Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ

การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ

Published by nuntayasa, 2018-03-15 03:29:23

Description: การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
อ.นันทยา เสนีย์
วพบ.ตรัง

Search

Read the Text Version

วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรังการป้องกนั และการพยาบาลBoromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Embolism  ไล่ฟองอากาศออกจากสายยางก่อนให้เลือด เมอ่ื เกิดการอุดตันทเ่ี ขม็ ไม่ควร ใช้กระบอกฉดี ยาดัน หรอื บีบไล่กอ้ นเลอื ดเข้าไป  ไม่ผสมหรอื ฉีดยาเขา้ สายยางทใ่ี หเ้ ลอื ด เพราะทาให้เม็ดเลอื ดแตกหรอื เลือด รวมกนั เปน็ กอ้ น  ไมป่ ล่อยใหเ้ ลอื ดไหลจนหมดถุง ปิดที่ควบคุมการไหลเมือ่ เลอื ดใกล้หมด  หยุดให้เลอื ดเมอื่ มีอาการดังกล่าว จัดผู้ป่วยนอนตะแคงซา้ ยศีรษะตา่ เพือ่ ให้ ฟองอากาศไหลผ่านหวั ใจหอ้ งลา่ งขวาไปสูป่ อด  ใหอ้ อกซิเจนหรือยาตามแผนการรกั ษาอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 101

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรังFebrile reaction orBoromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Pyrogenic reaction ไข้ ที่เกดิ จากการเกดิ ปฏกิ ิริยาตอ่ เมด็ เลือดขาว เกรด็ เลอื ด หรือ โปรตีนในพลาสม่าตอ่ เลอื ดของผู้ให้ พบบอ่ ยในผู้ป่วยทีเ่ คยได้รับ เลือดมากอ่ น อาการ *มักเกิดหลงั ได้รับเลอื ด 30 นาที - 1 ช่วั โมง หรือหลังได้รบั เลอื ดไป แลว้ 1 unit ผปู้ ว่ ยจะมอี ุณหภูมิสงู กว่าเดมิ 1 0c หรือมากกวา่ น้ี อาจปวดศีรษะ หนาวสั่น หน้าแดง ปวดหลัง ออ่ นเพลีย หวั ใจเตน้ เร็ว ความดันโลหติ ตา่ คลืน่ ไส้ อาเจียน สบั สนอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 102

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)การป้องกนั และการพยาบาล Febrile reactionหยดุ ให้เลอื ดทันที และรายงานแพทย์ตรวจวัดสัญญานชพี ทกุ 30 นาทีใหค้ วามอบอนุ่ แพทยอ์ าจใหย้ าลดไข้ และยาตา้ นฮสี ตา มนีอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 103

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Hyperkalemiaภาวะโปตัสเซียมในเลือดสงู กวา่ ปกติ  เนื่องจากเลอื ดทีเ่ ก็บไวใ้ นธนาคารเลอื ดเกนิ 4 วนั แต่จานวน โปตัสเซยี มท่ีสงู จะไมเ่ ป็นอันตราย ยกเว้นการใหใ้ นเด็ก ผูป้ ่วยโรคไต หวั ใจ หรือผูป้ ว่ ยที่ไดร้ ับโปตัสเซียมทดแทน  อาการ คลน่ื ไส้ ทอ้ งเดนิ และกลา้ มเนอื้ ออ่ นแรง เริม่ ทแ่ี ขนขากอ่ น ชา มอื เท้าและลิน้ พฤตกิ รรมเชื่องช้า ชพี จรช้า หรอื ไมส่ มา่ เสมอ อาจ หัวใจหยุดเตน้ (Cardiac arrest)อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 104

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Hyperkalemiaการปอ้ งกนั และการพยาบาลหลกี เลยี่ งการใชเ้ ลือดทีธ่ นาคารเลอื ดเป็นเวลานานหยดุ ให้เลือดแลว้ รายงานแพทย์อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 105

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Bacterial sepsisเกดิ จากการปนเป้อื นของแบคทเี รยี ในเลอื ด เกดิ จากเทคนคิ การเจาะและการให้เลอื ด และเครอ่ื งใช้ไมส่ ะอาดพออาการ ไขส้ งู เกนิ 38 0c อยา่ งรวดเรว็ หนาวสนั่ หนา้ แดง ปวดศรี ษะ และปวด บรเิ วณล้นิ ปี่ คลนื่ ไส้ อาเจยี น ความดนั โลหิตต่า จนชอ็ คอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 106

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Bacterial sepsisการป้องกนั และการพยาบาล  ตรวจสอบการหมดอายุของเลือด ดจู ากลกั ษณะของเลอื ดว่าสไี มเ่ ปลีย่ น หรอื ไมม่ ีฟองอากาศ  ใหเ้ ลือดโดยใชเ้ ทคนิคปลอดเชื้อ  ไมท่ ้ิงเลือดไว้นอกตเู้ ย็นนานเกนิ 30 นาทีกอ่ นทีจ่ ะให้  ถ้ามอี าการดังกลา่ วหยุดใหเ้ ลอื ด ส่งเลอื ดทเี่ หลอื ไปเพาะเชอ้ือาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 107

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Citrate intoxicationภาวะพษิ จากซเิ ตรท  เกิดจากการใหเ้ ลือดครบ หรือพลาสมา่ จานวนมาก ทาให้แคลเซยี มในเลือด ของผู้ปว่ ยรวมกบั ซเิ ตรทในสารกนั เลอื ดแข็งตัว อาการ  คลา้ ยภาวะขาดแคลเซียม คอื ชาบรเิ วณนิ้วมือและรอบๆปาก เป็นตะครวิ บริเวณขอ้ มือข้อเท้าเป็นพักๆ อารมณเ์ ปลยี่ นแปลง หลอดโลหิตหดเกร็ง กล้ามเนื้อหนา้ ทอ้ งหดเกรง็ ทาให้ปวดท้องมาก ความดนั โลหิตต่า อาจเกิด cardiac arrestอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 108

วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรังBoromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT) Citrate intoxication การป้องกนั และการพยาบาล หยุดให้เลือดทันที รายงานแพทย์ เตรยี มcalciumgluconateไว้ อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 109

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง สรุปBoromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT) การใหเ้ ลอื ดเปน็ ส่งิ จาเปน็ และมปี ระโยชน์ สามารถทาใหผ้ ู้ปว่ ยรอด ชวี ติ แต่การให้เลือดท่ไี มร่ ะมัดระวังอาจสง่ ผลใหผ้ ปู้ ว่ ยถงึ แกช่ วี ิตได้ เช่นกัน ดงั น้นั พยาบาลจึงควรมคี วามละเอยี ดรอบคอบ มที ักษะใน การสังเกตและการปฏิบัติการพยาบาล เพือ่ ช่วยชวี ติ ผูป้ ่วยให้หาย จากโรคและกลับไปอยู่บา้ นดว้ ยความปลอดภัยอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 110

บรรณานกุ รม มณี อาภานนั ทิกลุ . (2552). การใหส้ ารน้าทางหลอดเลือดดา.ใน สุปาณี เสนาดิสยั และมณี อาภานนั ทิกลุ (บก.) คู่มือปฏบิ ตั กิ าร พยาบาล (พิมพค์ ร้ังที่1, หนา้ 165-169).กรุงเทพมหานคร: จุดทอง Taylor, C., Lillis, C., LeMone , P., Lynn, P. (2008). Fundamentals of Nursing The art and Science of Nursing Care (6 th ed.) Philadelphia :Lippincott Williams & Wilkins. Taylor, C., Lillis, C., LeMone , P., Lebon , M. (2005). Skill Checklist to Accompany Fundamentals of Nursing The art and Science of Nursing Care (5 th ed.) Philadelphia : Lippincott Williams & Wilkins.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook