Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ

การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ

Published by nuntayasa, 2018-03-15 03:29:23

Description: การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
อ.นันทยา เสนีย์
วพบ.ตรัง

Search

Read the Text Version

รูปแสดงการต่อชุดให้สารนา้ เข้ากบั ถุงสารนา้ 12 34

รูปแสดงการต่อชุดให้สารนา้ เข้ากบั ถุงสารนา้ (ต่อ) 56 78

7. แขวนขวดสารน้ากบั เสาแขวนเพ่ือใหส้ ารน้าไหลตามแรงโนม้ ถ่วง

8. บีบกระเปาะของชุดใหส้ ารน้า ใหส้ ารน้า 2.6ไหลลง โดยใหม้ ีปริมาตรคร่ึงหน่ึงของกระเปาะ เพ่ือสะดวกต่อการสงั เกตการหยดของสารน้า

ภาพแสดงฟองอากาศในสายชุดใหส้ ารน้าไล่ออกใหห้ มดโดยการใชน้ ิ้วดีดท่ีสายจะเห็นฟองอากาศลอยข้ึนไปจนถึงกระเปาะ 8. ถอดปลอกพลาสติกท่ีสวมเขม็ บริเวณปลายสายชุดใหส้ ารน้าออกโดยใชเ้ ทคนิค sterile และเตรียม ภาชนะรองรับสารน้าที่จะไหลออกมาพร้อมกบั ฟองอากาศ ใชม้ ืออีกขา้ งหน่ึงเปิ ดที่ปรับหยดสารน้า สงั เกตการไหลของสารน้ามาตามสายเม่ือสารน้าเตม็ สาย ปิ ดท่ีปรับหยดสารน้าไว้ เพื่อป้ องกนั ไม่ให้ ฟองอากาศจานวนมากเขา้ ไปในหลอดเลือด แลว้ สวมปลอกเขม็ กลบั คืนโดยใชเ้ ทคนิค sterile 9.ก่อนจะถึงข้นั ตอนการแทงเขม็ หลอดเลือดดา ฉีกพลาสเตอร์สาหรับยดึ เขม็ กบั ผวิ หนงั ไวใั หพ้ ร้อม เ

การแทงเขม็ เข้าหลอดเลอื ดดา1.จดั ให้ผู้ป่ วยอยู่ในท่านอนหงายโดยให้แขนข้างทใี่ ห้สาร นา้ อยู่ข้างลาตวั หรือจดั อยู่ในท่าน่ังพร้อมมือวางไว้บน โต๊ะขวางเตียง2.สวมถุงมอื สะอาด เพอื่ ป้ องกนั ตนเองไม่ให้สัมผสั เลอื ด ซ่ึงอาจมกี ารปนเปื้ อนเชื้อโรค3.เลอื กและคลาหลอดเลอื ดดาที่จะให้สารนา้ โดยรัดสายยาง เหนอื บริเวณที่จะแทงเขม็ 5 - 6 นิว้ ถ้าเป็ นตาแหน่งที่ บริเวณหลงั มือ บอกให้ผู้ป่ วยกามอื เพอ่ื ให้เห็นเส้นเลอื ด ชัดเจน

การแทงเขม็ เขา้ หลอดเลือดดา(ต่อ)4.เช็ดผวิ หนังด้วยสาลชี ุบแอลกอฮอล์ 70 โดยเช็ดวนออกโดยรอบ หรือเช็ดไปทางเดยี วกนั เพอื่ ลดจานวนเชื้อโรค5. ถอดปลอกเขม็ ออกจากหัวเขม็ ด้วยเทคนิคไร้เชื้อ ระวงั ปลายเข็ม สัมผสั สิ่งปนเปื้ อนใช้มอื ข้างทถี่ นัดจับเข็มโดยให้ปลายด้านตดั ของเข็มอยู่ด้านบน6.ยดึ ผวิ หนังบริเวณหลอดเลอื ดดาทจ่ี ะแทงเข็มให้ตึงด้วยมืออกี ข้าง เพอ่ื ให้หลอดเลอื ดอยู่กบั ที่ และ ทาให้แทงเข็มเข้าเส้นเลอื ดได้ง่าย

การแทงเขม็ เข้าหลอดเลอื ดดา (ต่อ)7 .แทงเขม็ โดยทามุมประมาณ 10-30 แลว้ กดมมุ ลงจนเกือบขนานกบั ผวิ หนงั เบนปลาย เขม็ เขา้ หลอดเลือดดา เม่ือมองเห็นเลือดที่หวั เขม็องศากบั ผวิ หนงั ตรงกลางหรือเขา้ ทาง แสดงวา่ เขม็ อยใู่ นหลอดเลือดแลว้ จากน้นั ปลอ่ ยมือดา้ นขา้ งหลอดเลือดดาจนมิดปลายตดั ที่ดึงผวิ หนงั ไวใ้ หต้ ึง มาจบั หวั เขม็ ดา้ นบน อีกมือของเขม็ หน่ึงดึงแกนเขม็ ออกที่ละนอ้ ยพร้อมๆกบั มือท่ีจบั หวั เขม็ ไวด้ นั เขม็ พลาสติกเขา้ ไปตามแนวหลอดเลือด เป็นระยะๆจนสุดเขม็ ยงั ไมต่ อ้ งดึงแกนเขม็ ออก

การแทงเขม็ เข้าหลอดเลอื ดดา (ต่อ)8.ใช้มือที่จบั หวั เขม็ ด้านบนเปลย่ี นมากด 9.ใหผ้ ปู้ ่ วยคลายมือออก ใชม้ ืออีกขา้ งปลดสายบนผิวหนงั ใกล้ตาแหนง่ ทป่ี ลายเข็มพลาสติกอยใู่ นหลอดเลือด ยางรัดแขนออกแลว้ แลว้ เปลี่ยนมาดึงแกนเขม็ ออกทิ้งลงชามรูปไต ถอดเขม็ ที่สวมส่วนต่อของ ชุดใหส้ ารน้าออก นามาต่อกบั ขอ้ ต่อของหวั เขม็ พลาสติก ดว้ ยเทคนิคไร้เช้ือ หมุนใหแ้ น่น เพื่อ ป้ องกนั การเล่ือนหลุด

การแทงเขม็ เขา้ หลอดเลือดดา (ต่อ)10.เปิ ดท่ีปรับหยดสารนา้ ให้สารนา้ ไหลเข้าหลอดเลอื ดดา สังเกตผวิ หนังบริเวณที่แทงเขม็ เพอื่ ให้แน่ใจว่าปลายเข็ม อยู่ในหลอดเลอื ดดา ถ้าไม่มีอาการบวม ให้ยดึ หัวเขม็ กบั ผวิ หนงั ด้วยพลาสเตอร์ (หรือปิ ด Sterile gauze แล้วปิ ด ด้วย พลาสเตอร์หรือปิ ดด้วยฟิ ล์มแผ่นใส) และเพอ่ื ให้ ปลายเขม็ อยู่กบั ที่ และปรับอตั ราการไหลของสารนา้ ตาม แผนการรักษา

ภาพแสดงการปรับหยดสารน้าใน drip chamberการปรับหยดโดยการเลอื่ น คลายล้อหมุนทบ่ี บี สายชุดให้สารนา้ ไว้ ไปมานับจานวนหยดต่อนาทใี ห้ตรงตามทค่ี านวณ โดยให้นาฬิกาอยู่ข้าง drip chamber

การแทงเขม็ เขา้ หลอดเลือดดา (ต่อ) 11.แนะนาวธิ ีการปฏิบตั ิตัวให้ผ้ปู ่ วย ทราบและจัดท่าให้ผ้ปู ่ วยสุขสบายลด ความวติ กกงั วลและเพอ่ื ป้ องกนั ภาวะแทรกซ้อนทอ่ี าจเกดิ ขึน้ เช่น เลอื ดไหลย้อนกลบั เป็ นต้น 12.ทาความสะอาดอปุ กรณ์และเกบ็ เข้าท่ี สะดวกต่อการใช้ครัง้ ต่อไป 13.ล้างมอื ป้ องกันการแพร่กระจาย เชือ้ 14.เขยี นบันทึกการให้สารนา้ ใน Nurse ’s note เป็ นหลักฐานทาง กฎหมาย

ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการไหลของสารน้า1 .ตาแหน่งของแขน ขณะเปลย่ี นท่า อาจทาให้อตั ราการไหลของ สารนา้ ลดลงการใช้หมอนรองใต้แขนสามารถทาให้การไหลของ สารนา้ เพม่ิ ขนึ้2. ตาแหน่งของสายอาจถูกกดทบั จากการนอนทบั หักพบั การปิ ด ของ clamp ทาให้สารนา้ หยดุ ไหล หรือมบี างส่วนของสายห้อย ต่ากว่าตาแหน่งท่ี แทงเขม็ เข้าหลอดเลอื ดดา3. ความสูงของขวดสารนา้ การปรับระดบั ของเสาแขวนให้สูงขนึ้ จะทาให้การไหลของสารนา้ เร็วขนึ้ ผลจากแรงโน้มถ่วงของโลก

4. การร่ัวของสารนา้ ออกนอกหลอดเลอื ดดาแทรกซึมอยู่ในเนือ้ เยอื่ (infiltration) จะพบสารนา้ จะไหลช้า หรือหยดุ โดยไม่มกี ารหัก พบั งอหรือกดทบั บริเวณทแี่ ทงเขม็ จะบวม สัมผสั เยน็ และปวด การแก้ไข เปลยี่ นตาแหน่งทแี่ ทงเขม็ ใหม่5.ขนาดของเขม็ ทใี่ ช้แทงหลอดเลอื ด ถ้ามขี นาดโต อตั ราการไหล ของสารนา้ จะเร็ว6.การมีลม่ิ เลอื ดอดุ ตนั ทป่ี ลายเขม็ จะพบสารนา้ หยุดไหลห้ามใช้ กระบอกฉีดยาฉีดสารนา้ ดูดหรือฉีดผ่านเขม็ เพราะลม่ิ เลอื ดจะ หลดุ เข้าไปในหลอดเลอื ด ให้เปลย่ี นเขม็ และตาแหน่งทแี่ ทงเขม็ ใหม่

การเปลี่ยนชุดสายใหส้ ารน้า 1.ชุดสารนา้ ชนิดธรรมดา พยาบาลควรเปลยี่ นทุก 24-72 ช่ัวโมง เพอื่ ป้ องกนั การตดิ เชื้อ 2.ชุดสารนา้ ชนิด solu set ควรเปลยี่ นทุก 5วนั เขยี นแถบป้ ายเลก็ ระบุวนั เดอื น ปี ทเ่ี ริ่มใช้ชุดสายให้สารนา้ ข้อควรระวงั หลงั การเปลย่ี นชุดสายให้สารนา้ คอื การไล่ ฟองอากาศให้หมดและต่อปลายข้อต่อกบั หัวเขม็ ให้แน่น

อาการแทรกซอ้ นจากการใหส้ ารน้า หลอดเลอื ดดาอกั เสบ (phlebitis) เกดิ จากการระคายเคอื งและบอบช้าของหลอดเลอื ด อาจจาก การเสียดสีจากเขม็ บ่อยคร้ัง เขม็ ขนาดใหญ่ การระคายเคอื งจากยา การอกั เสบจากลมิ่ เลอื ด บริเวณปลายเขม็ ผู้ป่ วยจะบ่นปวดแสบปวดร้อนตานแนวหลอดเลอื ด สัมผสั อุ่น พบว่าหลอด เลอื ดดาขนาดเลก็ อกั เสบได้ง่ายกว่า รุนแรง ตดิ เชื้อ การแก้ไข เปลย่ี นตาแหน่งทแ่ี ทงเขม็ ใหม่ ประคบด้วยความเยน็ สลบั ร้อนหรือแพทย์อาจให้ยาทา เพอ่ื ลดความเจ็บปวดและการอกั เสบ ฟองอากาศเข้าไปอยู่ในหลอดเลอื ด (air embolism) เกดิ จากการไล่ฟองอากาศออกจากสายให้ สารนา้ ไม่หมด หรือการปล่อยให้สารนา้ หมดขวดจนมอี ากาศผ่านเข้าไปในสายให้สารนา้ หรือ การต่อปลายข้อต่อของสายให้สารนา้ กบั หัวเขม็ ทมี่ ชี ่องว่างให้ฟองอากาศเข้าแทรก อนั ตรายจาก ฟองอากาศจะมมี ากถ้าลอยไปอุดก้นั การไหลเวยี นของเลอื ดทไ่ี ปเลยี้ ง สมอง หัวใจ ไต อาการที่ พบมกั เกดิ จากหลอดเลอื ดแฟบแบนทนั ที คอื อาการเขยี วคลา้ จากการขาดออกซิเจน ชีพจรเบา เร็ว BP ตา่ ไม่รู้สึกตัว อาจตายได้ การแก้ไข รายงานแพทย์ทนั ที จดั ท่าให้ผู้ป่ วยนอนตะแคงซ้าย ศีรษะต่า ฟองอากาศจะผ่านเข้า ไปสู่หัวใจห้องล่างขวาและเข้าไปในปอด เตรียมอุปกรณ์ให้ออกซิเจน ตรวจสอบสัญญาณชีพ

อาการแทรกซ้อนจากการให้สารนา้ (ตอ่ ) การมีสารนา้ มากกว่าปกติในระบบหลอดเลอื ด (circulatory overload) เกดิ จากสารนา้ มอี ตั ราหยดเร็วเกนิ ไป ผู้ป่ วยจะมีภาวะนา้ เกนิ อนั ตราย ในเดก็ สูงอายุ โรคไต หัวใจ ผู้ป่ วยอาจหัวใจวาย นา้ ท่วมปอด การแก้ไข ปรับอตั ราหยดลดลง จัดท่านอนให้ศีรษะสูง รายงานแพทย์ ปฏกิ ริ ิยาสารไพโรเจน เกดิ มีสารไพโรเจนปนเปื้ อน เข้าสู่ร่างกายจาก กระบวนการเตรียมสารนา้ การผสมยาลงขวดสารนา้ หรือฉีดเข้าสายให้ สารนา้ ทปี่ ราศจากเทคนิคการกดี ก้นั เชื้อ การทาความสะอาดผวิ หนังไม่ดี พอ ผู้ป่ วยจะมีไข้ หนาวส่ันมากหลงั ได้รับสารนา้ 30นาที การแก้ไข หยุดให้สารนา้ ทนั ที รายงานแพทย์ ตรวจสอบสัญญาณชีพ ส่งตรวจสารน้า

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรังBoromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT) การใหเ้ ลอื ด (Blood transfusion) อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 68

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรังวัตถปุ ระสงค์Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT) 1.เพือ่ ทดแทนปริมาณเลือดท่ีสูญเสยี ไป เช่น ผปู้ ่วยตก เลอื ด เสยี เลอื ดจากการผา่ ตัด อุบตั เิ หตุ 2.เพ่อื ทดแทนเม็ดเลือดแดง และรักษาระดบั hemoglobin เพ่ิมการนาออกซิเจนไปเล้ยี ง รา่ งกาย เช่นผู้ป่วยโลหิตจางรุนแรง 3.เพื่อทดแทนปัจจยั การแขง็ ตวั ของเลือด เช่น ผปู้ ว่ ยโรค hemopheliaอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 69

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)การให้เลือด blood transfusion ผใู้ ห้ = Donor ผู้รับ = Recipient Antigen = สารจาเพาะตัว เมอ่ื เขา้ ในรา่ งกายของผทู้ ี่ไม่ไดเ้ ปน็ เจ้าของจะ กระต้นุ ให้ร่างกายผ้นู ัน้ สรา้ งantibody Antibody หมายถึง สารที่รา่ งกายสร้างขน้ึ เพื่อทาปฏกิ ริ ยิ ากับสง่ิ แปลกปลอมที่มากระตนุ้ หมูเ่ ลอื ดระบบ ABO มี 4 หมู่ O,A,B,&AB อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 70

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)หมเู่ ลือดระบบ ABOหมู่ แอนติเจน แอนตบิ อดี้ อาจให้เลอื ด อาจรับเลอื ดเลือด กบั จาก มaี nti-Aและanti-B OO ทกุ หมู่ OAA มaี nti-B A และ AB A และ OBBAB AB มaี nti-A B และ AB B และ O ไมม่ aี nti-Aและanti-B AB ทุกหมู่ อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 71

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT) ชนิดและสว่ นประกอบของเลอื ด whole blood=WB = เลือดครบ หมายถงึ เลอื ดท่ีเจาะจากผู้ บริจาคท่ีรา่ งกายสมบรณู แ์ ขง็ แรง ผา่ นมาตรฐานการคัดเลือก ผสม อยู่ในนา้ ยากันเลอื ดแข็งตวั (Acid citrate dextrose=ACD) เลอื ด หนงึ่ หน่วย (unit) เกบ็ ไดน้ าน 21 วนั เลอื ดที่เจาะมาไมเ่ กนิ 24ชัว่ โมง เรียกว่า Fresh whole blood ซึ่งจะมีเกรด็ เลอื ดและปัจจัยในการแข็งตวั ของเลอื ดอยู่ครบ เลอื ดหน่งึหนว่ ยควรใชใ้ น 4 ชัว่ โมง เพราะทีอ่ ุณหภมู ิหอ้ งแบคทเี รียอาจเตบิ โตอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 72

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)ขอ้ บ่งชใี้ นการให้เลอื ดชนดิwhole blood=WBคือเสยี เลอื ดออกมาอยา่ งเฉยี บพลัน(Acute massive hemorrhage) หรือชอ็ คจากการเสียเลือดอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 73

วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Packed red cell=PRCor Red cell concentrate  หมายถึงส่วนประกอบของเลือดทเี่ ตรียมออกจากเลอื ดครบ  โดยแยกพลาสมาออกไป 80%  เมด็ เลอื ดแดงเข้มข้นหนึ่งหน่วยมีปรมิ าตรน้อยกวา่ whole blood=WB ครึ่งหน่งึ  โดยมีปรมิ าณเมด็ เลอื ดแดงคงเดิม  เมอื่ เปิดถงุ ควรใชใ้ หห้ มดใน 4 ชว่ั โมงอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 74

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)ข้อบง่ ชี้ในการให้Packed red cell=PRC1. Symptomatic anemia (ซดี จนมีอาการ) ท้ัง แบบเฉยี บพลนั และเรอื้ รัง2. เพอ่ื ทดแทน เมอื่ มีการเสียเลอื ด ในการทาผา่ ตดัอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 75

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรังPlatelets Concentrate=PLTBoromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)เกร็ดเลือด เกร็ดเลือด เปน็ ผลติ ภณั ฑข์ องเลอื ดแยกออกมาจากเลอื ดครบ เกบ็ ไว้ในอุณหภมู ิ 1-6 0c ไม่จาเป็นต้องเขย่า หากเกบ็ ไว้ในอุณหภมู ิ 20-24 c ตอ้ งเขย่าตลอดเวลาข้อบ่งชใี้ นการให้ Platelets Concentrate=PLT ให้ในผ้ปู ว่ ยทมี่ ีเกรด็ เลือดตา่ กวา่ 20,000 cell/ml3 หรือผู้ป่วยที่มเี ลือดออกและมเี กร็ดเลอื ดต่ากวา่50,000 cell/ml3 อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 76

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรังPlasma(พลาสมา่ )Boromarajonani collegeof Nursing,Trang(BCNT) Fresh frozen plasma=FFP ประกอบด้วย albumin ,globulin , Factor V, Factor VIII นา้ และอีเล็คโตรลยั ท์ เตรียมจากการป่นั เลอื ดครบสดทีเ่ จาะมาภายใน 6 ชวั่ โมง แยกไปแชแ่ ขง็อย่างรวดเรว็ ท่อี ณุ หภูมิ -20 0c ทาใหร้ กั ษาปัจจัยในการแขง็ ตวั ของเลือดไวไ้ ด้ เมื่อนามาใชต้ อ้ งทง้ิ ไวใ้ หล้ ะลาย แลว้ ใช้ให้หมดใน 2ชว่ั โมง อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 77

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Fresh frozen plasma=FFPข้อบง่ ชใี้ นการให้ใช้ในผปู้ ่วยทีข่ าดปัจจัยในการแขง็ ตวั ของเลอื ดทุกชนดิผปู้ ว่ ยท่ไี ดร้ บั เลอื ดจานวนมากผู้ปว่ ยโรคตับท่มี ีเลือดออกผดิ ปกติอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 78

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Factor VIII (ปจั จยั ท่ี 8) ชนิดเขม้ ข้น : cryoprecipitate  หมายถึง ตะกอนท่เี กดิ ขน้ึ จากการนาพลาสมา่ แชแ่ ข็งมาทาให้ละลายที่ อณุ หภูม(ิ 4 0c) นาน 8-12 ช่ัวโมง แลว้ นาไปป่ันแยกพลาสม่าสว่ นเกิน ออก เหลือไว้ 10-20 ml เก็บไว้ท่ี -20 0c หรอื ต่ากว่า เก็บไดน้ าน 1 ปี  เมอื่ นามาใชต้ ้องแชน่ า้ T 37 0c เม่ือละลายแล้วเติมนา้ เกลือ(normal saline) 10-15 ml ผสมให้เขา้ กนั ควรใหผ้ ปู้ ว่ ยภายใน 2 ชัว่ โมงหลัง ละลายแลว้อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 79

วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Fresh frozen plasma=FFPขอ้ บง่ ชใ้ี นการให้ป้องกนั และรกั ษาภาวะเลอื ดออกในผปู้ ว่ ยฮีโมฟเี ลยีโรค Von Willebrand’sทดแทนการขาดไฟบริโนเจนและปัจจยั ท่ี 13อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 80

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT) 81Fresh frozen plasma=FFPVon Willebrand factor isnot an enzyme andtherefore has no catalyticactivity. Its primaryfunction is binding to otherproteins, particularly FactorVIII and it is important inplatelet adhesion towound sites.

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)albumin(อลั บมู ิน) มี albumin 5 และ 25 เปอรเ์ ซน็ ต์ เตรียมโดยใช้ความร้อนสงู ถึง 60 0c นาน 10 ชวั่ โมงข้อบ่งชใ้ี นการให้ albumin ภาวะช็อคจากการเสยี เลือดและน้า ทดแทนโปรตนี ในผู้ปว่ ยที่ถกู ไฟไหมอ้ ย่าง รนุ แรง ผู้ป่วยอัลบูมนิ ตา่ ผู้ปว่ ยบิริรูบนิ สูงจากการถ่ายเลือด อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 82

วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Leukocyte reduced red blood cell เมด็ เลือดขาว หมายถึง สว่ นประกอบของเลือดท่ีแยกเมด็ เลือดขาวออกไมน่ อ้ ยกวา่ 70%ข้อบง่ ใช้ ใหผ้ ู้ปว่ ยทม่ี ีเมด็ เลอื ดขาวต่ากว่า 500 cell/mm3 พบแบคทีเรยี ในกระแสเลอื ด มีอาการของการตดิ เช้อื และเชอ้ื ไมต่ อบสนอง ต่อยาปฏชิ ีวนะอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 83

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)การใหเ้ ลือดขอ้ สังเกต กว่า 90%ของผปู้ ่วยที่เกดิ อันตรายจากการใหเ้ ลือดมาจาก การเจาะเลอื ดผปู้ ่วยผดิ คน ใหเ้ ลือดผูป้ ว่ ยผดิ คน นาเลอื ดทเี่ ตรยี มจะใหผ้ ู้ปว่ ยคนหนง่ึ ไปใหอ้ กี คนหน่ึงอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 84

วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรังการเตรียมกอ่ นการใหเ้ ลือดBoromarajonani college of Nursing,Trang (BCNT)1. เจาะเลือดตวั อยา่ ง 5 c.c.ใส่หลอดแก้วตดิ ชื่อ-นามสกุล เรยี บร้อย ส่งห้อง เลือด ทาCompatibility test หรอื Cross-matching2.รับเลือดหรอื สว่ นประกอบของเลอื ดจากธนาคารเลอื ด ตรวจเลอื ด ถา้ สี นา้ ตาลขุ่นอาจมีการแตกของเมด็ เลอื ดแดง มีฟองแสดงวา่ มีเช้ือแบคทเี รยี ส่งคนื3. ตรวจใบแจง้ เลขที่เลือด ช่อื ผูใ้ ห้ ช่ือผูร้ บั หมูเ่ ลอื ด วนั หมดอายุ ให้ตรงกบั แผนการรักษาอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 85

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรงั Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)การเตรียมก่อนการให้เลอื ด4. เตรยี มชุดให้เลือด ทีก่ ระเปาะจะมตี ัวกรอง(Filter) เข็ม เบอร์ 18 หรอื 205. สายยางรดั หลอดโลหิต ทีแ่ ขวนขวด สาลชี บุ แอลกอฮอล์ ผา้ ก็อส พลาสเตอร์6. อธิบายให้ผูป้ ว่ ยทราบ7. บันทกึ สัญญานชีพไวเ้ ปน็ พืน้ ฐานอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 86

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรังการเตรียมกอ่ นการให้เลือดBoromarajonani college of Nursing,Trang (BCNT)8. อนุ่ เลือดโดยนาเลือดแช่ในน้าธรรมดา เมอ่ื เลอื ดคลาย ความเย็นนาไปให้ผปู้ ่วย9. ถ้าไม่สามารถให้ได้ใน 30 นาที ควรนาเลอื ดไปเก็บ ที่ธนาคารเลอื ดก่อน10. เลือดท่อี ่นุ แลว้ ใช้ไมห่ มดหา้ มคืนธนาคารเลือดเพราะ อาจเกิดอนั ตรายจากการทแี่ บคทีเรียแบง่ ตวัอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 87

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)ขั้นตอนในการใหเ้ ลือด1. เลอื กหลอดโลหิตขนาดใหญพ่ อควร2. เช็ดบรเิ วณทต่ี ่อชุดใหเ้ ลือดกบั ถงุ เลอื ดด้วย alcohol 70%3. ต่อชดุ ให้เลือดกับถงุ เลอื ด บบี กระเปาะ ให้เลอื ดอยูใ่ นกระเปาะ ครึ่งหน่งึ4. ไลอ่ ากาศออกจากสายยาง ปรับอัตราหยดให้หมดภายใน 2-3 ช่วั โมง แตต่ ้องไม่เกนิ 4 ชั่วโมง เพราะแบคทีเรียท่ปี นเป้ือนอาจ ขยายตวั หรือเมด็ เลือดแดงแตก5. ระวังการใหเ้ ลือดเร็วเกนิ ไปในผูป้ ว่ ยอายุ 60 ปี ผปู้ ว่ ยโรคหัวใจ ปอด ซีดมานานหรอื ผอมมากอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 88

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรังขัน้ ตอนในการให้เลือดBoromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)6. ตรวจสอบสัญญานชพี ทุกช่วั โมง หรอื ถีก่ ว่าน้ถี า้ มีแนวโน้มเกิด ภาวะแทรกซอ้ น7. ถ้าให้เลือดหลายๆunit ควรเปลยี่ นชดุ ให้เลอื ด8. เมื่อเลือดหมดถ้าจะต่อสารน้า เปล่ยี นเป็นชุดให้สารนา้9. บนั ทกึ การใหเ้ ลอื ด เวลา ชนดิ จานวน อาการ อาการแสดงของ ผู้ป่วยระหว่างให้เลอื ด หลงั ได้รบั เลอื ดอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 89

วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)การให้เลอื ด ข้อควรระวงั  ไม่ควรฉดี ยาเข้าในสายยางทใ่ี ห้เลือด หรือผสมยาเขา้ ไปในถุงเลือด  สารนา้ บางอย่างไมค่ วรให้เขา้ หลอดเลอื ดเดยี วกันขณะใหเ้ ลอื ดคอื 5% Dextrose in water ทาให้เกิดเมด็ เลือดแตก และจบั กันเป็นก้อน (Clumpping) 5% Dextrose in 5% Saline ทาใหเ้ มด็ เลอื ดแตก(Hemolysis)อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 90

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)การใหเ้ ลือดขอ้ ควรระวงั Ringer’s lactate ทาให้เกดิ เลือดรวมกันเปน็ กอ้ น(clot)ในชุดให้ เลอื ด Normal saline 0.9%สามารถให้ร่วมกับเลอื ดได้อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 91

วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)ภาวะแทรกซอ้ นจากการให้เลือด Acute hemolytic transfusion reaction =ปฏกิ ริ ิยาการแตกทาลาย ของเม็ดเลือดอยา่ งเฉยี บพลนั เนอื่ งจากการได้รับเลือดผดิ หมู่อาการ*ไข้ หนาวสะทา้ น ปวดบริเวณเอวและขา แน่นหน้าอก หายใจลาบาก คลนื่ ไส้ หนา้ แดง หวั ใจเตน้ เร็ว ต่อมามภี าวะดีซ่าน อาจชอ็ ค ปสั สาวะ ออกน้อยหรือไมอ่ อก ปัสสาวะสเี ข้มหรือแดงอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 92

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรังการป้องกันและการพยาบาลBoromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Acute hemolytic transfusion reaction ตรวจสอบชือ่ สกุลผปู้ ว่ ย ชนิดของเลอื ด- หมเู่ ลือด- เลขท่ี donor - วนั exp. ระหว่างถุงเลือดกับเอกสาร ประเมนิ อาการผู้ป่วยหลงั ให้เลอื ด และcheck vital sign ทกุ 10-15 นาทอี ย่างใกล้ชิด หยดุ ใหเ้ ลอื ดทันทีที่ ผ้ปู ว่ ยมอี าการแนน่ หน้าอก หายใจลาบาก รายงานแพทย์ ประเมินภาวะชอ็ ค ใหอ้ อกซิเจน น้าเกลือ อาจคา สายสวนปสั สาวะดจู านวนปสั สาวะต่อชัว่ โมง ส่งเลือดท่เี หลือคนื ธนาคารเลือด เพือ่ ตรวจสอบเลอื ดใหม่อกี ครงั้อาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 93

วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Anaphylactic reaction ปฏกิ ิริยาท่เี กดิ ขนึ้ จากโปรตนี ในพลาสมา่ ของผู้ป่วยและเลอื ดทไ่ี มส่ ามารถ รวมกนั ได้(Incompatibility) พบในผปู้ ว่ ยทีเ่ คยไดร้ บั เลือดมากอ่ น อาการ หายใจลาบากความดนั โลหติ ต่า คลนื่ ไส้ อาเจยี น ปวดทอ้ ง อาจชอ็ คและหมดสตไิ ด้ ไมม่ ีไข้ อาการอาจเกดิ หลังไดร้ บั เลือดไปเพยี ง เล็กน้อยอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 94

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)การปอ้ งกนั Anaphylactic reactionถ้าเปน็ ไปไดค้ วรใหผ้ ปู้ ว่ ยไดร้ บั เลือดของตนเองหยุดใหเ้ ลอื ดทนั ทีและรายงานแพทย์เตรยี มใหอ้ อกซเิ จนและสารนา้ ทางหลอดเลือดดาอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 95

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)Circulatory over load ภาวะทป่ี ริมาณของเหลวที่ไหลเวยี นในรา่ งกายเพม่ิ ขน้ึ มาก หวั ใจ ทางานหนกั จนเกิดภาวะหวั ใจลม้ เหลว มเี ลอื ดค่งั ในปอดมากขึ้น การทางานของปอดลดลง น้าท่วมปอด พบบ่อยในผสู้ ูงอายุ โรคไต หวั ใจ ท่ีได้รบั เลอื ดเร็วเกนิ ไป อาการ ไอ เหนอ่ื ย หอบ เจบ็ และแนน่ หนา้ อก หัวใจเต้นเรว็ เขยี ว(cyanosis)ความดันโลหติ ในหลอดโลหติ ดาสงู หลอดเลือดดา ท่ีคอโปง่ พอง ปวดศีรษะมาก หน้าแดง ปวดหลงั ฟงั ปอดไดเ้ สยี ง Ralesที่ฐานปอดอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 96

วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)การปอ้ งกนั และการพยาบาลCirculatory over load  คานวณจานวนหยดเลอื ด และปรับหยดเพื่อไม่ใหเ้ ลือดเร็ว เกนิ ไป  ถ้ามอี าการดงั กลา่ วหยุดใหเ้ ลอื ด จัดผู้ปว่ ยนอนศีรษะสูง และ รายงานแพทย์  เตรียมให้ออกซิเจนและบนั ทึกสัญญานชีพอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 97

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรังAllergic reactionBoromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)การแพเ้ ลือด เกดิ จากantibodyในเลอื ดของผ้ปู ่วยมปี ฏิกิริยากบั Allergens(สารภูมแิ พ)้ ในพลาสม่าของเลอื ดที่ไดร้ ับ เกิดภายหลงั ไดร้ ับเลอื ดเป็นเวลานาน อาการ ลมพษิ หรอื ผ่นื ตามร่างกาย หนาวส่นั คล่นื ไส้ อาเจียน ปวดศรี ษะ คัดจมกู ถา้ รุนแรงหลอดลมเกรง็ (Broncho spasm) หลอดเสียงบวม (Laryngeal edema) หายใจมเี สยี งอ๊ดี หรือหายใจลาบาก อาจช็อคอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 98

วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)การป้องกันและการพยาบาลAllergic reaction ถามประวัตกิ ารแพเ้ ลอื ดกอ่ นให้เลือดทุกครั้ง ถา้ แพแ้ พทยอ์ าจใหย้ าต้าน(Antihistamin)ก่อนให้เลอื ด เม่ือพบอาการแพห้ ยดุ ใหเ้ ลอื ดทนั ที รายงานแพทยเ์ พ่อื ให้ยาฮิสตามนีอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 99

Embolismวิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี ตรัง Boromarajonani college of Nursing, Trang (BCNT)ส่งิ แปลกปลอมหลดุ เข้ากระแสเลือดและอดุ ตนั หลอดโลหติ ฟองอากาศ = air embolism กอ้ นเลือด = Thromboembolism เกดิ การขัดขวางการนาออกซเิ จนไปเล้ียงร่างกายอาการ*เจบ็ หน้าอกทนั ทที ันได บางคร้งั ไอเป็นเลอื ด ชีพจรเบา หายใจลาบากอาจารย์นนั ทยา เสนีย์ วพบ.ตรัง 100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook