้ ยไปหามาก ดงั น้ี เน้อื หาลอ้ เลยี นเสียดสี (Satire or Parody) ขา่ วลอ้ เลยี น ไมไ่ ดม้ เี จตนาในการสรา้ งความเขา้ ใจผดิ หรอื ตอ้ งการใหผ้ อู้ า่ นหลงเชอื่ แตต่ อ้ งการ ล้อเลียน หรอื ท�ำใหข้ บขัน มกั เป็นการล้อเลยี นเหตกุ ารณบ์ ้านเมืองในปัจจบุ นั หรอื ล้อเลียน คนมชี อื่ เสยี ง โดยมกั มกี ารจดั หนา้ เลยี นแบบหรอื รปู แบบใหเ้ หมอื นขา่ วจรงิ จนบางครง้ั ผอู้ า่ น หลงเชอื่ วา่ เปน็ ขา่ วจรงิ ได้ เชน่ บทความใน “ผจู้ ดั กวน” หรอื ในเวบ็ ไซต์ “ขา่ วปด” จรงิ ๆ แลว้ ขา่ วลอ้ เลยี นไมใ่ ชข่ า่ วปลอม แตก่ ารทผ่ี อู้ า่ นอาจขาดความรคู้ วามเขา้ ใจ จงึ ทำ� ใหข้ า่ วลอ้ เลยี น มีคณุ ลักษณะถกู จัดว่าเป็นขา่ วปลอมได้เชน่ กัน ข่าวประเภทน้มี รี ะดบั ความรนุ แรงน้อยทส่ี ุด เนือ้ หาไมต่ รงพาดหัว (False connection) เรยี กอกี อยา่ งวา่ พาดหวั ยว่ั ใหค้ ลกิ (Clickbait) คอื ขา่ วมกี ารเชอ่ื มโยงเนอื้ หาทผ่ี ดิ พาดหวั ขา่ ว รปู ภาพ หรอื คำ� บรรยาย ไมไ่ ดเ้ ชอื่ มโยงกบั เนอื้ หาขา่ วจรงิ ๆ เปน็ การโยงสองสง่ิ ไมไ่ ดเ้ กย่ี วขอ้ ง กนั เลยแตถ่ ูกน�ำมากล่าวถงึ ในขา่ วเดียวกันหรอื ท�ำใหม้ าเชื่อมโยงกนั โดยพาดหวั มักจะเป็น การเร้าอารมณด์ งึ ดดู ใหค้ นเขา้ มาอ่าน เนือ่ งจากปจั จุบนั ผอู้ า่ นมกั จะมชี ่วงความสนใจที่สนั้ ลง จงึ ทำ� ให้ส�ำนกั ข่าวออนไลน์ เนน้ พาดหัวข่าวใหห้ วือหวา หรือใชร้ ูปท่ไี ม่ไดเ้ กี่ยวขอ้ งโดยตรง กบั ขา่ วเพ่อื ดงึ ความสนใจให้คนกดเข้ามาอา่ น 8 l รู้เท่าทนั ขา่ ว

เน้อื หาช้นี �ำ (Misleading) เปน็ ขา่ วทมี่ เี นอื้ หาขอ้ เทจ็ จรงิ แตจ่ งใจบดิ เบอื นเรอื่ งราวหรอื ใสร่ า้ ยผอู้ น่ื ใหเ้ ขา้ ใจผดิ โดยการชน้ี ำ� ไปในทางใดทางหนง่ึ เปน็ การเขยี นขา่ วโดยใช้อคตขิ องผู้เขียน เช่น ข่าวรัฐบาลปลดลอ็ ก กญั ชาเสรที น่ี กั ขา่ วเจตนาชนี้ ำ� ใหค้ นอา่ นเขา้ ใจผดิ วา่ รฐั บาลจะทำ� ใหก้ ารเสพกญั ชาถกู กฎหมาย ท้งั ที่ในความจริงเปน็ การเปดิ โอกาสให้สามารถนำ� กญั ชาไปใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ เนื้อหาทผ่ี ิดบรบิ ท (False Context) เป็นข่าวท่ีมีเนื้อหาข้อมูลจริงแต่น�ำบริบทอื่นที่ไม่เกี่ยวกับเน้ือหาน้ันมาเชื่อมโยงท�ำให้คน ตีความผิด เชน่ เนอ้ื หาของขา่ วเป็นเรอื่ งจริงแต่น�ำภาพประกอบจากแหลง่ อน่ื มาประกอบ เชน่ ขา่ วกู้ภัยจับงเู หลอื มเขา้ บา้ น เน้ือข่าวเป็นเรอื่ งจรงิ แต่นำ� ภาพประกอบงอู นาคอนดา จากภาพยนตรม์ าประกอบ ซงึ่ ท�ำให้คนเข้าใจผิดวา่ งเู หลอื มที่ถกู จบั นน้ั ตัวใหญม่ าก เน้ือหาแอบอ้าง (Impostor) คอื ขา่ วท่มี กี ารแอบอา้ งบุคคล แหล่งขอ้ มลู หรอื แหล่งขา่ วท่ีไมจ่ ริง หรืออ้างตวั เป็นแหล่งข่าว ทนี่ า่ เชอื่ ถอื ขา่ วปลอมประเภทนมี้ กั เปน็ ขา่ วออนไลนท์ ส่ี รา้ งรปู แบบใหเ้ หมอื นสำ� นกั ขา่ วจรงิ ๆ หรือแอบอา้ งช่อื สำ� นักขา่ วท่ีมชี ื่อเสียง ซ่งึ ทำ� ความสบั สนใหผ้ ูอ้ า่ นอยา่ งมาก เชน่ แอบอา้ ง เป็นสำ� นักข่าว CNN โดยใช้รปู แบบและชือ่ โดเมนท่ีใกลเ้ คยี งกบั ของเวบ็ ไซต์ของ CNN เนอ้ื หาหลอกลวง (Manipulated) คอื ข่าวตดั ต่อ หรอื ข่าวท่ีมีเนื้อหาข้อมลู หรอื ภาพขา่ วจรงิ ๆ แตถ่ ูกดดั แปลงดว้ ยการปลอม หรอื ตดั ตอ่ เพอ่ื สรา้ งเรอ่ื งหลอกลวง เชน่ ภาพของ อดตี ประธานาธบิ ดสี หรฐั George W. Bush อา่ นนทิ านกบั เดก็ ในโรงเรยี นแหง่ หนง่ึ แตเ่ ขากลบั ถอื หนงั สอื กลบั หวั แตค่ วามจรงิ แลว้ มนั เปน็ ภาพตดั ต่อทส่ี ร้างขึ้นมา และในภาพจรงิ นนั้ เขาถือหนงั สือถกู ตอ้ ง เนอ้ื หากขุ ึ้นมา (Fabricated ) คือข่าวที่กุเร่ืองข้ึนมาทั้งหมด เป็นข้อมูลเท็จ 100% มีเจตนาท่ีจะหลอกลวงหรือใส่ร้าย ข่าวกถุ กู สรา้ งขน้ึ มาโดยผู้ไม่หวังดี โดยอาจจะทำ� เองหรือจ่ายเงินจ้างใหผ้ ู้อื่นทำ� เพ่อื หวงั ผล ให้เกดิ ความเขา้ ใจผดิ ในวงกวา้ ง เชน่ การน�ำเสนอขา่ วว่า ผูม้ ีช่อื เสยี งบางคนได้เสยี ชีวิตแลว้ ทง้ั ท่เี จ้าตวั ยังมชี วี ติ อยู่ สว่ นใหญ่ขา่ วกุมักมเี นอ้ื หาเกี่ยวกับการเมอื ง เชน่ ข่าวรัฐมนตรีดมื่ กาแฟแก้วละหม่นื สองพันบาท ขา่ วประเภทน้มี ีระดบั ความรนุ แรงมากท่สี ดุ News Literacy l 9

ผู้สร้างขา่ วปลอมต้องการให้เกิดความขบขัน โดยการล้อเลยี นหรือเสยี ดสี ผูม้ ีอ�ำนาจ คนที่มีช่ือเสียง หรือเหตกุ ารณป์ จั จุบัน เนือ่ งจากเปน็ การง่าย กว่าท่ีท�ำให้ผู้อ่านสนใจท่ีตัวบุคคล แทนท่ีจะเป็นการเสนอความเห็นหรือ อภิปรายเร่ืองนโยบายท่ีซับซอ้ น เชน่ ข่าวล้อเลยี นในหนงั สอื พิมพผ์ ู้จดั กวน ผู้สร้างข่าวปลอมอาจมีอคติ หรือ ทส่ี �ำคัญข่าวปลอมสามารถสร้าง มีทัศนคติที่เอนเอียงเลือกข้าง จึง รายไดใ้ หค้ นทำ� ได้ ในการแขง่ ขนั ตอ้ งการชน้ี ำ� ผอู้ ่านใหค้ ลอ้ ยตามโดน ทางการเมอื งหรอื ทางธรุ กจิ อาจมี การบิดเบอื นขอ้ มลู เนอ้ื หาข่าวอาจ ผู้ว่าจ้างให้คนท�ำข่าวปลอมเพ่ือ จะเป็นการชื่นชมบุคคลหรือฝ่ายท่ี ใสร่ า้ ยฝา่ ยตรงขา้ มดว้ ยการบดิ เบอื น ตนเองชอบเกินจริง หรือใสร่ า้ ยฝา่ ย ขอ้ มลู และเผยแพรใ่ นโลกออนไลน์ ในโลกอนิ เทอรเ์ นต็ ขา่ วทมี่ คี นเขา้ ไป ตรงขา้ ม เชน่ การพาดหัวข่าวทีใ่ ส่ อา่ นมากจะทำ� รายไดจ้ ากโฆษณา ยง่ิ คนเขา้ ไปอา่ นขา่ วมากเทา่ ไหร่ กย็ ง่ิ “ความเหน็ สว่ นตวั ” ลงไปในลกั ษณะ เพม่ิ โอกาสทโ่ี ฆษณาในหนา้ น้ันจะถูกเห็น และทำ� ให้ผดู้ ูแลเวบ็ ไซตน์ ั้นๆ ช้ีน�ำผ้อู า่ น ถงึ แมเ้ น้อื หาของข่าวนั้น มรี ายได้ ผดู้ แู ลจงึ มกั ใชพ้ าดหวั ขา่ วในลกั ษณะคลกิ เบท ในบางกรณี ผสู้ รา้ ง จะมีความจรงิ อยู่บ้าง ขา่ วปลอมหลอกใหผ้ อู้ า่ นชมคลปิ ขา่ วปลอมเปน็ จำ� นวนหลกั หมน่ื แลว้ เวบ็ ไซต์ เหลา่ นไ้ี ดค้ วบคมุ บญั ชเี ฟซบกุ๊ ของผหู้ ลงเขา้ ไปเพอื่ ไปใชป้ ระโยชนท์ างการคา้ 10 l รู้เทา่ ทันขา่ ว พอกดดคู ลปิ กจ็ ะตอ้ งลงชอ่ื เขา้ ใชเ้ ฟซบกุ๊ พอกดอนญุ าตในเฟซบกุ๊ คนสรา้ ง เวบ็ ปลอมนน้ั ก็จะใชเ้ ฟซบุ๊กของเหย่ือเปน็ บอท (ห่นุ ยนต์) และน�ำไปเปน็ ใช้เป็นส่วนหน่ึงของกองทัพไลคข์ องเขา เพอื่ ขายไลคอ์ ีกตอ่ หนึ่ง

ท�ำไมคนถึงหลงเช่อื ข่าวปลอม มเี หตผุ ลมากมายทผ่ี อู้ ่านหลงเชื่อขา่ วปลอม ส่วนใหญม่ ักจะลมื ตง้ั ค�ำถามท่ีส�ำคัญ เม่ือก�ำลังอ่านข่าว อีกท้ังข่าวปลอมยังถูกสร้างได้แนบเนียนจนเราไม่ผิดสังเกต ผอู้ า่ นข่าวทีไ่ มร่ เู้ ท่าทันขา่ วปลอมมักหลงเชื่อด้วยสาเหตตุ อ่ ไปนี้ 1. ตกหลมุ พราง ผ้อู ่านมีแนวโน้มท่ีจะแชรข์ ่าวปลอมทตี่ รงกบั ความคิดความเชอ่ื ของตนเองอยูแ่ ลว้ คนสร้างข่าวปลอมต้ังใจแต่แรกท่ีจะหลอกผู้อ่านข่าว พวกเขาจึงสร้างข่าวปลอมที่เร้าอารมณ์ดึง ความสนใจกลมุ่ เปา้ หมายเพอ่ื ใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ รว่ มไปกบั การชน้ี ำ� ของผสู้ รา้ ง ผอู้ า่ นทม่ี ปี ระสบการณร์ ว่ ม พร้อมทจี่ ะเช่อื และแชร์ตอ่ โดยเฉพาะเม่ือเปน็ ขา่ วทีต่ รงข้ามกับขว้ั ตรงขา้ มของตน พวกเขารสู้ กึ ว่า ต้องมีปฏิกิริยาตอบกลับอย่างใดอย่างหนึ่งต่อประเด็นเน้ือหาที่ข่าวน�ำเสนอด้วยการกดชอบ/ไม่ชอบ สง่ ต่อ แชร์ หรอื แสดงความเหน็ ตอ่ ข่าวนนั้ ท�ำให้ข่าวปลอมไดร้ ับความสนใจมากขนึ้ 2. ไมส่ ามารถแยกแยะขา่ วบนหนา้ เวบ็ จากทีเ่ ม่อื กอ่ นข่าวสารได้การเผยแพรผ่ ่านสอ่ื ดง้ั เดมิ อย่าง หนงั สอื พิมพ์ วิทยุ หรือโทรทัศนซ์ ่งึ มกี ระบวนการการคดั กรองขา่ วอยแู่ ล้วและผู้รับสารมกั จะคนุ้ เคย กบั สอ่ื เหลา่ นเ้ี ปน็ อยา่ งดี จงึ พอจะแยกแยะไดว้ า่ ขา่ วใดเปน็ ขา่ วปลอมหรอื ไมใ่ สใ่ จมากนกั แตใ่ นปจั จบุ นั ท่ีผ้อู ่านข่าวสว่ นใหญ่รับข้อมลู ขา่ วสารผ่านส่อื ออนไลน์ ซงึ่ เป็นส่อื ทขี่ า่ วปลอมถกู ทำ� ให้กลมกลืนกับ ขา่ วจรงิ ไม่วา่ จะเป็นรูปแบบการจดั หน้า หรือการแอบอา้ งเปน็ แหลง่ ข่าว จงึ ท�ำให้ผู้อา่ นสบั สนและ ยากทจ่ี ะแยกแยะขา่ วปลอม 3. เป็นกลไกของความเช่อื เม่ือมเี พื่อนหรอื คนในครอบครัวส่งต่อข่าวมาให้อ่านผา่ นทางสอื่ สงั คม ออนไลน์ ผอู้ า่ นมกั จะไมต่ ระหนกั หรอื ใชว้ จิ ารณญาณในการตรวจสอบขา่ วนน้ั ๆ กอ่ น เพราะคดิ วา่ ผสู้ ง่ คงกลนั่ กรองมาเรยี บรอ้ ยแลว้ ในกรณขี า่ วทเี่ ขยี นโดยคอลมั นสิ ตจ์ ากสำ� นกั ขา่ ว บลอ็ กเกอร์ หรอื ผดู้ แู ล แฟนเพจรายงานขา่ วในเฟซบกุ๊ กเ็ ชน่ เดียวกัน หากเปน็ บคุ คลทผี่ อู้ า่ นขา่ วชนื่ ชมและติดตาม พวกเขา กจ็ ะพร้อมทจ่ี ะเชือ่ ข่าวท่นี ำ� เสนอมาไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย หากขา่ วน้ันตรงกนั กบั ความคดิ ความเชอื่ ของ พวกเขา เช่น ข่าวทน่ี �ำเสนอผ่านแฟนเพจ Drama Addict หรอื CSI LA 4. ขา่ วปลอมเลน่ กบั ความรสู้ กึ ผสู้ รา้ งขา่ วปลอมฉลาดทจี่ ะเลน่ กบั ความรสู้ กึ ของผอู้ า่ น ดว้ ยการเนน้ พาดหวั ทห่ี วอื หวา เนือ้ ขา่ วที่เรา้ อารมณ์ เชน่ ความไมย่ ุตธิ รรมในสังคม การเอาเปรยี บทางชนชน้ั ขา่ วลบั ลวงพราง พวกเขารวู้ า่ คนอา่ นจะถกู กระตนุ้ อารมณใ์ หม้ ปี ฏกิ ริ ยิ าตอ่ ขา่ วนนั้ ๆ เชน่ การกดเขา้ ไป อา่ น กดไลค์ แสดงความเหน็ และช่วยแชรข์ า่ วออกไป 5. ผอู้ า่ นมชี ว่ งความสนใจสนั้ อกี หนง่ึ กลวธิ ที ใ่ี ชใ้ นการเผยแพรข่ า่ วปลอมหรอื ขา่ วทมี่ คี ณุ ภาพตำ�่ คอื การหาผลประโยชนจ์ ากพฤตกิ รรม ‘นกั อา่ นเวลานอ้ ย’ เนอ่ื งจากขอ้ มลู ขา่ วสารทเ่ี ราไดร้ บั ในแตล่ ะวนั มจี ำ� นวนมหาศาล ผคู้ นจงึ มกั ใชเ้ วลาอา่ นเพยี งพาดหวั ขา่ วหรอื ขอ้ ความในยอ่ หนา้ แรกกอ่ นแชรเ์ รอื่ งราว น้ันตอ่ ผู้ประสงคร์ า้ ยจงึ ฉวยโอกาสน้ดี ว้ ยการเขียนพาดหวั ขา่ วและย่อหน้าแรกทต่ี รงไปตรงมาและ ประกอบด้วยข้อเท็จจริง โดยเร่ืองราวส่วนท่เี หลอื เป็นขา่ วปลอมและขอ้ มลู ทีไ่ ม่เปน็ ความจรงิ News Literacy l 11

ผลสาํ รวจของ EDTA ในปี 2561 ผลวิจยั จากโครงการ คอนเนคเต็ด ไลฟ์ ผู้ใช้งานคนไทยนิยมใช้อินเทอร์เน็ตโดยมี จํานวนช่ัวโมงการใช้งานโดยเฉลี่ยสูงถึง คนไทย 40% กลับเช่ือถือข้อมูลท่ีได้รับจากช่องทาง 10 ช.ม. 5 นาที ต่อวัน โซเชยี ลมเี ดีย ซงึ่ เปน็ ตัวเลขท่ีสงู สุดใน และมพี ฤตกิ รรมการเสพขา่ ว ภมู ภิ าค กลมุ่ ผอู้ ่านทีค่ ่อนข้างสงู อายุ จากโลกสอื่ ออนไลนม์ ากขนึ้ คือกลุม่ คนทแ่ี ชรข์ ่าวปลอมมากทส่ี ุด โดยเฉพาะในยุคที่มักพบ ข่าวปลอมแพร่ระบาดบน โลกโซเชยี ล บริษทั วิจัย YouGov ท่ีไดท้ �ำการวจิ ัยพฤตกิ รรม ของผูใ้ ช้งาน Facebook ในสหรฐั ผู้ใชเ้ ฟซบ๊กุ ทอ่ี ายุ 65 ปขี ึ้นไป แชรบ์ ทความขา่ วปลอมมากกวา่ กลมุ่ คนวยั 45-65 ปี ไมต่ ำ�่ กวา่ 2 เทา่ และมากกวา่ กล่มุ วยั 18-29 ปี เกอื บ 7 เท่า เน่ืองจากคนกลุ่มนเ้ี พง่ิ เข้าสู่โลกอินเทอร์เนต็ ตอนอายมุ ากแลว้ ขาดทกั ษะเรอ่ื งความเทา่ ทนั สอ่ื และเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ไมท่ นั คดิ วา่ ภาพ เสียงและวดิ โี อสมัยน้ีตัดต่อให้ดูเหมอื นจรงิ ได้ หรือไมท่ ันยคุ สมยั โดย เชอื่ โดยสนทิ วา่ ขา่ วทกุ ขา่ วทน่ี ำ� เสนอไดผ้ ่านการกล่ันกรองมาแลว้ ไมท่ นั คิดวา่ จะมีผ้ไู ม่หวงั ดีสรา้ งขา่ วปลอมมาเพื่อหลอกคนอนื่ ผลกระทบของข่าวปลอม • ข่าวปลอมไม่ใชป่ รากฏการณ์ใหมแ่ ตม่ มี านานแล้ว เช่น ทเี่ ราคุน้ เคย กนั ดคี อื ขา่ วปลอมทปี่ ลอ่ ยออกมาทกุ ปใี นวนั โกหกแหง่ ชาติ (April Fool’s Day) ซงึ่ มจี ดุ ประสงคจ์ ะสรา้ งความขบขนั ไมท่ ำ� รา้ ยใคร และผู้อ่านข่าว สามารถแยกแยะไดเ้ กือบจะทนั ทีว่าเป็นขา่ วตลกขบขนั 12 l รูเ้ ท่าทนั ขา่ ว

• ขา่ วปลอมจะไมเ่ ปน็ อนั ตรายมากตราบทผ่ี สู้ รา้ งขา่ วไมไ่ ดม้ เี จตนารา้ ย แตข่ า่ วปลอมเริม่ เปน็ หัวข้อท่พี ูดถึงอยา่ งมากในระยะ 2-3 ปที ่ผี ่านมา เน่ืองจากข่าวปลอมได้ส่งผลกระทบต่อผู้คนและสังคมมากขึ้น และ ผสู้ รา้ งขา่ วมกั มเี จตนาแอบแฝง ปจั จบุ นั เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั และอนิ เทอรเ์ นต็ ท�ำให้การสรา้ งขา่ วปลอมทำ� ไดง้ า่ ย เผยแพร่ไดร้ วดเรว็ และมีผรู้ ับสาร อยตู่ ลอดเวลา • จากการศึกษาข้อความในทวิตเตอร์ 126,000 ข้อความ ทท่ี วีตกวา่ 4.5 ลา้ นครง้ั โดยผใู้ ชง้ าน 3.5 ลา้ นคน ตงั้ แตป่ ี 2006-2017 โดยนกั วจิ ยั MIT พบวา่ ขา่ วปลอมสามารถแพร่กระจายได้รวดเร็วกว่าขา่ วจรงิ ถงึ 100 เท่า โดยข่าวปลอมมีคนเข้าถงึ ประมาณ 1,000-100,000 คน ในขณะท่ีขา่ วจรงิ มีคนเข้าถงึ เพยี ง 1,000 คนเท่าน้ัน และข่าวปลอม มักถูกรที วีตมากกว่าข่าวจรงิ ถึง 70% • อกี ทง้ั รปู ลกั ษณข์ องขา่ วปลอมยงั ยากทจี่ ะแยกแยะออกจากขา่ วจรงิ ตา่ งจากสมยั กอ่ นนมี้ าก จากขอ้ มลู การศกึ ษาของ YouGov ซ่ึงไดร้ บั การสนบั สนุนโดย เฟซบกุ๊ ระบุวา่ ในประเทศไทย มเี พยี งจำ� นวน รอ้ ยละ 42 ของผตู้ อบแบบสอบถามบอกว่าพวกเขาม่ันใจวา่ ตัวเองสามารถระบขุ ่าวปลอมได้ • ตลอดปี 2559 ศนู ยช์ วั รก์ อ่ นแชร์ในประเทศไทยสามารถเกบ็ ขอ้ มลู ไดว้ า่ มขี า่ วปลอมรวมกว่า 300 หัวขอ้ และพบวา่ แต่ละหัวขอ้ มกี ารไลคแ์ ละแชร์บนเฟซบกุ๊ รวมกนั อยใู่ นหลกั แสน การที่ข่าวปลอม แพร่กระจายได้รวดเร็วและยากต่อการแยกแยะก่อให้เกิดผลกระทบต่อทั้งบุคคลและสังคมเป็น อย่างมาก กลา่ วคอื ... News Literacy l 13

1. ผลกระทบตอ่ ความคดิ และความเชื่อ เปน็ 2. ผลกระทบด้านการเงินและสขุ ภาพ ขา่ วปลอม ผลกระทบทช่ี ัดเจนและสำ� คญั ท่ีสดุ เพราะวา่ ขอ้ มูล ท่ีถูกสร้างขึ้นโดยมีรายได้เป็นแรงจูงใจจะชักจูงให้ ขา่ วสารมอี ทิ ธพิ ลตอ่ โลกทศั นต์ อ่ ผอู้ า่ น และผรู้ บั สาร ผู้รับสารจ่ายเงินเพื่อสินค้าและบริการ และหาก ตดั สนิ ใจบนพน้ื ฐานของข้อมูลที่ได้รับ พวกเขาจะมี สินค้าและบริการนั้นไม่ได้คุณภาพก็อาจส่งผลเสีย ทัศนคติต่อผู้คนและต่อเหตุการณ์อย่างไรก็ข้ึนกับ ต่อร่างกายและสุขภาพของผู้หลงเช่ือด้วย เช่น วา่ เขาไดร้ บั ขอ้ มลู แบบไหน ถา้ ขอ้ มลู ทพี่ วกเขาไดร้ บั ขา่ วปลอมที่ชักชวนใหค้ นอ่านมาลงทุน เพ่ือจะได้ เปน็ ขา่ วปลอม ขา่ วบิดเบอื น หรือข่าวทก่ี ขุ ึน้ มา รบั ผลตอบแทนทฟี่ งั ดเู กนิ จรงิ หรอื โฆษณาผลติ ภณั ฑ์ พวกเขาก็ไม่สามารถใช้การวิจารณญาณได้ถูกต้อง ลดความอว้ นท่นี ำ� เสนอในรปู แบบของวทิ ยาศาสตร์ เนอ่ื งจากขาดขอ้ เทจ็ จรงิ และสง่ ผลตอ่ การตดั สนิ ใจ ลวงโลกใหค้ นคลอ้ ยตาม กอ็ าจทำ� ใหผ้ หู้ ลงเชอ่ื ไมเ่ พยี ง ของพวกเขา ไมว่ า่ จะเป็นการตัดสนิ ใจระดับชาติ เสียเงินแต่ยงั ส่งผลเสียตอ่ รา่ งกายอกี ด้วย เชน่ การเลือกตง้ั หรอื ระดับส่วนตวั เช่น การเลือก 4. ผลกระทบดา้ นทศั นคติ ข่าวปลอมท่เี อนเอียง ใช้ยาสมุนไพรรักษามะเรง็ เลอื กขา้ ง หรือข่าวชีน้ ำ� อาจสร้างอคติและทศั นคติ 3. ผลกระทบดา้ นอารมณค์ วามรสู้ กึ ขา่ วคลกิ เบท เชิงลบแก่บุคคลหรือกลมุ่ คนทีถ่ ูกใส่ร้ายอยา่ งไม่เปน็ อาจสรา้ งความหงดุ หงดิ ใหผ้ อู้ า่ น เมอ่ื พบวา่ เนอื้ ขา่ ว ธรรม เชน่ โฆษณาชวนเชอ่ื ทางการเมอื ง ขา่ วตอ่ ตา้ น ไมไ่ ดม้ อี ะไรนา่ สนใจอยา่ งทร่ี ปู ภาพหรอื พาดหวั ดงึ ดดู รัฐบาล หรือข่าวที่สร้างความเกลียดชังต่อคนที่มี ใหเ้ ขา้ มาอา่ น ขา่ วปลอมทสี่ รา้ งขน้ึ มาดว้ ยความคกึ อัตลกั ษณท์ างสงั คมที่แตกต่างจากคนส่วนใหญ่ เชน่ คะนองก็อาจท�ำให้ผู้อ่านเกิดความกลัวและวิตก กลุ่มเกย์ ชาวมุสลิม หรือคนต่างดา้ ว กังวล เช่น ขา่ ว พยากรณอ์ ากาศ ภยั พิบัติทไ่ี ม่มีมูล 6. ผลกระทบต่อสื่อวิชาชีพ ข่าวปลอมสร้าง ความจริง หรือข่าวแกล้งกันเลน่ ว่ามีฆาตกรโรคจิต ความเสียหายต่อชื่อเสียงเว็บไซต์ที่ถูกเลียนแบบ ก�ำลงั ออกอาละวาดในละแวกบา้ น นับต้งั แตช่ ว่ งปี 2016 หนงั สือพิมพ์ไทยรัฐ ขา่ วสด 5. ผลกระทบด้านความรุนแรง ข่าวลือทเี่ ร้า และมตชิ น ต่างเข้าแจ้งความกบั เว็บไซตเ์ ลียนแบบ อารมณ์และโจมตีใส่ร้ายบุคคลอาจก่อให้เกิด เพอื่ หลอกลวงผูอ้ า่ น โดยปัญหาหน่ึงในการรบั มอื ความรนุ แรง ผทู้ ถ่ี กู กลา่ วหาอาจจะถกู กลนั่ แกลง้ กับเว็บปลอมคือ องค์กรสื่อมักจะรู้ตัวก็ต่อเม่ือ ทางออนไลนเ์ พราะความเขา้ ใจผิด หรอื อาจถูก เว็บปลอมเหล่าน้ีได้ถูกส่งต่อและสร้างความสับสน ขม่ ขู่ คุกคาม และท�ำร้ายในชวี ิตจรงิ ได้ เชน่ ใน กับผอู้ ่านเรยี บรอ้ ยแลว้ อนิ เดยี เมอื่ ปี 2018 มรี ายงานผเู้ สยี ชวี ติ อยา่ งนอ้ ย 7. ผลกระทบด้านสังคม เม่อื ขา่ วปลอมทเ่ี ก่ยี วข้องกับประเดน็ 29 คน จากการถูกฝูงชนรมุ ท�ำร้าย ผูเ้ สยี ชีวติ สำ� คัญในสงั คมแพรร่ ะบาด คนในสังคมจะขาด “ขอ้ เทจ็ จริง” ท่ี ส่วนใหญ่มกั ถูกลือว่าเป็นพวกลกั พาตัวเด็ก โดย ตอ้ งใชใ้ นการวเิ คราะห์ อภปิ รายและตดั สนิ ใจในเรอ่ื งนน้ั ๆ สง่ ผล ผทู้ ำ� รา้ ยไดร้ บั ขา่ วปลอมทสี่ ง่ ตอ่ กนั ทางอนิ เทอรเ์ นต็ ทำ� ใหเ้ กดิ ความสบั สน การแบง่ ฝา่ ยและสรา้ งความขดั แยง้ ในสงั คม และเข้าใจผิด เพราะแตล่ ะฝา่ ยรบั รชู้ ุดของขอ้ มลู ท่ีต่างกนั ข่าวปลอมยงั สง่ ผล ตอ่ การตดั สินเลอื กตง้ั ของผูม้ ีสิทธ์ิโหวต เมอ่ื ขอ้ มลู ผดิ ๆ ไดถ้ ูก ลกั ษณะปญั หาของการสรา้ งและแพรก่ ระจายขา่ วปลอม เผยแพร่ ดังเช่นในสหรัฐอเมริกา ข่าวปลอมแพร่ออกมาว่า ทางอินเทอร์เน็ตนั้นยากท่ีจะระบุแหล่งที่มาของ สนั ตะปาปาสนบั สนุนผู้สมัครประธานาธบิ ดคี นหนึ่ง ข่าวปลอม การสร้างขา่ ว และควบคุมการแพร่กระจายทีเ่ กิดได้ อกี แหลง่ กเ็ สนอวา่ ผทู้ า้ ชงิ อกี คนมปี ญั หาดา้ นสขุ ภาพอยา่ งรา้ ยแรง ในเวลารวดเรว็ และวงกวา้ ง ผลกระทบของขา่ วปลอม ทำ� ใหค้ นอเมริกนั สบั สนในขอ้ เท็จจรงิ ขา่ วปลอมท่ปี ล่อยออกมา ยงั ทำ� ใหเ้ กดิ ความขดั แยง้ และสบั สนในสงั คม การจดั การ เช่นนี้อาจเปล่ยี นใจผ้มู ีสิทธลิ์ งคะแนนเสยี งในทศิ ทางตา่ ง ๆ ได้ กบั ขอ้ มลู ทไ่ี มเ่ ปน็ ความจรงิ และขา่ วปลอมเปน็ ปญั หา ข่าวโฆษณาชวนเช่ือของรัฐบาลเองก็มีผลกระทบต่อความคิด ที่ซับซ้อนและจ�ำเป็นต้องบูรณาการความร่วมมือกัน ของสังคมเชน่ กนั เช่น ข่าวช้นี �ำชกั ชวนให้ลงประชามติรับร่าง ระหวา่ ง ภาคประชาสังคมและรฐั บาล นกั วิชาการ รฐั ธรรมนญู ไปกอ่ นหากตอ้ งการใหป้ ระเทศมกี ารเลอื กตง้ั โดยเรว็ รวมถงึ องคก์ รดา้ นเทคโนโลยีและสอื่ มวลชน และท�ำให้ประชาชนลดความสนใจที่จะอ่านเน้ือหาของร่าง รฐั ธรรมนูญและสนใจการเลือกตง้ั มากกวา่ 14 l รู้เทา่ ทนั ขา่ ว

ความร่วมมือจากภาคสว่ นต่างๆ ในการจัดการขา่ วปลอม ทางภาครัฐก็ได้ตระหนักถึงผลรา้ ยของข่าวปลอม จึงไดอ้ อก มาตรการบงั คบั ทางกฎหมายเพ่อื ลงโทษผกู้ ระทำ� ผิด และได้ ให้ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายเพ่ือท่ีจะเตือนไม่ให้ผู้ใช้ งานอินเทอรเ์ น็ตตกเป็นเหยื่อของผไู้ ม่หวงั ดี เนอื่ งจากการนำ� ขอ้ มลู ปลอม ขา่ วปลอม ไมว่ า่ จะเปน็ การปลอมทงั้ หมด หรือ แค่บางส่วน หรอื ขอ้ มลู อันเปน็ เทจ็ เขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์ หรอื แม้แต่การแชร์ หรือสง่ ต่อข้อมลู อนั เปน็ เทจ็ เหล่านน้ั ล้วน มคี วามผดิ ตาม พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ ซงึ่ เปน็ ความผดิ ทไ่ี มส่ ามารถ ยอมความได้ รอ้ ยละ ส่ือสังคมออนไลน์ เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ และไลน์ อยู่ใน สถานะผู้เผยแพร่เนอื้ หาดิจทิ ลั จากการศกึ ษาพบว่าขา่ วปลอม 54.2 ถกู เผยแพรผ่ า่ นสอ่ื เหลา่ นเ้ี ปน็ อยา่ งมาก บา้ นสมเดจ็ โพลรายงาน ว่าระบผุ ใู้ ช้งานอนิ เทอรเ์ นต็ ในกรงุ เทพมหานครเจอข่าวปลอม จากส่อื เฟซบุก๊ มากท่สี ดุ คือ รอ้ ยละ 54.2 เพือ่ ลดจ�ำนวน การแพร่กระจายข่าวปลอม ผ้ใู ห้บรกิ ารสือ่ สงั คมออนไลนจ์ งึ ไดม้ แี นวปฏิบัติตา่ ง ๆ เพ่อื ผูใ้ ชง้ านจะได้รับข้อมลู ทมี่ คี ุณภาพ เช่น เฟซบกุ๊ ลดจำ� นวนการเข้าถึงเนื้อหาท่ีเป็นขา่ วปลอมและ คลกิ เบท ทวติ เตอรม์ ีการลบทวตี ท่พี สิ จู น์ได้วา่ เปน็ ฝมี ือบอท รวมถงึ การลบแอคเคานทป์ ลอม อกี หนง่ึ วธิ ใี นการจัดการกบั ข่าวปลอมและปอ้ งกนั ความสบั สน ในขอ้ มลู ขา่ วสารทมี่ อี ยมู่ ากมายบนโลกอนิ เทอรเ์ นต็ คอื การเสนอ ขอ้ มลู ขา่ วสารทป่ี ระกอบดว้ ยขอ้ เทจ็ จรงิ ผา่ นการตรวจสอบแลว้ เพื่อตอบโต้ข้อมูลเท็จที่ก�ำลังเผยแพร่อยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ ปัจจุบันภาครัฐและเอกชนได้พยายามเสนอข้อมูลข่าวสารท่ี เชอ่ื ได้ เพอื่ ลดความสบั สนทเ่ี กดิ จากการนำ� เสนอของขา่ วปลอม และเปิดโอกาสให้ประชาชนสอบถาม ตรวจสอบข่าวท่กี ำ� ลงั เผยแพร่อยใู่ นโลกออนไลน์ เชน่ ศนู ย์ชวั รก์ อ่ นแชร์ ของสำ� นกั ข่าวไทย อสมท. News Literacy l 15

สรา้ งทกั ษะรเู้ ทา่ ทนั ขา่ วเพอื่ รบั มอื กบั ขา่ วปลอม ถึงแม้ว่าปัญหาข่าวปลอมจะได้รับการดูแลและ ใชว้ จิ ารณญาณในการรบั ขา่ วสาร เปดิ รบั แหลง่ ขา่ วท่ี จัดการจากภาคสว่ นตา่ ง ๆ เชน่ การออกกฎหมาย นา่ เชอ่ื ถอื สามารถแยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ กบั ความคดิ เหน็ ลงโทษของภาครัฐ การกำ� กบั ดแู ลกนั เองของภาค ออกจากกันได้ รู้ถึงเจตนาท่ีต้องการส่ือในข่าว อุตสาหกรรม การให้ความรู้และข้อเท็จจริงของ เมอื่ ผรู้ บั ขา่ วสารรเู้ ทา่ ทนั ขา่ ว กจ็ ะทำ� ใหล้ ดจำ� นวน ภาคประชาสังคมและสื่อมวลชนที่เป็นมืออาชีพ การแชรแ์ ละแพร่กระจายของขา่ วปลอมได้ และการวางนโยบายการใชง้ านของ ผ้เู ผยแพรเ่ น้ือหาในส่อื สังคมออนไลน์ เฟซบกุ๊ ประเทศไทย รว่ มกบั คณะนเิ ทศศาสตร์ แตส่ ง่ิ ทน่ี า่ กงั วลคอื ความไมร่ เู้ ทา่ ทนั จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั , สำ� นกั งาน ข่าวสารของตวั ผู้ใชง้ านเองทต่ี ก คณะกรรมการการเลือกตัง้ (กกต.), หลุมพรางของผ้สู รา้ งข่าวปลอม กระทรวงดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คม ดังนน้ั ผูร้ ับข่าวสารเองควรมที กั ษะ (ดอี )ี และศนู ยช์ วั รก์ อ่ นแชร์ สำ� นกั ขา่ วไทย ในการรเู้ ทา่ ทนั สอื่ สามารถวเิ คราะห์ อสมท. ไดใ้ หค้ ำ� แนะนำ� ผใู้ ชง้ านอนิ เทอรเ์ นต็ ในการเรยี นรวู้ ธิ สี งั เกตขา่ วปลอม ดงั ตอ่ ไปน้ี 16 l รู้เทา่ ทันขา่ ว

News Literacy l 17

ข่าวจรงิ ขา่ วปลอม • มาจากแหล่งขา่ วท่นี า่ เช่ือถอื • มาจากเว็บไซต์ทีไ่ มค่ ้นุ ชอ่ื • พาดหวั มที ศิ ทางเดยี วกบั เนอื้ ขา่ ว • พาดหวั เรา้ อารมณห์ รอื ไมไ่ ป VS• มชี อ่ื ผรู้ บั ผดิ ชอบหรอื ผเู้ ขยี นขา่ ว ทางเดยี วกับเนือ้ ข่าว • ไมม่ ชี อ่ื ผูเ้ ขยี นขา่ ว • URL เขา้ กนั ไดก้ ับแหลง่ ขา่ ว • URL ดแู ปลก ๆ หรอื เขา้ กนั ไมไ่ ด้ • บอกวันทที่ ่ีลงข่าว • เมอื่ กดเขา้ ไปดลู งิ คอ์ น่ื ๆ สามารถ กับแหลง่ ขา่ ว ย้อนไปทแี่ หลง่ ข่าวต้นสังกัดได้ • อาจลงวนั ท่ีเก่า ๆ หรอื ไม่ได้ บอกเลย • ไม่สามารถกดลิ้งคย์ ้อนไปหา แหล่งข่าวตน้ สงั กดั ได้ ทกั ษะการรเู้ ทา่ ทนั ขา่ ว เปน็ เรอ่ื งสำ� คญั ทพี่ ลเมอื งดจิ ทิ ลั ควรไดร้ บั การเรยี นรแู้ ละฝกึ ฝนเพราะวา่ ในยคุ ข้อมูลข่าวสาร ผรู้ ับขา่ วตอ้ งร้จู กั ประเมินไดว้ า่ อะไรจรงิ หรือไมจ่ รงิ และรู้จกั วิเคราะห์ขอ้ มลู ขา่ วสาร ที่ไดร้ ับมาอยา่ งระมัดระวัง ร้จู ักแยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ ออกจากความคดิ เห็น และรู้จักตรวจสอบขอ้ มลู ทไ่ี ดร้ บั มาจากหลาย ๆ แหลง่ เพอื่ ทจ่ี ะไดก้ ลนั่ กรองขอ้ มลู ทนี่ า่ เชอื่ ถอื และหลากหลายในการประกอบ การคดิ ตดั สินใจ และแสดงออกทางความคดิ เหน็ ในฐานะพลเมอื งในสงั คมประชาธปิ ไตย 18 l รู้เท่าทนั ข่าว

เอกสารอ้างองิ เคล็ดลับในการสังเกตข่าวปลอม [online]. แหล่งท่มี า https://www.facebook.com/help/ 188118808357379 [12 กมุ ภาพันธ์ 2562] ใจดี โลกสวย เชอื่ คนงา่ ย!!! คนไทย 40% เชอ่ื ข่าวปลอมบนโซเชียลสงู สดุ ในภมู ิภาค [online]. แหลง่ ท่มี า https://www.brandbuffet.in.th/2017/10/kantartns-research-connected-life/ [11 กมุ ภาพนั ธ์ 2562] นนั ทกิ า หนสู ม (2560). ลกั ษณะของขา่ วปลอมในประเทศไทยและระดบั ความรเู้ ทา่ ทนั ขา่ วปลอม บนเฟซบกุ๊ ของผรู้ บั สารในเขตกรงุ เทพมหานคร [online]. แหลง่ ทมี่ า http://dspace.bu.ac.th/ bitstream/123456789/3177/1/nuntika_noos.pdf / [15 กุมภาพันธ์ 2562] ผลวจิ ัยช้ีคนวัย 65+ แชร์ขา่ วปลอม (Fake News) มากทส่ี ดุ [online]. แหล่งที่มา https:// vantage.in.th/2019/01/old-people-than-65-share-fake-news/ [13 กุมภาพันธ์ 2562] พจิ ติ รา สคึ าโมโต.้ รจู้ กั ขา่ วปลอมในสอ่ื ออนไลน์ [online]. แหลง่ ทมี่ า https://m.facebook.com/ story.php?story_fbid=1528136010664438&id=191774957633890 [25 กมุ ภาพันธ์ 2562] โพลระบคุ น กทม. เจอข่าวปลอม 65.1% จากเฟสบุค๊ และเร่ืองการเมอื งมากทส่ี ดุ [online]. แหล่งท่ีมา https://prachatai.com/journal/2018/09/78541 / [10 กุมภาพันธ์ 2562] ETDA เปดิ พฤตกิ รรมผใู้ ชอ้ ินเทอรเ์ น็ตปี 61 คนไทยใช้เน็ตเพมิ่ 10 ชว่ั โมง 5 นาทตี ่อวนั [online]. แหลง่ ทีม่ า https://www.etda.or.th/content/etda-reveals-thailand-internet- user-profile-2018.html [10 กุมภาพันธ์ 2562] Claire Wardle. Fake News. It’s complicated [online]. แหล่งทีม่ า https:// firstdraftnews.org/fake-news-complicated/ [16 กุมภาพนั ธ์ 2562] [10 กุมภาพนั ธ์ 2562] Infographic: Beyond Fake News – 10 Types of Misleading News – eleven Languages [online]. แหลง่ ทมี่ า https://eavi.eu/beyond-fake-news-10-types-misleading-info/ [20 กุมภาพนั ธ์ 2562] News Literacy l 19





ร้เู ทา่ ทนั ข่าว (News Literacy) พิมพ์คร้ังที่ 1 : มิถุนายน 2562 จ�ำนวนการพิมพ์ : 2,000 เล่ม เขียนและเรียบเรียง : ดร.สรานนท์ อินทนนท์ บรรณาธิการ : เข็มพร วิรุณราพันธ์, ลักษมี คงลาภ ฝ่ายศิลป์/ออกแบบรูปเล่ม : อรสุมน ศานติวงศ์สกุล จัดพิมพ์และเผยแพร่ : มูลนิธิส่งเสริมส่ือเด็กและเยาวชน (สสย.) 6/5 ซอยอารีย์ 5 พหลโยธิน แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ โทรศัพท์ 02-617-1919 E-mail : [email protected] Website : www.childmedia.net พิมพ์ที่ : บริษทั วอล์ค ออน คลาวด์ จ�ำกัด 77/62 หมู่ 6 หม่บู ้านแกว้ ขวญั 1 ถนนล�ำลูกกา11 ต�ำบลคูคต อ�ำเภอล�ำลกู กา จงั หวัดปทุมธานี 12130 โทรศพั ท์ 02-987-4031 แฟกซ์ 02-987-4913 E-mail : [email protected]




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook