Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ม.1 (หน่วยที่ 2 เทอม 2)

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ม.1 (หน่วยที่ 2 เทอม 2)

Published by KAGIROON, 2020-03-10 04:14:49

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ท 21102) ภาคเรียนที่ 2 หน่วยที่ 2 เรื่อง กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐ ชวั่ โมง หนว่ ยท่ี ๒ กาพย์เหช่ มเครอื่ งคาวหวาน เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๒ แผนการเรียนรทู้ ี่ ๒๑ ทม่ี ากาพยเ์ ห่ชมเคร่อื งคาวหวาน ครูผูส้ อน นางสาวจิราพร กุลให้ วันทส่ี อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั กาพย์เหช่ มเคร่อื งคาวหวาน เป็นบทพระราชนิพนธใ์ นรชั กาลท่ี ๒ เนอื้ ความกลา่ วถึงการชมอาหารคาว หวาน และงานนักขัตฤกษใ์ นแตล่ ะเดอื นของไทย 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคดิ เพ่ือนาไปใช้ตัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการดาเนนิ ชวี ิต และมีนิสยั รกั การอ่าน 3. ตัวช้วี ัด ท ๑.๑ ม. ๑/๔ ระบุและอธบิ ายคาเปรยี บเทียบและคาท่มี หี ลายความหมายในบริบทตา่ งๆจากการอา่ น 4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) - สรุปความรู้จากบทนาเร่ืองของกาพยเ์ หช่ มเคร่ืองคาวหวาน - อธบิ ายความหมายของคาศัพท์ในกาพย์เห่ชมเครอ่ื งคาวหวาน 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) เขยี นและอา่ นคาศัพทใ์ นกาพยเ์ หช่ มเคร่อื งคาวหวาน 3. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) เหน็ ความสาคัญในการอา่ น เขียน และอธบิ ายความหมายของคาศัพท์ไดถ้ ูกตอ้ ง เพ่ือนาไปใช้ในการเรยี นและชีวติ ประจาวนั 5. สาระการเรยี นรู้ ๑. ทมี่ าของกาพยเ์ ห่ชมเครื่องคาวหวาน ๒. การเขยี น อ่าน และความหมายของคาศัพท์ 6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ข้นั นาเข้าสูบ่ ทเรียน นักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ เก่ยี วกับสานวน “เสน่หป์ ลายจวกั ” และเปรยี บเทียบความคดิ น้ี ของสังคมไทยในอดตี กับปจั จุบัน ขน้ั พัฒนาผ้เู รียน ๑. นกั เรยี นศึกษาบทนาเรื่องกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน แล้วรว่ มกนั สนทนาในประเด็นต่อไปน้ี - กาพย์เหช่ มเครื่องคาวหวานเปน็ ผลงานของใคร และมจี ดุ ประสงคใ์ ด - พระราชนิพนธ์เรื่องนี้กล่าวถึงเรือ่ งใดบ้าง

- คาประพนั ธม์ ลี กั ษณะอย่างไร - ทีเ่ รยี กบทพระราชนิพนธน์ ว้ี า่ “กาพย์เห่” เพราะเหตุใด ครอู ธิบายสรุปเพิ่มเติม และให้นกั เรยี นบนั ทกึ สาระสาคัญ ๒. ครเู ขียนตารางบนกระดานเพ่อื ให้นกั เรยี นเล่นเกมปริศนาอักษรไขว้ โดยเขียนหมายเลขกากับทชี่ อ่ ง ตารางเพ่ือใหน้ ักเรยี นนาคาศัพท์มาเตมิ ๓. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น ๒ กลุ่ม เพือ่ ช่วยกันหาคาศัพทจ์ ากกาพย์เหช่ มเคร่ืองคาวหวานตาม ความหมายที่กาหนด ดงั น้ี กลุ่มท่ี ๑ หาคาศัพทใ์ นแนวตั้ง กลุ่มท่ี ๒ หาคาศัพทใ์ นแนวนอน ๔. นักเรยี น ๒ กลมุ่ แขง่ ขนั เขียนคาศัพทล์ งในตารางปรศิ นาอกั ษรไขว้ กล่มุ ใดใชเ้ วลานอ้ ยทส่ี ุดและ เขยี นได้ถกู ต้องมากกว่าเป็นฝ่ายชนะ ๕. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ๖. นักเรียนอ่านคาศัพท์และอธบิ ายความหมายรว่ มกนั และนักเรยี นช่วยกันสารวจว่ามีคาใดบา้ งที่ เป็นช่อื อาหาร ข้นั สรปุ นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรุปความรู้ ดังน้ี กาพย์เหช่ มเคร่อื งคาวหวาน เป็นบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาล ท่ี ๒ เนื้อความกล่าวถึง การชมอาหารคาวหวาน และงานนักขัตฤกษ์ในแต่ละเดอื นของไทย 7. สื่อการเรียนรู้ ตารางปรศิ นาอักษรไขว้ 8. การวดั ผลประเมินผล เป้าหมาย หลักฐาน เคร่ืองมอื วดั เกณฑก์ ารประเมิน รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ สาระสาคญั แบบฝกึ หัด แบบประเมิน กาพย์เห่ชมเครอ่ื งคาวหวาน “ท่มี าของกาพยเ์ ห่ แบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ “ทมี่ าของกาพย์เห่ เปน็ บทพระราชนพิ นธใ์ นรชั กาลท่ี ชมเครื่องคาว ชมเครอ่ื งคาว ๒ เน้อื ความกลา่ วถึงการชมอาหาร หวาน” หวาน” คาวหวาน และงานนักขัตฤกษใ์ นแต่ ละเดอื นของไทย แบบฝกึ หดั แบบประเมิน “ทีม่ าของกาพย์เห่ แบบฝึกหัด ตวั ช้ีวัด “ทีม่ าของกาพย์เห่ - ท ๑.๑ ม. ๑/๔ ระบแุ ละอธิบาย ชมเคร่ืองคาว ชมเครอื่ งคาว คาเปรียบเทยี บและคาท่มี ีหลาย หวาน” หวาน” ความหมายในบริบทตา่ ง ๆ จากการ อ่าน

คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ แบบฝึกหัด แบบประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ เหน็ ความสาคญั ในการอ่าน “ทีม่ าของกาพย์เห่ แบบฝกึ หัด “ทีม่ าของกาพย์เห่ เขยี น และอธิบายความหมายของ ชมเครอ่ื งคาว ชมเคร่อื งคาว คาศัพท์ได้ถูกตอ้ ง เพอื่ นาไปใช้ใน หวาน” หวาน” การเรยี นและชีวติ ประจาวนั เกณฑก์ ารประเมินผล (รบู รกิ ส์) ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นักเรียนสรุป สรุปความร้จู ากเรือ่ ง สรุปความร้จู ากเรื่อง สรปุ ความรู้จากเร่ืองได้ สรปุ ความรจู้ าก ความรูจ้ ากบทนา ไดถ้ ูกตอ้ ง ชดั เจน ไดถ้ ูกตอ้ ง ชัดเจน ถกู ต้อง แตส่ รปุ เพยี ง ๑ เรอื่ งได้ถูกต้อง แต่ เรอื่ งของกาพยเ์ ห่ชม หลายแง่มุม และ หลายแงม่ ุม และ ประเด็น และเสนอแนว สรปุ เพยี ง ๑ ประเดน็ เคร่ืองคาวหวาน (K) สามารถเสนอแนว สามารถเสนอแนว ทางการนาไปใช้ในชวี ิตจรงิ ไม่สามารถเชอ่ื มโยง ทางการนาไปใช้ใน ทางการนาไปใช้ใน ได้สมั พนั ธ์กัน กบั ชีวติ จรงิ ได้ ต้อง ชีวติ จริงได้ดแี ละ ชีวิตจริงได้ มผี แู้ นะนาจงึ จะ สร้างสรรค์ เขา้ ใจ 2. นกั เรยี นเขยี นและ นักเรียนเขยี นอธบิ าย นักเรียนเขยี นอธิบาย นกั เรยี นเขยี นอธบิ าย นักเรียนเขียน อ่านคาศพั ท์ในกาพย์ คาศัพท์ได้อย่าง คาศัพทไ์ ด้ และตอบ คาศัพทไ์ ดบ้ า้ ง และตอบ อธิบายคาศัพท์ได้ เหช่ มเครอ่ื งคาว ครบถ้วน และตอบ คาถามได้สัมพันธ์กบั คาถามได้สัมพนั ธก์ บั เล็กน้อย และตอบ หวาน (P) คาถามไดส้ ัมพนั ธก์ บั หัวข้อทกี่ าหนด หัวข้อทกี่ าหนด คาถามไม่สมั พันธ์กบั หัวข้อที่กาหนด หวั ขอ้ ที่กาหนด ๓. นกั เรียนเหน็ นักเรยี นใช้คาใน นกั เรียนใชค้ าใน นักเรยี นใช้คาใน นักเรียนใช้คาใน ความสาคญั ในการ ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไม่ถูกต้อง อา่ น เขียน และ ตามอักขรวธิ ี ใช้คาได้ ตามอักขรวิธี ใชค้ าได้ เขยี นยงั ไม่ถกู ต้องตาม เขียนคาพื้นฐาน อธบิ ายความหมาย ถูกบริบทและ ถกู บรบิ ทและ อกั ขรวิธี เขียนคา ภาษาไทยไม่ถูกต้อง ของคาศัพท์ได้ถูกตอ้ ง กาลเทศะ เขียนคา กาลเทศะ เขยี นคา พ้นื ฐานได้ถกู ต้องบา้ ง เพ่ือนาไปใชใ้ นการ พื้นฐานได้ถกู ต้อง พืน้ ฐานมีข้อผดิ พลาด เรียนและ ทง้ั หมด เล็กนอ้ ย ชวี ิตประจาวัน (A) เกณฑ์การประเมินการผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรงุ คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง หนว่ ยที่ ๒ กาพย์เห่ชมเครอ่ื งคาวหวาน เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๒ แผนการเรียนรู้ที่ ๒๒ การอา่ นทานองเสนาะ ครผู สู้ อน นางสาวจิราพร กุลให้ วันที่สอน.................................................................................. 1. สาระสาคญั บทรอ้ ยกรองจากเรื่อง กาพยเ์ ห่ชมเครื่องคาวหวานมีความไพเราะมาก การอา่ นออกเสยี ง อยา่ งถูกต้องท้ัง จังหวะและทานองจะทาให้บทร้อยกรองมีความไพเราะมากยิ่งข้ึน การนาบทร้อยกรองท่ีชอบมาคัดลายมือและ ทอ่ งจา ทาให้เกดิ ความซาบซ้งึ และสามารถนาไปใช้อา้ งอิงได้ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรูแ้ ละความคิดเพอื่ นาไปใช้ตัดสินใจ แก้ปญั หาในการดาเนนิ ชีวิต และมนี ิสัยรักการอ่าน มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี นเขียนสื่อสาร เขียนเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียน เรือ่ งราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงาน การศึกษาคน้ คว้าอย่างมีประสิทธภิ าพ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทย อยา่ งเห็นคุณค่า และนามาประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ 3. ตัวชว้ี ดั ท ๑.๑ ม. ๑/๑ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ได้ถูกต้องเหมาะสมกับเร่ืองทอี่ ่าน ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการอ่าน ท ๒.๑ ม. ๑/๑ คัดลายมือตัวบรรจงครงึ่ บรรทัด ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการเขยี น ท ๕.๑ ม. ๑/๕ ท่องจาบทอาขยานตามทกี่ าหนดและบทร้อยกรองที่มคี ุณค่าตามความสนใจ 4. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายการอ่านโคลงสี่สุภาพและกาพยย์ านี ๑๑ 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) - อา่ นออกเสียงโคลงสสี่ ภุ าพและกาพย์ยานี ๑๑ - คัดลายมอื ตัวบรรจงครงึ่ บรรทดั - ท่องจาบทร้อยกรองท่ีมคี ณุ ค่าตามความสนใจ 3. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) - เห็นความสาคญั ของการเรยี นรแู้ ละท่องจาบทร้อยกรองที่มีคณุ ค่า

5. สาระการเรียนรู้ - การอา่ นออกเสยี งโคลงสสี่ ภุ าพและกาพยย์ านี ๑๑ - การคัดลายมือตวั บรรจงครึง่ บรรทัด 6. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้ันนาเข้าสูบ่ ทเรียน นกั เรยี นร่วมกันแสดงความคดิ เหน็ “ความไพเราะของบทกวีเกิดขึ้นจากสง่ิ ใดบา้ ง” ขั้นพฒั นาผูเ้ รยี น ๑. นกั เรียนศึกษาความรเู้ รอื่ ง การอ่านโคลงสส่ี ภุ าพและกาพยย์ านี ๑๑ แล้วร่วมกันสรปุ ความเข้าใจ ครเู ป็นผู้อธบิ ายเพ่ิมเตมิ ๒. ครูนาแถบบันทึกเสยี งการอา่ นโคลงส่สี ภุ าพและกาพยย์ านี ๑๑ มาเปิดใหน้ ักเรียนฟัง หรือครเู ปน็ ผูอ้ า่ นนา ให้นกั เรียนฝกึ อา่ นตามจนคลอ่ งแคล่ว ๓. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กล่มุ ฝกึ อา่ นออกเสยี งกาพยเ์ หช่ มเคร่อื งคาวหวาน โดยทกุ กลุ่ม ต้องอ่าน โคลงบทแรกพรอ้ มกนั จากนั้นจึงแบง่ กันอ่านกาพยย์ านี ๑๑ กลุ่มละ ๓ บท ในขณะทเี่ พ่ือนกลุ่มอื่นอ่าน ให้ นักเรยี นชว่ ยกนั ฟงั เพ่อื เสนอแนะและปรบั ปรุงแก้ไข ๔. นกั เรยี นฝึกอ่านกาพยเ์ หช่ มเครอ่ื งคาวหวานเปน็ รายบุคคล โดยเวยี นกันอา่ นคนละ ๑ บท เรยี ง ต่อกันไปเรอ่ื ย ๆ จนครบทกุ คน ครูตง้ั ข้อสงั เกตและเสนอแนะวธิ กี ารอ่านเพ่มิ เติมพร้อมท้ังกล่าวชมเชยและให้ กาลังใจ ๕. นักเรยี นรว่ มกันสนทนาเกี่ยวกับความไพเราะท่ีได้รบั จากการฟงั บทร้อยกรอง ๖. นกั เรียนเลือกสรรบททน่ี ักเรียนชอบมากท่ีสดุ มาคัดลายมือ ด้วยตวั บรรจงคร่งึ บรรทัด และ ทอ่ งจาไว้สาหรบั ใช้อ้างองิ ในสถานการณ์ทเี่ หมาะสม ๗. ครูคัดเลือกผลงานการคดั ลายมือทสี่ วยงามเป็นระเบียบถูกตอ้ ง มาตดิ แสดงบนปา้ ยนิเทศให้ นกั เรยี นดูเปน็ แบบอยา่ ง ข้นั สรปุ นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดังนี้ บทร้อยกรองจากเร่ือง กาพยเ์ หช่ มเคร่ืองคาวหวานมคี วาม ไพเราะมาก การอา่ นออกเสียง อยา่ งถูกต้องทงั้ จังหวะและทานองจะทาใหบ้ ทรอ้ ยกรองมีความไพเราะมากยงิ่ ข้นึ การนาบทร้อยกรองที่ชอบมาคัดลายมอื และท่องจา ทาให้เกิดความซาบซงึ้ และสามารถนาไปใชอ้ ้างองิ ได้ 7. ส่ือการเรียนรู้ แถบบันทึกเสยี ง

8. การวดั ผลประเมินผล เป้าหมาย หลกั ฐาน เครื่องมอื วัด เกณฑก์ าร ประเมิน สาระสาคัญ แบบประเมนิ แบบฝึกหดั “การอ่านทานองเสนาะ ร้อยละ ๖๐ ผา่ น บทรอ้ ยกรองจากเรื่อง เรอื่ งกาพย์เห่ชมเครื่อง เกณฑ์ กาพย์เหช่ มเคร่อื งคาวหวานมีความ แบบฝึกหัด คาวหวาน” รอ้ ยละ ๖๐ ผ่าน ไพเราะมาก การอ่านออกเสยี ง “การอ่านทานอง เกณฑ์ อยา่ งถูกต้องทง้ั จงั หวะและทานอง แบบประเมินแบบฝึกหดั จะทาใหบ้ ทร้อยกรองมคี วามไพเราะ เสนาะ “การอ่านทานองเสนาะ ร้อยละ ๖๐ ผ่าน มากยิ่งขึ้น การนาบทร้อยกรองท่ี เรื่องกาพยเ์ ห่ชมเครื่อง เรื่องกาพย์เห่ชมเครื่อง เกณฑ์ ชอบมาคัดลายมอื และท่องจา ทาให้ คาวหวาน” คาวหวาน” เกดิ ความซาบซึ้งและสามารถ แบบประเมนิ แบบฝึกหดั “การอ่านทานองเสนาะ นาไปใช้อา้ งอิงได้ เรื่องกาพยเ์ หช่ มเครื่อง ตวั ชวี้ ัด แบบฝกึ หดั คาวหวาน” - ท ๑.๑ ม. ๑/๑ อา่ นออกเสยี งบท “การอ่านทานอง ร้อยแก้วและบทร้อยกรอง ได้ ถูกต้องเหมาะสมกับเรอื่ งท่อี า่ น เสนาะ - ท ๒.๑ ม. ๑/๑ คัดลายมอื ตวั เร่ืองกาพยเ์ หช่ มเครื่อง บรรจงครง่ึ บรรทัด คาวหวาน” คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ แบบฝกึ หัด เห็นความสาคญั ของการเรยี นรู้ “การอ่านทานอง และท่องจาบทร้อยกรองที่มคี ุณคา่ เสนาะ เร่อื งกาพย์เห่ชมเครื่อง คาวหวาน” เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รบู ริกส์) ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คุณภาพ (๑) ปรับปรุง ๑. นักเรยี นอธบิ าย นกั เรยี นอธบิ าย (๓) ดี (๒) พอใช้ นกั เรยี นไม่สามารถ การอ่านโคลงสส่ี ภุ าพ แผนผังโคลงสี่สุภาพ อธิบายแผนผังโคลงส่ี และกาพยย์ านี ๑๑ กาพยย์ านี 11 และ นกั เรยี นสามารถ นักเรยี นสามารถ สภุ าพ กาพยย์ านี 11 (K) เช่ือมโยงได้ถูกต้อง อธบิ ายแผนผังโคลง อธบิ ายแผนผังโคลงส่ี และเช่ือมโยงไมถ่ ูกต้อง สสี่ ภุ าพ กาพยย์ านี สภุ าพ กาพย์ยานี 11 ตามฉันทลกั ษณ์ ตามฉนั ทลักษณ์ 11 และเช่อื มโยง และเชื่อมโยงได้ถูกตอ้ ง ไดถ้ ูกตอ้ งตามฉันท บางสว่ น ลกั ษณ์

2. นักเรียนอา่ นออก อ่านออกเสียงได้ อ่านออกเสยี งได้ อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง อ่านออกเสียงได้ถูกต้อง เสยี งโคลงสี่สภุ าพ ถูกต้องตามอักขรวธิ ี และกาพย์ยานี ๑๑ เสยี งดังชัดเจน ถูกต้องตามอกั ขรวธิ ี ตามอักขรวิธีเสยี งดงั ตามอักขรวธิ เี สียงดงั และคัดลายมือตวั เวน้ จงั หวะเหมาะสม บรรจง (P) สามารถทอดเสยี ง เสยี งดงั ชัดเจน ชดั เจน เว้นจงั หวะ ชดั เจน แต่ยังตอ้ ง เอ้อื นเสยี งและใช้ ๓. นกั เรยี นเห็น นา้ เสียงแสดงอารมณ์ เวน้ จังหวะเหมาะสม เหมาะสมพยายาม ปรบั ปรุงเร่ืองการเวน้ ความสาคญั ของการ ได้ไพเราะ เรยี นรแู้ ละท่องจาบท มีการทอดเสียง ทอดเสยี งเอือ้ นเสียงและ จงั หวะและท่วงทานอง รอ้ ยกรองท่ีมีคุณค่า เขยี นตัวอักษรชัดเจน (A) ถกู ต้องตามอกั ขรวิธี เอือ้ นเสยี งและใช้ ใชน้ ้าเสยี งแสดงอารมณ์ ในการอ่าน ขนาดตัวอักษร มี สดั ส่วนทเ่ี หมาะสม น้าเสยี งแสดง ในบางจังหวะ และเสมอกนั ผลงาน สะอาดเรยี บร้อย อารมณ์ในบาง แต่ยังทาได้ไมด่ นี กั ท่องจาบทอาขยาน จังหวะไดด้ ี ไดถ้ ูกต้องทุกคา ไมม่ ีตดิ ขัด ตกหลน่ เขียนตวั อักษร เขียนตัวอกั ษรชัดเจน เขยี นตัวอกั ษรถูกต้อง ออกเสียงคาถกู ต้อง ชดั เจนทุกคา เวน้ ชดั เจน ถูกต้องตาม ถูกต้องตามอักขรวธิ ี ตามอักขรวิธี และ จังหวะวรรคตอน ถูกต้องทุกวรรค อกั ขรวธิ ี ขนาด ขนาดตวั อักษรหลายตัว ผลงานสะอาด แต่ยัง ใชร้ ะดบั เสยี ง แสดง อารมณ์ ตามบท ตวั อักษรบางตวั ผดิ ผดิ สดั ส่วน จงึ ไม่ค่อยเปน็ ตอ้ งพฒั นาการควบคุม ประพันธไ์ ด้ดีมาก สดั ส่วนบา้ ง แต่ ระเบยี บ แตผ่ ลงาน ขนาดของตัวอักษรและ ผลงานสะอาด สะอาด อัตราเรว็ ในการเขยี น เรียบรอ้ ย ทอ่ งจาบทอาขยาน ทอ่ งจาบทอาขยาน ทอ่ งจาบทอาขยาน ได้ถูกตอ้ งทุกคา ไดถ้ ูกตอ้ งทุกคา ไดถ้ ูกตอ้ งทุกคา ไม่มตี ดิ ขดั ตกหลน่ ไม่มีติดขดั ตกหลน่ แต่มตี ดิ ขัดบ้าง ออกเสียงคาถกู ต้อง ออกเสียงคาถูกต้อง ออกเสยี งคาบางคา ชัดเจนทกุ คา เว้น ชดั เจนทุกคา เว้น ยังไมช่ ัดเจน เวน้ จงั หวะวรรคตอน จังหวะวรรคตอน จังหวะวรรคตอน ถูกต้องทุกวรรค ถกู ต้องเปน็ ส่วนใหญ่ ใช้ ถูกต้องเปน็ บางวรรค ใช้ระดบั เสียง แสดง ระดบั เสยี ง แสดง ระดับเสยี งราบเรยี บ อารมณ์ตามบท อารมณ์ ไมแ่ สดงอารมณ์ ประพันธ์ ตามบทประพนั ธ์ได้ ได้ดี พอใช้ เกณฑ์การประเมินการผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรงุ คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง หน่วยที่ ๒ กาพยเ์ ห่ชมเครอ่ื งคาวหวาน เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี ๒ แผนการเรยี นรู้ที่ ๒๓ ภาพอาหาร คาวหวานเลศิ รส ครผู ้สู อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ วนั ท่ีสอน.................................................................................. 1. สาระสาคญั กาพย์เห่ชมเคร่ืองคาวหวาน เป็นวรรณคดที สี่ ะทอ้ นการรับประทานอาหารท่เี ป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรม ของคนไทยท่ีสบื เนอื่ งจากอดีตจนถึงปจั จุบนั 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพื่อนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการดาเนนิ ชวี ติ และมีนิสัยรักการอา่ น 3. ตวั ช้วี ดั ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จับใจความสาคัญจากเร่อื งที่อ่าน 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) - ระบุชื่ออาหารท่ีปรากฏในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน - อธิบายลักษณะอาหารทป่ี รากฏในกาพย์เหช่ มเคร่ืองคาวหวาน 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) ค้นควา้ และบนั ทกึ ข้อมูลเพิ่มเตมิ เกีย่ วกบั อาหารทปี่ รากฏในกาพย์เห่ชมเคร่ืองคาวหวาน 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) เห็นความสาคญั ของการศึกษาวรรณคดเี พ่ืออนุรกั ษว์ ฒั นธรรมไทย 5. สาระการเรียนรู้ อาหารคาวของไทย 6. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน นกั เรยี นร่วมกันสนทนาและแสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับเสน่หข์ องอาหารไทยทีช่ าวตา่ งชาตติ ่างติดใจ ขน้ั พัฒนาผเู้ รียน ๑. นักเรียนอา่ นกาพยเ์ หช่ มเครื่องคาวหวานอีกครง้ั แล้วช่วยกนั บอกชอื่ อาหารคาวทป่ี รากฏในเรื่อง ครชู ่วยเพม่ิ เติมหากนักเรียนบอกไม่ครบ และอธิบายให้นักเรยี นเข้าใจความหมาย ในบทรอ้ ยกรอง ๒. นกั เรยี นดภู าพอาหารท่ีครเู ตรียมไว้ทีละภาพ แล้วลองบอกว่าเปน็ อาหารชนิดใด ภาพท่ีนกั เรียนบอก ไมไ่ ดค้ รชู ว่ ยแนะนา เมื่อนกั เรียนบอกชื่ออาหารถูกต้อง ครนู าภาพตดิ บนกระดาน พรอ้ มตดิ บตั รคาซง่ึ มชี ่อื อาหาร ไวใ้ ตภ้ าพ ช่ืออาหารท่ใี ชท้ ากจิ กรรมมดี ังน้ี

นา้ ยาแกงขม พล่าเน้อื สด มัสมัน่ หร่มุ ล่าเตียง แกงคั่วส้ม ก้อยกงุ้ แสรง้ ว่า ตบั เหลก็ ลวก รังนก ยาใหญ่ ออ่ ม แกงเทโพ หมูแนม ๓. นกั เรยี นร่วมกนั สนทนาเก่ยี วกับรายการอาหารบนกระดานวา่ รู้จักอาหารชนิดใดบ้าง นกั เรียนที่เคย เห็นหรอื เคยรับประทานอาหารชนิดใด ใหช้ ่วยกนั อธบิ ายลกั ษณะ สว่ นผสม หรือรสชาติ ๔. นักเรยี นแบ่งเป็น ๕ กลมุ่ ช่วยกันค้นควา้ ข้อมูลเพ่มิ เติมเกยี่ วกับอาหารตา่ ง ๆ ใน กาพย์เหช่ มเครอื่ งคาวหวานท่ีเป็นบทเรียน แล้วเขยี นบนั ทกึ ไว้ ซึง่ แต่ละกลุ่มจะไดร้ ับมอบหมาย ดงั น้ี กลุ่มที่ ๑ มัสมนั่ ยาใหญ่ ตบั เหลก็ ลวก กลุ่มที่ ๒ หมูแนม ก้อยกุ้ง แกงเทโพ กลมุ่ ท่ี ๓ นา้ ยาแกงขม ออ่ ม ขา้ วหงุ กลมุ่ ที่ ๔ แกงค่วั ส้ม พล่าเนอื้ สด ลา่ เตียง กลมุ่ ที่ ๕ หรุ่ม รงั นก ไตปลา (ครูควรมอบหมายใหน้ ักเรียนทากิจกรรมนนี้ อกเวลาเรยี น แลว้ นาข้อมูลทบี่ ันทกึ ไว้ มาใช้ทา กิจกรรมต่อไปในเวลาเรยี น) ๕. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมานาเสนอหน้าชัน้ เรียน ครูชว่ ยอธิบายเพิม่ เติม ขน้ั สรปุ นักเรียนและครรู ว่ มกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี กาพย์เห่ชมเครอ่ื งคาวหวาน เปน็ วรรณคดีที่สะท้อนการ รบั ประทานอาหารทเ่ี ป็นเอกลักษณ์ทางวฒั นธรรมของคนไทยทส่ี ืบเนือ่ งจากอดีตจนถึงปัจจุบนั 7. สือ่ การเรยี นรู้ ๑. ภาพ ๒. บัตรคา

8. การวัดผลประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลกั ฐาน เคร่ืองมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ สาระสาคัญ แบบฝึกหดั แบบประเมิน รอ้ ยละ ๖๐ กาพย์เห่ชมเคร่ืองคาวหวาน “ภาพอาหาร แบบฝกึ หัด ผ่านเกณฑ์ เปน็ วรรณคดีทส่ี ะทอ้ นการ คาวหวานเลิศรส” “ภาพอาหาร รบั ประทานอาหารทเี่ ปน็ เอกลักษณ์ คาวหวานเลิศรส” ร้อยละ ๖๐ ทางวฒั นธรรมของคนไทยท่ี แบบฝกึ หัด ผ่านเกณฑ์ สบื เนื่องจากอดีตจนถึงปจั จบุ ัน “ภาพอาหาร แบบประเมิน ตวั ชี้วัด คาวหวานเลศิ รส” แบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ - ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จบั ใจความ “ภาพอาหาร ผา่ นเกณฑ์ สาคัญจากเรื่องที่อ่าน แบบฝกึ หดั คาวหวานเลิศรส” “ภาพอาหาร แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ คาวหวานเลิศรส” แบบฝกึ หดั เห็นความสาคญั ของการศึกษา “ภาพอาหาร คาวหวานเลิศรส” วรรณคดเี พ่ืออนรุ ักษว์ ัฒนธรรมไทย

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รบู รกิ ส์) ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรงุ ระบุชือ่ อาหารได้ตรง (๓) ดี (๒) พอใช้ ระบชุ ื่ออาหารได้ไม่ ๑. นักเรยี นระบชุ ่ือ ประเด็น ระบชุ ่อื อาหารได้ ระบชุ ื่ออาหารไดต้ รง ตรงประเดน็ อาหารท่ีปรากฏใน คอ่ นข้างตรงประเด็น ประเดน็ บ้าง กาพยเ์ หช่ มเคร่อื ง คน้ หาคาศัพท์ ได้ ค้นหาคาศัพท์ คาวหวาน (K) รวดเร็วและถูกต้อง การค้นหาคาศัพท์ การคน้ หาคาศัพท์ มี ไดไ้ ม่รวดเร็วนกั 2. นกั เรียนคน้ คว้า ทุกคา แตก่ ็มีความ และบนั ทึกข้อมลู มีตดิ ขดั บา้ งบางคา ตดิ ขัดอย่หู ลายคา แต่ พยายามและ เพิ่มเติมเก่ยี วกับ นักเรียนใช้คาใน ถกู ต้องทุกคา อาหารท่ีปรากฏใน ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง นอกน้ันก็สามารถ นอกน้นั ก็ กาพยเ์ ห่ชมเครือ่ ง ตามอักขรวิธี ใช้คาได้ นกั เรยี นใชค้ าใน คาวหวาน (P) ถูกบรบิ ทและ คน้ หาได้อย่างรวดเรว็ ใช้เวลาคน้ หาไม่มาก ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ๓. นักเรียนเหน็ กาลเทศะ เขยี นคา เขียนคาพ้ืนฐาน ความสาคัญของ พ้นื ฐานได้ถูกต้อง และถูกตอ้ งทุกคา นกั ภาษาไทยไม่ถูกต้อง การศึกษาวรรณคดี ทงั้ หมด เพ่อื อนรุ กั ษ์ และถูกต้องทุกคา วัฒนธรรมไทย (A) นกั เรยี นใช้คาใน นักเรียนใชค้ าใน ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ตามอักขรวธิ ี ใช้คาได้ เขยี นยงั ไมถ่ ูกตอ้ งตาม ถกู บรบิ ทและกาลเทศะ อกั ขรวิธี เขียนคา เขียนคาพื้นฐานมี พน้ื ฐานได้ถูกต้องบ้าง ขอ้ ผดิ พลาดเลก็ น้อย เกณฑก์ ารประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรงุ คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือว่าผ่านเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง หน่วยที่ ๒ กาพยเ์ หช่ มเครอ่ื งคาวหวาน เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ ๒ แผนการเรียนรทู้ ี่ ๒๔ เสยี งวรรณยุกต์ ครผู ู้สอน นางสาวจริ าพร กุลให้ วันที่สอน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ เสียงวรรณยุกต์เป็นเสียงสูงต่าที่เกิดข้ึนร่วมกับเสียงสระ เม่ือเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ในพยางค์หรือคา ความหมายก็จะเปล่ียนไปดว้ ย พยางค์ทุกพยางค์มีเสียงวรรณยุกต์ แต่บางพยางคม์ ีเสียงไมต่ รงกบั รปู วรรณยกุ ต์ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ เพอื่ นาไปใชต้ ัดสินใจ แกป้ ัญหาในการดาเนินชีวิต และมีนสิ ยั รักการอา่ น มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิ ของชาติ 3. ตัวช้ีวดั ท ๑.๑ ม. ๑/๕ ตีความคายากในเอกสารวิชาการโดยพิจารณาจากบริบท ท ๔.๑ ม. ๑/๑ อธิบายลกั ษณะของเสียงในภาษาไทย 4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธิบายเสยี งวรรณยกุ ต์ของคาในภาษาไทย 2. ทักษะกระบวนการ (P) ตีความคาศพั ทจ์ ากวรรณคดี 3. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) เหน็ ความสาคัญของการศึกษาเสียงวรรณยุกตเ์ พ่ือประโยชน์ในการสอ่ื ความหมายของคา 5. สาระการเรียนรู้ เสยี งวรรณยกุ ต์ 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั นาเข้าสบู่ ทเรียน นักเรยี นบอกชอื่ นักแสดงหรือนกั รอ้ งซ่ึงกาลังเปน็ ทีน่ ิยม ๒-๓ คน ครเู ขยี นชื่อบนกระดาน ขน้ั พฒั นาผู้เรยี น ๑. นกั เรียนใชค้ วามรเู้ ร่อื งเสยี งวรรณยุกต์ท่ีเคยเรียนมา ชว่ ยกนั วเิ คราะห์เสยี งวรรณยุกต์ของชื่อบน กระดาน ๒. นกั เรียนศกึ ษาความรู้เรอ่ื ง เสยี งวรรณยุกต์ แล้วร่วมกันสนทนาในประเด็นตอ่ ไปนี้ พร้อมทัง้ ยกตวั อย่างคา

- เสียงวรรณยุกต์เกิดขนึ้ ได้อย่างไร - เมอื่ มีการเปลีย่ นเสียงวรรณยกุ ตใ์ นพยางคห์ รือคาจะเกดิ อะไรขนึ้ - หน่วยเสียงวรรณยกุ ตใ์ นภาษาไทยมกี หี่ น่วยเสียง - พยางค์ทุกพยางค์มีเสยี งวรรณยกุ ตเ์ สมอ หมายความว่าอย่างไร - พยางคห์ รอื คาท่ีมีรปู วรรณยุกตไ์ ม่จาเปน็ ตอ้ งมหี นว่ ยเสียงตามวรรณยกุ ตน์ นั้ ๆ หมายความวา่ อย่างไร - การออกเสยี งคาในชวี ิตประจาวันบางคาอาจออกเสียงวรรณยุกต์ไม่ตรงกบั กฎเกณฑ์ทางภาษา ๓. ครูอธบิ ายสรุปเปน็ ความรูเ้ พิม่ เติม และให้นักเรยี นบันทึกสาระสาคัญ ๔. นกั เรยี นจับคู่หรือแบง่ กลุ่ม ๓ คน ตามความเหมาะสม จับฉลากเลอื กบทกาพยเ์ ห่ชมเครื่องคาว หวาน ๑ บท แล้วชว่ ยกันวิเคราะหเ์ สียงวรรณยกุ ต์ของแต่ละพยางคใ์ นบทรอ้ ยกรอง บทน้ัน แล้วออกมานาเสนอ ข้อมลู เช่น หมูแนมแหลมเลิศรส พร้อมพริกสดใบทองหลาง พศิ ห่อเห็นรางชาง ห่างหอ่ หวนปว่ นใจโหย วเิ คราะหเ์ สียงวรรณยุกต์ได้ดงั นี้ ตรี ตรี เอก สามัญ สามัญ จตั วา จตั วา สามัญ จตั วา โท ตรี เอก เอก จตั วา เอก สามัญ จตั วา ตรี เอก จตั วา สามญั สามญั ๕. นกั เรียนสังเกตการเล่นเสียงวรรณยุกต์สงู ๆ ตา่ ๆ เหมือนเสียงดนตรขี องคาในบทร้อยกรอง แล้ว รว่ มกันแสดงความร้สู ึกหรือความคิดเห็น ๖. นักเรียนร่วมกนั อา่ นบทร้อยกรองที่ครตู ิดบนกระดานทลี ะบท วเิ คราะหค์ าที่ขดี เส้นใต้ แล้วบอก เสียงวรรณยุกต์ ระดบั ของหน่วยเสยี งวรรณยกุ ต์ และความหมายของคาครชู ว่ ยตรวจสอบความถูกตอ้ ง เหน็ หรุ่มรุมทรวงเศร้า รุ่มรุม่ เร้าคือไฟฟอน เจบ็ ไกลใจอาวรณ์ รอ้ นรุมรุม่ กลมุ้ กลางทรวง ยาใหญใ่ สส่ ารพดั วางจานจดั หลายเหลือตรา รสดดี ้วยนา้ ปลา ญี่ปุ่นล้าย้ายวนใจ ขัน้ สรปุ นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดังน้ี เสยี งวรรณยุกต์เป็นเสียงสงู ต่าทีเ่ กดิ ขึน้ รว่ มกับเสยี งสระ เม่อื เปลยี่ นเสยี งวรรณยกุ ต์ในพยางค์หรือคา ความหมายกจ็ ะเปลี่ยนไปด้วย พยางค์ทุกพยางค์มเี สียงวรรณยกุ ต์ แต่ บางพยางค์ มเี สียงไม่ตรงกับรูปวรรณยกุ ต์ 7. สือ่ การเรียนรู้ ๑. ฉลาก ๒. แถบข้อความ

8. การวัดผลประเมินผล หลกั ฐาน เคร่อื งมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ เป้าหมาย แบบฝึกหัด แบบประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ สาระสาคญั “วรรณยุกต์ แบบฝึกหดั เปลี่ยนเสียง” “วรรณยกุ ต์ เสยี งวรรณยุกตเ์ ป็นเสยี งสงู เปลี่ยนเสียง” ต่าท่ีเกิดขึน้ รว่ มกับเสยี งสระ เมื่อ แบบฝกึ หดั เปลี่ยนเสยี งวรรณยุกตใ์ นพยางค์ “วรรณยกุ ต์ แบบประเมิน รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ หรือคา ความหมายกจ็ ะเปลย่ี นไป เปลี่ยนเสยี ง” แบบฝกึ หดั ดว้ ย พยางค์ทุกพยางค์มีเสียง “วรรณยกุ ต์ วรรณยกุ ต์ แตบ่ างพยางคม์ เี สียงไม่ แบบฝึกหัด เปลย่ี นเสยี ง” ตรงกับรปู วรรณยุกต์ “วรรณยกุ ต์ ตัวช้วี ดั เปล่ียนเสยี ง” แบบประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ - ท ๑.๑ ม. ๑/๕ ตีความคายากใน แบบฝึกหดั เอกสารวิชาการโดยพิจารณาจาก “วรรณยกุ ต์ บริบท เปลี่ยนเสยี ง” - ท ๔.๑ ม. ๑/๑ อธบิ ายลักษณะ ของเสียงในภาษาไทย คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เห็นความสาคัญของการศกึ ษา เสยี งวรรณยกุ ต์เพื่อประโยชน์ในการ สอ่ื ความหมายของคา

เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู ริกส์) ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง ๑. นกั เรียนอธิบาย เสยี งวรรณยกุ ตข์ อง นกั เรยี นตอบคาถาม (๓) ดี (๒) พอใช้ นกั เรยี นตอบ คาในภาษาไทย (K) ได้ถูกต้องชัดเจน คาถามได้ แสดงเหตผุ ลในการ นกั เรียนตอบ นกั เรียนตอบคาถาม ไมแ่ สดงเหตุผลใน 2. นักเรียนตีความ ตอบคาถามไดช้ ัดเจน คาถามไดถ้ ูกต้อง ไดถ้ ูกตอ้ ง แสดง การตอบคาถาม คาศัพท์จากวรรณคดี ตอบคาถามไดอ้ ย่าง แสดงเหตผุ ลในการ เหตผุ ลในการตอบ (P) ตอ่ เน่ืองครบถว้ น ตอบคาถามได้ คาถามได้ ตอบคาถามได้ ชดั เจน ตอบคาถาม สมั พันธก์ ับหัวข้อที่ ได้อย่างตอ่ เน่ือง กาหนด ครบถว้ น นกั เรียนตคี วาม นักเรียนตคี วาม นกั เรียนตีความคาศัพท์ นักเรียนตีความ คาศัพทจ์ ากวรรณคดี ได้อย่างละเอยี ด คาศัพทจ์ ากวรรณคดี จากวรรณคดีได้บ้าง คาศัพท์จากวรรณคดี ไดค้ ่อนขา้ งละเอียด ไมไ่ ด้ ได้ 10 -9 คะแนน ได้ 8-7 คะแนน ได้ 6-5 คะแนน ได้ 4-0 คะแนน ๓. นกั เรียนเหน็ นกั เรียนใช้คาใน นกั เรียนใช้คาใน นกั เรียนใชค้ าใน นักเรียนใชค้ าใน ภาษาไทยไม่ถูกต้อง ความสาคญั ของ ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง การศกึ ษาเสียง ตามอักขรวธิ ี ใชค้ าได้ ตามอักขรวิธี ใชค้ า เขียนยงั ไม่ถูกตอ้ ง วรรณยุกต์เพื่อ ถกู บริบท ไดถ้ ูกบริบท ตาม อักขรวธิ ี ประโยชนใ์ นการสอ่ื ความหมายของคา(A) เกณฑก์ ารประเมินการผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรงุ คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง หนว่ ยที่ ๒ กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรยี นที่ ๒ แผนการเรยี นรู้ท่ี ๒๕ โวหารภาพพจน์ ครผู ู้สอน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ วนั ทส่ี อน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ การประพันธบ์ ทรอ้ ยกรองให้ไพเราะจะมีกลวิธกี ารเลอื กใชค้ าและการใช้โวหารภาพพจน์ ตา่ ง ๆ ซ่งึ ตอ้ ง เรียนรแู้ ละฝึกฝน 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทย อย่างเหน็ คุณคา่ และนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ 3. ตัวชี้วัด ท ๕.๑ ม. ๑/๒ วิเคราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ นพร้อมยกเหตุผลประกอบ 4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธิบายศิลปะการประพันธ์และโวหารภาพพจน์ในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) วิเคราะห์ศิลปะการประพันธแ์ ละโวหารภาพพจน์ในกาพยเ์ ห่ชมเคร่ืองคาวหวาน 3. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) เห็นความสาคญั ของศลิ ปะการประพนั ธ์และโวหารภาพพจน์ที่ทาใหค้ าประพันธ์ มคี วามไพเราะ 5. สาระการเรียนรู้ ศลิ ปะการประพันธ์และโวหารภาพพจน์ 6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรียน นกั เรียนร่วมกันแสดงความคดิ เห็นว่า เนือ้ เพลงท่นี ามาร้องแลว้ ไพเราะติดหูผ้ฟู งั มกั จะมลี ักษณะ อยา่ งไร ขั้นพัฒนาผเู้ รยี น ๑. นกั เรียนสังเกตกาพยเ์ ห่ชมเคร่อื งคาวหวานวา่ มีลักษณะใดท่ตี รงกับลักษณะของ เนือ้ เพลงบ้าง เชน่ การเล่นเสยี งสมั ผสั การเล่นคาซ้า การใชค้ วามเปรยี บ การกล่าวถึงคนทรี่ กั ๒. นกั เรียนนากาพยเ์ หช่ มเคร่ืองคาวหวานมาเปน็ เนื้อเพลง แลว้ ชว่ ยกนั เลอื กทานองเพลง ๒-๓ ทานอง มาร่วมกนั ร้อง

๓. นักเรยี นรว่ มกันสนทนาเก่ียวกบั ลกั ษณะการประพันธท์ ่ีทาให้กาพยเ์ ห่ชมเครื่องคาวหวานมีความ ไพเราะ ๔. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่ม ศึกษาความรู้เรื่อง กลวิธีการประพันธ์ แล้วร่วมกันสรุปความเข้าใจ จากนั้นนาความรู้ที่ไดม้ าวิเคราะหก์ ลวิธีการประพันธ์ในกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน เมื่อทากิจกรรมในแตล่ ะฐาน ใหน้ ักเรยี นเขียนบนั ทกึ ความรู้และตัวอยา่ ง ฐานการเรียนร้ทู ั้ง ๕ ฐานประกอบด้วย ฐานการเรียนรทู้ ี่ ๑ การเลน่ เสยี งสมั ผสั ฐานการเรยี นรทู้ ี่ ๒ การเลน่ เสยี งวรรณยกุ ต์ ฐานการเรยี นรทู้ ่ี ๓ การเล่นคา ฐานการเรยี นร้ทู ่ี ๔ การใชไ้ วพจน์ ฐานการเรียนรทู้ ่ี ๕ การใชโ้ วหารภาพพจน์ ครกู าหนดเวลาใหน้ ักเรยี นทากิจกรรมในแต่ละฐานตามความเหมาะสม ๕. นกั เรียนนาความรู้ทไ่ี ด้มาแลกเปล่ยี นและรว่ มกันสรปุ ความรู้ ขนั้ สรุป นกั เรียนและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้ ดงั น้ี การประพนั ธบ์ ทร้อยกรองให้ไพเราะจะมีกลวิธกี ารเลอื กใช้ คาและการใช้โวหาร-ภาพพจน์ต่าง ๆ ซงึ่ ตอ้ งเรยี นรู้และฝึกฝน 7. สื่อการเรียนรู้ ใบความรู้ 8. การวดั ผลประเมนิ ผล เป้าหมาย หลักฐาน เครื่องมือวดั เกณฑก์ ารประเมนิ สาระสาคญั แบบฝกึ หัด แบบประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ผ่าน การประพนั ธบ์ ทร้อยกรอง “กลวิธกี ารประพนั ธ์ แบบฝกึ หดั เกณฑ์ “กลวิธกี ารประพนั ธ์ ใหไ้ พเราะจะมีกลวิธีการเลือกใชค้ า กาพยเ์ ห่ชม” กาพย์เห่ชม” รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ น และการใช้โวหารภาพพจน์ ต่าง ๆ เกณฑ์ ซง่ึ ตอ้ งเรยี นรู้และฝกึ ฝน แบบฝึกหดั แบบประเมิน “กลวิธีการประพนั ธ์ แบบฝึกหัด ร้อยละ ๖๐ ผา่ น ตวั ชีว้ ดั “กลวิธีการประพันธ์ เกณฑ์ - ท ๕.๑ ม. ๑/๒ วิเคราะห์ กาพยเ์ หช่ ม” กาพย์เหช่ ม” วรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่าน พร้อมยกเหตุผลประกอบ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ แบบฝึกหดั แบบประเมนิ เห็นความสาคญั ของศลิ ปะการ “กลวิธกี ารประพันธ์ แบบฝึกหดั “กลวิธกี ารประพนั ธ์ ประพนั ธแ์ ละโวหารภาพพจน์ทีท่ า กาพย์เหช่ ม” กาพย์เห่ชม” ให้คาประพนั ธ์

เกณฑก์ ารประเมินผล (รบู รกิ ส์) ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรยี นอธิบาย นักเรยี นตอบคาถาม นักเรยี นตอบ นกั เรยี นตอบคาถามได้ นักเรยี นตอบคาถามได้ ศลิ ปะการประพันธ์ ไดถ้ ูกต้องชดั เจน คาถามได้ถูกต้อง ถูกต้อง แสดงเหตผุ ล ไม่แสดงเหตุผลในการ และโวหารภาพพจน์ แสดงเหตผุ ลในการ แสดงเหตผุ ลในการ ในการตอบคาถามได้ ตอบคาถาม ในกาพย์เหช่ มเครื่อง ตอบคาถามได้ชัดเจน ตอบคาถามได้ คาวหวาน (K) ตอบคาถามไดอ้ ย่าง ชดั เจน ตอบคาถาม ต่อเนื่องครบถว้ น ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง ตอบคาถามได้ ครบถ้วน สัมพนั ธ์กับหัวข้อที่ กาหนด 2. นกั เรยี นวิเคราะห์ นักเรียนวิเคราะห์ นกั เรยี นวิเคราะห์ นักเรยี นวิเคราะห์ ได้ นกั เรียนวิเคราะห์อย่าง ศลิ ปะการประพนั ธ์ ได้ หลายประเดน็ ไดห้ ลายประเด็น หลายประเด็น ซง่ึ บาง กว้าง ๆ ไม่ระบุประเด็น และโวหารภาพพจน์ ทกุ ประเด็น ลว้ น ทุกประเด็นลว้ น ประเด็นน่าสนใจและ ชัดเจน แต่กม็ ีเหตผุ ล ในกาพย์เห่ชมเครื่อง นา่ สนใจ มีเหตุผล น่าสนใจ มีเหตผุ ล แสดงเหตผุ ลท่ดี ี สรุป ประกอบทีส่ มั พันธ์กนั คาวหวาน (P) ประกอบน่าเชื่อถอื ประกอบท่ีดี สรุป ข้อคิด สรุปข้อคิดเพยี งสน้ั ๆ สรุปข้อคิดและเสนอ ขอ้ คิดและเสนอ และเสนอแนวทางทเี่ ป็น แตก่ ็เปน็ ประโยชน์ทดี่ ี แนวทางท่ีนาไปใช้ใน แนวทางทน่ี าไปใช้ ประโยชน์ ชวี ิตได้จริง ในชวี ิตได้ ๓. นกั เรยี นเหน็ นกั เรียนใช้คาใน นักเรยี นใชค้ าใน นกั เรียนใช้คาใน นักเรียนใช้คาใน ความสาคญั ของ ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไม่ถูกต้อง ศลิ ปะการประพันธ์ ตามอักขรวิธี ใชค้ าได้ ตามอักขรวิธี ใชค้ า เขยี นยงั ไม่ถูกตอ้ งตาม เขยี นคาพนื้ ฐาน และโวหารภาพพจน์ ถกู บรบิ ทและ ได้ถูกบรบิ ทและ อกั ขรวิธี เขยี นคา ภาษาไทยไม่ถูกต้อง ทีท่ าให้คาประพนั ธ์ กาลเทศะ เขยี นคา กาลเทศะ เขียนคา พน้ื ฐานได้ถูกต้องบา้ ง มีความไพเราะ (A) พ้ืนฐานได้ถูกต้อง พ้นื ฐานมี ท้งั หมด ขอ้ ผิดพลาด เลก็ น้อย เกณฑ์การประเมินการผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรุง คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง หนว่ ยที่ ๒ กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ ๒ แผนการเรยี นรทู้ ่ี ๒๖ กาพยย์ านี ๑๑ ครผู ูส้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ วนั ท่ีสอน.................................................................................. 1. สาระสาคญั กาพย์เหช่ มเครือ่ งคาวหวานเป็นวรรณคดไี ทยที่มีคุณค่า การฝึกแต่งกาพยเ์ ห่เพอื่ ชมอาหารไทยจงึ เปน็ การ สบื ทอดวรรณคดีไทยอย่างเห็นคณุ ค่าอีกทางหน่ึง 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิ ของชาติ 3. ตัวชว้ี ัด ท ๔.๑ ม. ๑/๕ แต่งบทร้อยกรอง 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายหลักการแต่งคาประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) แตง่ กาพยย์ านี ๑๑ ชมอาหารไทย 3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) เหน็ ความสาคัญของบทร้อยกรองทเี่ ปน็ วฒั นธรรมทางภาษาของไทย 5. สาระการเรยี นรู้ การแตง่ กาพยย์ านี ๑๑ 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขน้ั นาเข้าสู่บทเรยี น นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคิดเห็นว่า กวีสามารถแต่งคาประพนั ธ์ใหไ้ พเราะได้อย่างไร ขั้นพฒั นาผเู้ รยี น ๑. นกั เรียนรว่ มกันสนทนาเก่ียวกับอาหารไทยทชี่ อบรับประทาน เชน่ นา้ พริกกะปิ แกงเขียวหวาน ลกู ช้ินปลากราย แกงส้มดอกแค ๒. นกั เรียนทบทวนความรเู้ กี่ยวกบั หลักการแต่งคาประพนั ธป์ ระเภทกาพยย์ านี ๑๑ โดยร่วมกนั สนทนาในประเดน็ ตอ่ ไปนี้

- แผนผงั โครงสรา้ งคาประพันธ์ - ขอ้ บังคับในการแตง่ ๓. นกั เรียนสังเกตวธิ ีการบรรยายลักษณะและการพรรณนารสชาติของอาหารในกาพย์เห่ชมเครื่อง คาวหวาน แลว้ สนทนาร่วมกนั ๔. นักเรียนแต่งกาพย์เห่ชมอาหารไทย แบง่ กลุ่มกล่มุ ละ 3-5 คน ใหม้ ีเนอ้ื หาชมอาหารไทยประเภท อน่ื ๆ นอกเหนอื ไปจากทกี่ ล่าวไวใ้ นกาพย์เหช่ มเครอื่ งคาวหวาน โดยแตง่ กาพยย์ านี ๑๑ ไม่น้อยกว่า ๓ บท ๕. นักเรียนออกมานาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน โดยจะอ่านแบบธรรมดา อา่ นเปน็ ทานองเสนาะ ทานองเห่ หรือร้องเปน็ เพลงก็ได้ตามความสามารถ ๖. ครูและนักเรยี นรว่ มกันประเมินผลงานและเสนอแนะเพ่ือปรับปรุงแก้ไขข้อบกพรอ่ ง ขัน้ สรปุ นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้ ดงั น้ี กาพยเ์ ห่ชมเครอ่ื งคาวหวานเปน็ วรรณคดไี ทยที่มีคุณคา่ การฝึกแตง่ กาพย์เห่เพื่อชมอาหารไทยจงึ เปน็ การสืบทอดวรรณคดีไทยอย่างเห็นคุณค่าอีกทางหน่งึ 7. สื่อการเรียนรู้ แผนผังกาพยย์ านี ๑๑ 8. การวัดผลประเมนิ ผล หลกั ฐาน เครือ่ งมือวัด เกณฑ์การ ประเมนิ เปา้ หมาย แบบฝึกหดั แบบประเมินแบบฝึกหัด รอ้ ยละ ๖๐ สาระสาคัญ “การแต่งกาพย์ยานี 11 ” “การแต่งกาพยย์ านี 11 ” ผ่านเกณฑ์ กาพย์เหช่ มเครื่องคาว แบบฝกึ หดั แบบประเมนิ แบบฝึกหัด รอ้ ยละ ๖๐ หวานเป็นวรรณคดไี ทยทม่ี ี ผา่ นเกณฑ์ คุณค่า การฝึกแต่งกาพยเ์ หเ่ พื่อ “การแต่งกาพย์ยานี 11 ” “การแต่งกาพยย์ านี 11 ” ชมอาหารไทยจงึ เปน็ การสบื ทอดวรรณคดีไทยอย่างเห็น คุณคา่ อกี ทางหนึง่ ตวั ชว้ี ัด - ท ๔.๑ ม. ๑/๕ แตง่ บทร้อย กรอง คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ แบบฝึกหัด แบบประเมนิ แบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ เหน็ ความสาคัญของบท “การแตง่ กาพย์ยานี 11 ” “การแตง่ กาพยย์ านี 11 ” ผ่านเกณฑ์ ร้อยกรองที่เป็นวฒั นธรรมทาง ภาษาของไทย

เกณฑ์การประเมินผล (รบู รกิ ส)์ ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๑. นกั เรียนอธบิ าย หลักการแต่งคา (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง ประพนั ธ์ประเภท นักเรยี นตอบคาถามได้ กาพย์ยานี ๑๑ (K) นักเรียนตอบคาถาม นกั เรียนตอบ นักเรยี นตอบคาถามได้ ไมแ่ สดงเหตผุ ลในการ ตอบคาถาม 2. นกั เรยี นแตง่ ไดถ้ ูกตอ้ งชดั เจน คาถามได้ถูกต้อง ถูกต้อง แสดงเหตุผล กาพยย์ านี ๑๑ ชม ฉนั ทลักษณถ์ ูกต้อง อาหารไทย (P) แสดงเหตผุ ลในการ แสดงเหตุผลในการ ในการตอบคาถามได้ เนอื้ หาสมั พันธ์กับ หวั ขอ้ แต่บางวรรค ๓. นกั เรยี นเหน็ ตอบคาถามได้อย่าง ตอบคาถามได้ ไม่สอ่ื ความหมาย ความสาคญั ของบท ร้อยกรองท่เี ปน็ ตอ่ เน่ืองครบถ้วน ชดั เจน ตอบคาถาม นกั เรียนใช้คาใน วฒั นธรรมทางภาษา ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ของไทย (A) ตอบคาถามได้ ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง เขยี นคาพ้ืนฐาน ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง สมั พันธ์กบั หวั ข้อท่ี ครบถ้วน กาหนด ฉนั ทลักษณถ์ ูกตอ้ ง ฉันทลกั ษณถ์ ูกต้อง ฉนั ทลักษณ์ถูกต้อง เนื้อหาลึกซึง้ กนิ ใจ เนอ้ื หาลกึ ซ้ึงกนิ ใจ เนอื้ หาดี สอ่ื ความหมาย แตล่ ะบาท สือ่ ความหมาย สอดคลอ้ งกนั ท้ังบท สือ่ ความหมายชดั เจน สอดคลอ้ งกันท้ังบท เลือกใช้คาไพเราะ มีสัมผัสในบางแห่ง มีสมั ผสั ในหลายแห่ง นกั เรียนใชค้ าใน นักเรยี นใช้คาใน นกั เรยี นใชค้ าใน ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ตามอักขรวิธี ใช้คาได้ ตามอักขรวธิ ี ใช้คา เขยี นยงั ไม่ถกู ต้องตาม ถกู บรบิ ทและ ได้ถูกบริบทและ อกั ขรวธิ ี เขียนคา เหมาะสม เขยี นคา เหมาะเขยี นคา พ้ืนฐานได้ถกู ต้องบ้าง พนื้ ฐานได้ถกู ต้อง พ้ืนฐานมี ทั้งหมด ขอ้ ผิดพลาด เลก็ นอ้ ย เกณฑ์การประเมินการผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรงุ คะแนนร้อยละ ๖๐ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง หน่วยท่ี ๒ กาพย์เหช่ มเคร่อื งคาวหวาน เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี ๒ แผนการเรียนร้ทู ี่ ๒๗ การแยกขอ้ เท็จจริงและข้อคดิ เห็น ครูผสู้ อน นางสาวจิราพร กุลให้ วนั ทส่ี อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั การจับใจความและวิเคราะห์เรื่องท่ีอ่าน ทาให้เข้าใจสาระสาคัญของเรื่อง ทราบข้อมูลท่ีเป็นข้อเท็จจริง และขอ้ คดิ เหน็ ของผูเ้ ขยี น เปน็ การขยายความรู้และความคิดของผอู้ ่านให้กวา้ งย่งิ ขึ้น 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนินชวี ิต และมีนสิ ยั รกั การอา่ น 3. ตัวชว้ี ัด ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จับใจความสาคญั จากเรื่องท่ีอ่าน ท ๑.๑ ม. ๑/๓ ระบเุ หตุและผล และข้อเท็จจริงกบั ข้อคดิ เหน็ จากเรอ่ื งที่อ่าน ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการอา่ น 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายลกั ษณะของขอ้ มลู ทีเ่ ป็นขอ้ เท็จจรงิ และข้อคดิ เห็น 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) - จบั ใจความสาคญั ของเร่ืองท่ีอ่าน - วเิ คราะหข์ อ้ เท็จจริงและข้อคิดเห็น - ระบเุ หตุและผลท่ปี รากฏในเรอื่ งท่ีอา่ น 3. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) เห็นความสาคญั ของการวเิ คราะหเ์ รอื่ งท่ีอ่านอย่างมีเหตผุ ล 5. สาระการเรยี นรู้ การแยกขอ้ เท็จจริงและข้อคิดเหน็ 6. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรยี น นักเรียนร่วมกันแสดงความคดิ เห็นวา่ การอ่านอยา่ งไรจงึ จัดว่าเปน็ การอา่ นท่ีมีประสิทธิภาพ ขน้ั พัฒนาผู้เรยี น ๑. นกั เรยี นทบทวนความรู้เร่ือง การอ่านจับใจความ โดยรว่ มกันสนทนาในประเดน็ ต่อไปน้ี - การอา่ นจบั ใจความมีหลักการอย่างไร

- หลักการแตล่ ะข้อมีวธิ ีปฏิบัตอิ ยา่ งไร ๒. นกั เรียนช่วยกนั อธิบายลักษณะของข้อมลู ทเี่ ปน็ ข้อเท็จจรงิ และข้อคดิ เหน็ เพ่ือทบทวนความรู้ท่ี เคยเรยี นมา พร้อมทงั้ ยกตัวอย่าง ครูช่วยอธิบายเพม่ิ เติม ๓. นักเรยี นแบง่ กลุม่ กลุ่มละไมเ่ กนิ ๕ คน ครูแจกหนงั สอื พิมพใ์ ห้กลุม่ ละ ๑ ฉบบั โดยไม่ซา้ สานักพมิ พ์กนั พรอ้ มกบั กระดาษสาหรับเขยี นบนั ทึกคนละ ๑ แผ่น ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มเลือกอ่านบทความท่ีสนใจ กลุ่มละ ๑-๒ เรื่อง แล้วช่วยกันจับใจความ พร้อม ท้ังวิเคราะห์ข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากบทความเหล่าน้ัน เขียนบันทึกลงในกระดาษ จากนั้นแสดงความ คิดเห็นของกลุ่มนักเรียนลงในตอนท้ายว่า นักเรียนเห็นด้วยกับข้อคิดเห็นของผู้เขียนบทความหรือไม่ เพราะเหตุ ใด ๕. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ออกมาช่วยกนั นาเสนอผลงานหน้าชนั้ เรยี น ครูและนกั เรียนรว่ มกันตรวจสอบ ความถูกต้อง และแสดงความคิดเห็นเพ่ิมเตมิ ขน้ั สรุป นกั เรยี นและครรู ่วมกนั สรปุ ความรู้ ดงั น้ี การจับใจความและวิเคราะห์เร่ืองท่ีอ่าน ทาใหเ้ ข้าใจ สาระสาคญั ของเรื่อง ทราบข้อมูล ทเี่ ปน็ ข้อเทจ็ จริงและข้อคิดเห็นของผู้เขียน เป็นการขยายความรแู้ ละ ความคดิ ของผู้อ่านให้กวา้ งยิง่ ขึน้ 7. สอ่ื การเรียนรู้ หนังสอื พิมพ์ 8. การวดั ผลประเมนิ ผล หลักฐาน เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน เป้าหมาย แบบฝกึ หัด แบบประเมิน รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ สาระสาคัญ “การแยก แบบฝกึ หดั ข้อเท็จจริงและ “การแยก การจับใจความและ ขอ้ คิดเหน็ ” ข้อเท็จจริงและ วเิ คราะหเ์ รื่องทีอ่ ่าน ทาให้เข้าใจ ข้อคิดเห็น” สาระสาคัญของเร่ือง ทราบข้อมลู ที่ แบบฝึกหดั เป็นข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเห็นของ “การแยก แบบประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ ผู้เขียน เปน็ การขยายความรู้และ ขอ้ เท็จจรงิ และ แบบฝกึ หัด ความคดิ ของผู้อ่านให้กวา้ งย่ิงขึน้ ข้อคิดเห็น” “การแยก ตวั ชี้วัด ขอ้ เท็จจรงิ และ - ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จับใจความสาคัญ ข้อคิดเหน็ ” จากเรือ่ งทอี่ ่าน - ท ๑.๑ ม. ๑/๓ ระบเุ หตุและผล และข้อเทจ็ จรงิ กบั ข้อคดิ เหน็ จาก เร่อื งที่อ่าน - ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มมี ารยาทในการ อา่ น

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ แบบฝกึ หัด แบบประเมนิ รอ้ ยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ เหน็ ความสาคญั ของการ “การแยก แบบฝกึ หดั ข้อเทจ็ จรงิ และ “การแยก วเิ คราะหเ์ รอื่ งทอี่ ่านอยา่ งมเี หตผุ ล ขอ้ คิดเหน็ ” ข้อเทจ็ จรงิ และ ข้อคิดเหน็ ” เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รบู รกิ ส)์ ประเด็นการประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรยี นอธบิ าย นักเรยี นตอบคาถาม นกั เรยี นตอบคาถาม นักเรียนตอบคาถามได้ นกั เรยี นตอบ ลกั ษณะของข้อมลู ท่ี ไดถ้ ูกตอ้ งชัดเจน ไดถ้ ูกต้อง ถูกต้อง แสดงเหตผุ ลใน คาถามได้ เปน็ ข้อเทจ็ จริงและ แสดงเหตุผลในการ แสดงเหตผุ ลในการ การตอบคาถามได้ ไม่แสดงเหตผุ ลใน ขอ้ คิดเห็น (K) ตอบคาถามได้ชดั เจน ตอบคาถามได้ชัดเจน การตอบคาถาม ตอบคาถามได้อย่าง ตอบคาถามได้ ดีมาก ค่อนข้างดี 2. นักเรยี นจบั นกั เรียนจับใจความได้ นักเรยี นจับใจความได้ นักเรียนจับใจความไดบ้ า้ ง นกั เรียนจบั ใจความ ใจความสาคญั ของ เรอื่ งท่ีอ่านวเิ คราะห์ ละเอียดครบถว้ น และ ค่อนข้าง ละเอยี ด และสามารถแยก ไมไ่ ด้ และสามารถ ข้อเท็จจริงและ ข้อคิดเห็น (P) สามารถแยกข้อคดิ เห็น ครบถ้วน และสามารถ ข้อคิดเหน็ ข้อเทจ็ จรงิ แยกข้อคดิ เห็น ๓. นกั เรียนเหน็ ขอ้ เท็จจริง แยกข้อคิดเหน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ความสาคัญของการ วิเคราะหเ์ รือ่ งทอ่ี ่าน ข้อเท็จจริง อย่างมีเหตุผล (A) ได้ 10 -9 คะแนน ได้ 8-7 คะแนน ได้ 6-5 คะแนน ได้ 4-0 คะแนน นกั เรยี นอา่ นในใจ ไม่ นกั เรยี นอ่านในใจ ไม่ นกั เรยี นอา่ นในใจ สง่ นกั เรยี นอ่านในใจ อา่ นเสยี งดังรบกวน อา่ นเสยี งดังรบกวน เสยี งดงั รบกวนผอู้ ืน่ เป็นบางครง้ั แต่สง่ ผู้อื่น หยบิ จับ หรือ ผู้อนื่ นง่ั อ่านใน เล็กนอ้ ย น่ังอา่ นใน เสียงดังรบกวนผอู้ ่นื เปิดหนงั สอื อย่างเบา ทา่ ทางสบาย ตัวตรง ทา่ ทางสบาย ของตวั เอง ไมค่ ่อยอยู่กบั ที่ มอื นงั่ อา่ นในท่าทาง ทา่ ทางสภุ าพ สบาย ตวั ตรง ท่าทาง สุภาพ เกณฑ์การประเมินการผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรงุ คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรียนรู้ กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง หนว่ ยท่ี ๒ กาพย์เห่ชมเครอื่ งคาวหวาน เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ ๒ แผนการเรยี นรทู้ ี่ ๒๘ ส่อื โน้มนา้ วใจ ครูผ้สู อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ วันท่ีสอน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ การวิเคราะห์ข้อเท็จจรงิ ข้อคิดเหน็ และความสมเหตสุ มผลของเรื่อง ทาใหผ้ รู้ ับสารสามารถประเมินความ นา่ เชือ่ ถือของเรอื่ งนัน้ ได้ชดั เจนและแมน่ ยา 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรสู้ ึกในโอกาสต่าง ๆ อยา่ งมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์ 3. ตวั ช้วี ดั ท ๓.๑ ม. ๑/๔ ประเมนิ ความน่าเช่อื ถือของส่ือทม่ี ีเนื้อหาโน้มน้าวใจ 4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธิบายลกั ษณะของส่ือทม่ี ีเนอ้ื หาโน้มนา้ วใจ 2. ทักษะกระบวนการ (P) - วเิ คราะหข์ อ้ เท็จจรงิ ข้อคดิ เห็น และความสมเหตสุ มผลของเนือ้ หา - ประเมนิ ความนา่ เชื่อถือของเนอ้ื หาดว้ ยเหตผุ ล 3. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) เหน็ ความสาคญั ในการอา่ น เขยี น และอธิบายความหมายของคาศัพท์ไดถ้ ูกตอ้ ง เพื่อนาไปใช้ใน การเรยี นและชวี ิตประจาวนั 5. สาระการเรยี นรู้ การประเมนิ ความน่าเช่ือถือของส่อื ทีม่ เี น้ือหาโนม้ น้าวใจ 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั นาเขา้ ส่บู ทเรยี น นักเรยี นร่วมกันสนทนาและแลกเปลย่ี นประสบการณ์เกย่ี วกบั การหลงเชื่อโฆษณาต่าง ๆ วเิ คราะห์ และอภิปรายสาเหตุและผลทไี่ ดร้ บั ขน้ั พฒั นาผเู้ รยี น ๑. นักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับลักษณะของสื่อที่มีเนื้อหาโน้มน้าวใจ เช่น โฆษณา ประกาศ ข้อความชวนเช่ือ บทความเชิญชวนหรอื รณรงค์ ครชู ่วยอธิบายเพิ่มเติม

๒. นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๔ กลุ่ม ระดมความคิดและอภิปรายเพ่ือประเมินความน่าเช่ือถือของโฆษณา ทางสอ่ื ตา่ ง ๆ ดังน้ี กล่มุ ที่ ๑ โฆษณาทางวทิ ยุ กลุม่ ท่ี ๒ โฆษณาทางโทรทัศน์ กลุ่มท่ี ๓ โฆษณาทางหนงั สือพมิ พห์ รอื นิตยสาร กลมุ่ ที่ ๔ โฆษณาทางอินเทอรเ์ น็ต ๓. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ วิเคราะห์และประเมินคา่ ส่ือในประเด็นต่อไปนี้ - ลกั ษณะเดน่ ของโฆษณาท่ีปรากฏในสอื่ นัน้ - การใหข้ ้อมูลท่เี ป็นข้อเท็จจริง - การสรา้ งความนา่ เช่ือถือและแรงจูงใจ - ความสมเหตุสมผลหรือความเปน็ ไปได้ ๔. นกั เรียนแต่ละกลมุ่ สง่ ตัวแทนออกมานาเสนอความคิดเห็นหนา้ ชนั้ เรยี นทุกคนรว่ มกนั เสนอแนะ เพิม่ เติม ๕. นักเรียนรว่ มกนั สนทนาเก่ียวกับข่าวทีม่ ผี ู้โทรศัพทม์ าหลอกให้หลงเช่ือดว้ ยวิธีการและ สถานการณ์ต่าง ๆ ซงึ่ ผทู้ ีห่ ลงเช่อื กจ็ ะได้รับความเสยี หาย ใหน้ ักเรียนร่วมกันคิดหาแนวทางป้องกันตนเองและคน ใกล้ชิด ไมใ่ ห้หลงเช่ือข้อความดงั กล่าว ข้นั สรปุ นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรุปความรู้ ดงั น้ี การวเิ คราะห์ขอ้ เท็จจรงิ ข้อคดิ เหน็ และความสมเหตุสมผล ของเร่ือง ทาใหผ้ รู้ ับสาร สามารถประเมินความนา่ เชอ่ื ถือของเร่ืองน้ันได้ชัดเจนและแมน่ ยา 7. สื่อการเรยี นรู้ สื่อสิง่ พิมพ์และสอื่ อิเล็กทรอนิกส์ 8. การวดั ผลประเมนิ ผล หลกั ฐาน เคร่อื งมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ เป้าหมาย กิจกรรม แบบประเมนิ สาระสาคัญ “พินจิ โฆษณา กจิ กรรม รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ การวิเคราะหข์ ้อเทจ็ จรงิ พาสุขใจ” “พนิ ิจโฆษณา ข้อคิดเห็น และความสมเหตสุ มผล พาสขุ ใจ” ของเร่ือง ทาให้ผูร้ ับสารสามารถ กิจกรรม ประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถือของเร่ืองนน้ั “พินิจโฆษณา แบบประเมนิ ไดช้ ัดเจนและแม่นยา กจิ กรรม ตวั ชีว้ ดั พาสุขใจ” - ท ๓.๑ ม. ๑/๔ ประเมินความ “พนิ ิจโฆษณา นา่ เชอื่ ถือของสอ่ื ที่มเี นื้อหาโน้มนา้ ว พาสุขใจ” ใจ

คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ กจิ กรรม แบบประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ เห็นความสาคัญในการอ่าน “พนิ ิจโฆษณา กจิ กรรม เขียน และอธบิ ายความหมายของ พาสุขใจ” “พินิจโฆษณา คาศัพทไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง เพ่ือนาไปใช้ใน พาสุขใจ” การเรียนและชีวติ ประจาวัน เกณฑก์ ารประเมินผล (รูบรกิ ส)์ ประเด็นการประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นักเรยี นอธิบาย นักเรยี นตอบคาถาม นกั เรยี นตอบ นกั เรียนตอบคาถามได้ นกั เรยี นตอบคาถามได้ ลักษณะของสอื่ ที่มี ไดถ้ ูกตอ้ งชัดเจน คาถามไดถ้ ูกต้อง ถูกต้อง แสดงเหตุผล ไมแ่ สดงเหตุผลในการ เนอ้ื หาโนม้ นา้ วใจ (K) แสดงเหตุผลในการ แสดงเหตผุ ลในการ ในการตอบคาถามได้ ตอบคาถาม ตอบคาถามได้ชดั เจน ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้อย่าง ชดั เจน ตอบคาถาม ดีมาก ไดค้ ่อนข้างดี 2. นักเรยี นประเมิน ประเมินแนวคิดได้ ประเมนิ แนวคิด ประเมินแนวคิดที่เป็น ประเมินแนวคิด ความน่าเชื่อถือของ หลายประเดน็ ทุก ไดห้ ลายประเดน็ ประโยชน์ได้ ๒-๓ ทเ่ี ป็นประโยชน์ เนอ้ื หาดว้ ยเหตุผล ประเดน็ เปน็ ประโยชน์ ทุกประเด็นเป็น ประเดน็ และบาง ได้เพียงประเด็นเดยี ว (P) และสามารถนาไปใช้ ประโยชนแ์ ละบาง ประเดน็ สามารถนาไปใช้ ได้จรงิ ประเด็น สามารถ ได้จริง นาไปใช้ได้จรงิ ๓. นกั เรยี นเห็น นักเรียนใชค้ าใน นักเรยี นใชค้ าใน นกั เรยี นใชค้ าใน นกั เรียนใชค้ าใน ความสาคญั ในการ ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง อา่ น เขียน และ ตามอักขรวิธี ใช้คาได้ ตามอักขรวิธี ใช้คา เขียนยงั ไมถ่ กู ตอ้ งตาม เขยี นคาพ้นื ฐาน อธิบายความหมาย ถกู บริบทและ ไดถ้ ูกบรบิ ทและ อกั ขรวธิ ี เขียนคา ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ของคาศัพท์ได้ถูกตอ้ ง เหมาะสม เขียนคา เหมาะสม เขียนคา พื้นฐานได้ถูกต้องบ้าง เพอื่ นาไปใชใ้ นการ พื้นฐานได้ถูกต้อง พืน้ ฐานมี เรยี นและ ทง้ั หมด ขอ้ ผิดพลาด ชีวติ ประจาวัน (A) เลก็ น้อย เกณฑก์ ารประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรงุ คะแนนร้อยละ ๖๐ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง หน่วยท่ี ๒ กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ ๒ แผนการเรียนรูท้ ่ี ๒๙ การพูดประเมนิ คา่ ส่ือท่โี นม้ น้าวใจ ครูผสู้ อน นางสาวจริ าพร กุลให้ วันทีส่ อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั ปัจจุบันการนาเสนอข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ มีจานวนมาก บางคร้ังอาจเป็นข้อมูลที่มีเน้ือหาโน้มน้าวใจหรือ เชิญชวนให้ปฏิบัติตามโดยมีจุดหมายแอบแฝง ดังน้ัน จึงต้องรู้จักการประเมินค่าเน้ือหาท่ีปรากฏในสื่อเหล่านี้ การ พูดประเมินค่าเก่ียวกับส่ือท่ีมีเนื้อหาโน้มน้าวใจเป็นการแสดงความคิดเห็นของผู้พูดเพ่ือให้ผู้ฟังได้ทราบ และเป็น ข้อมูลอีกส่วนหน่ึงเพือ่ ประกอบการตัดสินใจของตนท่จี ะประเมนิ ค่าข้อมูลจากสือ่ ต่าง ๆ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพ่อื นาไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปญั หาในการดาเนนิ ชีวิต และมนี สิ ยั รกั การอ่าน มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟงั และดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และความรู้สึกในโอกาสตา่ ง ๆ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ 3. ตวั ชว้ี ดั ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จับใจความสาคญั จากเรื่องท่ีอ่าน ท ๑.๑ ม. ๑/๓ ระบเุ หตแุ ละผล และข้อเท็จจรงิ กบั ข้อคดิ เห็นจากเรอ่ื งที่อ่าน ท ๑.๑ ม. ๑/๖ ระบขุ ้อสงั เกตและความสมเหตุสมผลของงานเขยี นประเภทชกั จูงโนม้ น้าวใจ ท ๑.๑ ม. ๑/๙ มมี ารยาทในการอา่ น ท ๓.๑ ม. ๑/๔ ประเมนิ ความน่าเชือ่ ถือของสื่อทมี่ เี นื้อหาโนม้ น้าวใจ ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มีมารยาทในการฟงั การดู และการพูด 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ความรู้(K) อธิบายหลกั การพูดประเมินค่าส่ือท่ีเน้ือหาโน้มนา้ วใจ 2. ทักษะกระบวนการ (P) พดู ประเมินความน่าเชือ่ ถือของงานเขียน 3. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์(A) เหน็ ความสาคัญของการประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถือของส่อื ในชีวติ ประจาวัน 5. สาระการเรยี นรู้ การพดู ประเมินค่าสือ่ ทม่ี เี นื้อหาโน้มนา้ วใจ

6. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขัน้ นาเข้าส่บู ทเรียน นกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ช้คาถามทา้ ทายว่าการพดู ทฟี่ ังแลว้ น่าเชอ่ื ถือต้องพูด อย่างไร ข้ันพัฒนาผู้เรียน ๑. นักเรียนศกึ ษาความรูเ้ รอื่ ง การพูดประเมินคา่ สื่อท่ีมีเนื้อหาโนม้ นา้ วใจ แล้วรว่ มกนั สนทนาใน ประเด็นต่อไปน้ี - การพูดประเมนิ คา่ สื่อที่มีเนื้อหาโน้มนา้ วใจมหี ลักการอยา่ งไร - นกั เรียนจะต้องใช้ข้อมลู ใดบ้างเพื่อประเมินคา่ สื่อทมี่ ีเน้ือหาโนม้ นา้ วใจ - การพูดประเมนิ ค่าสื่อท่ีมเี นื้อหาโนม้ น้าวใจมีข้อควรคานงึ อะไรบา้ ง ครอู ธบิ ายเพิ่มเตมิ และใหน้ ักเรยี นบนั ทึกสาระสาคญั ๒. นกั เรยี นทาแบบฝึกหดั เรื่อง การพดู ประเมินคา่ ส่อื ที่มีเนื้อหาโนม้ น้าวใจ โดยปฏิบัตติ ามขนั้ ตอน ดังน้ี ๒.๑ นักเรียนอา่ นเร่อื ง อาหารมอื้ สาคญั แล้วช่วยกนั ตอบคาถาม เพ่ือจับใจความสาคัญของ เร่ือง ดังนี้ - อาหารม้ือใดท่ีมปี ระโยชนต์ ่อร่างกายและสาคญั ทีส่ ดุ เพราะเหตใุ ด - อาหารมื้อสาคัญที่สุดต่อจิตใจคืออาหารม้ือใด - วถิ ชี ีวติ ของคนในสังคมเมืองปัจจบุ นั เป็นอยา่ งไร และสง่ ผลตอ่ การรับประทานอาหาร อย่างไร - คนมักไมใ่ ห้ความสาคญั กับการรบั ประทานอาหารรว่ มกนั เพราะเหตุใด - การรบั ประทานอาหารร่วมกันมผี ลดีอย่างไรบ้าง ๒.๒ นกั เรียนชว่ ยกันวเิ คราะห์ขอ้ เทจ็ จริงและข้อคดิ เห็นจากเรื่องท่ีอา่ น ๒.๓ นกั เรยี นชว่ ยกันวิเคราะห์ความสมเหตสุ มผลเพ่ือประเมินความนา่ เชือ่ ถือของเรื่อง ดังนี้ - ผเู้ ขยี นกล่าวถึงสาเหตุท่ีทาให้คนในครอบครวั ไมค่ ่อยไดร้ ับประทานอาหารร่วมกนั ไว้วา่ อย่างไร - ผู้เขียนกล่าวถึงผลของการท่ีคนในครอบครัวได้รบั ประทานอาหารรว่ มกันไวว้ า่ อย่างไร - ผู้เขยี นต้องการโน้มน้าวใจผูอ้ า่ นใหป้ ฏบิ ัตสิ ่ิงใด ๒.๔ นักเรยี นเรยี บเรยี งความคิดเป็นบทพดู ตรวจสอบเน้ือหาและการใช้ภาษาใหถ้ กู ตอ้ ง เหมาะสม ๓. นกั เรียนพูดประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถือของงานเขียน ทกุ คนร่วมกันประเมินการพูดและเสนอแนะ เพิ่มเติม ข้ันสรปุ นักเรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้ ดงั นี้ ปจั จุบันการนาเสนอข้อมลู ขา่ วสารตา่ ง ๆ มจี านวนมาก บางครั้งอาจเป็นข้อมูลที่มีเน้อื หา โนม้ นา้ วใจหรอื เชญิ ชวนให้ปฏบิ ัตติ ามโดยมจี ุดหมายแอบแฝง ดงั นัน้ จงึ ต้อง รู้จกั การประเมนิ คา่ เนอ้ื หาที่ปรากฏในสื่อเหล่าน้ี การพูดประเมินค่าเก่ียวกับสื่อท่มี เี น้ือหาโนม้ น้าวใจเปน็ การ แสดงความคดิ เหน็ ของผ้พู ูดเพื่อใหผ้ ฟู้ ังได้ทราบ และเปน็ ขอ้ มลู อกี ส่วนหน่งึ เพ่ือประกอบการตดั สินใจของตนทจ่ี ะ ประเมินค่าข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ

7. ส่ือการเรยี นรู้ ใบกิจกรรม 8. การวดั ผลประเมินผล เปา้ หมาย หลักฐาน เครื่องมือวดั เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ สาระสาคัญ แบบฝกึ หัด แบบประเมนิ การพูดประเมินค่าเกย่ี วกับสอ่ื ท่ี เร่อื ง “การพดู แบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ ประเมินค่าสื่อที่มี เร่อื ง “การพดู มีเนอื้ หาโนม้ น้าวใจเปน็ การแสดงความ เนือ้ หาโน้มนา้ วใจ” ประเมนิ ค่าสอ่ื ที่มี คิดเห็นของผพู้ ดู เพื่อใหผ้ ฟู้ งั ได้ทราบ เน้ือหาโนม้ นา้ วใจ” และเป็นข้อมูลอกี ส่วนหนึง่ เพ่ือ แบบฝึกหดั ประกอบการตัดสินใจของตนท่จี ะ เรอ่ื ง “การพูด แบบประเมนิ ประเมินค่าข้อมูลจากส่ือตา่ ง ๆ ประเมินค่าส่อื ท่ีมี แบบฝึกหดั เน้ือหาโนม้ น้าวใจ” เร่ือง “การพูด ตัวช้ีวัด ประเมนิ ค่าส่ือท่ีมี - ท ๑.๑ ม. ๑/๒ จับใจความสาคัญ เนื้อหาโนม้ นา้ วใจ” จากเร่อื งที่อา่ น - ท ๑.๑ ม. ๑/๓ ระบเุ หตุและผล และข้อเท็จจรงิ กับข้อคดิ เหน็ จากเรอื่ ง ทีอ่ ่าน - ท ๑.๑ ม. ๑/๖ ระบขุ ้อสงั เกตและ ความสมเหตุสมผลของงานเขียน ประเภทชักจงู โน้มน้าวใจ - ท ๓.๑ ม. ๑/4 ประเมินความ น่าเชอ่ื ถอื ของสอ่ื ที่มีเนื้อหาโนม้ นา้ วใจ - ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ แบบฝกึ หดั แบบประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ เหน็ ความสาคญั ของการประเมิน แบบฝึกหัด แบบฝกึ หัด เร่ือง “การพูด เรอื่ ง “การพูด ความน่าเชอื่ ถือของสื่อใน ประเมินค่าสื่อที่มี ประเมินค่าส่ือท่ีมี ชีวติ ประจาวนั เนื้อหาโน้มนา้ วใจ” เนอื้ หาโน้มนา้ วใจ”

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รูบรกิ ส)์ ประเดน็ การประเมนิ ระดบั คุณภาพ ๑. นกั เรียนอธบิ าย หลักการพดู ประเมิน (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง ค่าสอ่ื ท่ีเน้ือหาโน้ม น้าวใจ (K) สรุปความรู้และ สรุปความรแู้ ละ สรปุ ความรูแ้ ละข้อคิดจาก สรุปความรแู้ ละ ข้อคิดจากเร่ืองได้ 2. นักเรียนพดู ข้อคิดจากเรื่องได้ ข้อคิดจากเรื่องได้ เรอื่ งได้ถูกต้อง แต่สรปุ ถกู ต้อง แต่สรปุ เพียง ประเมินความ ๑ ประเดน็ ไม่ นา่ เชือ่ ถอื ของงาน ถูกต้อง ชัดเจน หลาย ถกู ต้อง ชัดเจน เพยี ง ๑ ประเด็น และเสนอ สามารถเช่ือมโยง เขยี น (P) กบั ชวี ติ จรงิ ได้ ต้อง แงม่ ุม และสามารถ หลายแง่มุม และ แนวทางการนาไปใช้ในชวี ติ มผี ูแ้ นะนาจึงจะ เข้าใจ เสนอแนวทางการ สามารถเสนอแนว จริงไดส้ ัมพันธ์กนั พดู วิเคราะห์และ นาไปใชใ้ นชีวิตจริงได้ ทางการนาไปใชใ้ น ประเมนิ ค่าอยา่ ง ส้ัน ๆ ต้องพฒั นา ดีและสรา้ งสรรค์ ชวี ติ จรงิ ได้ การเรยี บเรยี ง เน้อื หาและ พดู วิเคราะห์และ พดู วิเคราะห์และ พูดวเิ คราะห์และ บคุ ลกิ ภาพ ประเมินคา่ ได้ถูกต้อง ประเมินค่าได้ ประเมนิ ค่าได้ถกู ต้อง มรี ายละเอียดชดั เจน ถกู ต้องละเอยี ด แตร่ ายละเอียด ทุกประเดน็ เสนอ ชัดเจนทกุ ประเด็น ยังไมช่ ัดเจน ความคิดน่าสนใจ มกี ารแสดงเหตุผล เหตผุ ลประกอบ มีเหตผุ ลทีด่ ีเรยี บเรียง ประกอบเล็กน้อย ไม่ค่อยสมั พันธก์ ัน เนอื้ หาอย่างเป็น เรียบเรยี งเนอ้ื หา มีข้อบกพร่องเล็กน้อยใน ลาดับและมีคลกิ ภาพ ได้ดีและมี การเรยี บเรยี งเน้ือหา ท่ดี มี าก บุคลกิ ภาพดี และบุคลิกภาพ ๓. นักเรยี นเห็น นกั เรยี นใช้คาใน นักเรียนใช้คาใน นกั เรยี นใชค้ าในภาษาไทย นกั เรียนใช้คาใน ความสาคญั ของการ ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ประเมินความ ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ไดถ้ ูกตอ้ ง เขยี นยงั ไม่ เขยี นคาพืน้ ฐาน นา่ เชือ่ ถอื ของสอ่ื ใน ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ชวี ิตประจาวัน(A) ตามอักขรวิธี ใช้คาได้ ตามอักขรวิธี ใช้คา ถกู ต้องตาม อักขรวิธี ถกู บรบิ ทและ ได้ถูกบริบทและ เขียนคาพนื้ ฐานได้ถูกต้อง เหมาะสม เขยี นคา เหมาะสม เขียนคา บ้าง พืน้ ฐานได้ถกู ต้อง พื้นฐานมี ท้ังหมด ข้อผดิ พลาด เล็กนอ้ ย เกณฑก์ ารประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรุง คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ชว่ั โมง หน่วยที่ ๒ กาพย์เหช่ มเคร่อื งคาวหวาน เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรียนท่ี ๒ แผนการเรียนรทู้ ี่ ๓๐ ภาษาพดู และภาษาเขียน ครผู ู้สอน นางสาวจิราพร กลุ ให้ วันที่สอน.................................................................................. 1. สาระสาคญั ภาษาพูดมีลักษณะไมเ่ ปน็ ทางการ การใชค้ าอาจไมถ่ ูกต้องตามหลักเกณฑ์ แต่ให้ความสนิทสนมเป็นกนั เอง สว่ นภาษาเขยี นเปน็ ภาษาระดับทางการ การใชค้ าต้องถูกต้องตามแบบแผน ใช้ในการสอ่ื สารทเี่ ปน็ ทางการ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภูมปิ ญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิ ของชาติ 3. ตวั ช้วี ัด ท ๔.๑ ม. ๑/๔ วิเคราะหค์ วามแตกตา่ งของภาษาพูดและภาษาเขยี น 4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายลักษณะของภาษาพดู และภาษาเขยี น 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) วิเคราะห์ความแตกตา่ งของภาษาพดู และภาษาเขียน 3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) เหน็ ความสาคัญในการใช้ภาษาพูดและภาษาเขยี นอยา่ งถูกต้องและเหมาะสมกับโอกาส ในชวี ิตประจาวัน 5. สาระการเรียนรู้ ภาษาพูดและภาษาเขียน 6. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรยี น นกั เรียนรว่ มกันสนทนาเกี่ยวกับภาษาที่ใช้เม่ือพดู กบั เพือ่ น ผู้ปกครอง ญาตผิ ู้ใหญ่ และครู แลว้ เปรียบเทยี บว่าแตกต่างกนั อย่างไร

ขน้ั พฒั นาผเู้ รยี น ๑. นกั เรียนศกึ ษาความรเู้ รือ่ ง ภาษาพดู และภาษาเขยี น จากนนั้ ครนู าแถบประโยค ๒ แบบ มาให้ นักเรียนจาแนก ดงั น้ี “ยงั ไง มอื ถือก็ไมใ่ ชส่ ิ่งจาเปน็ ทีส่ ุดสาหรบั การดารงชีวติ ” “ถึงอย่างไร โทรศัพทเ์ คลื่อนท่ีกไ็ มใ่ ชส่ งิ่ จาเปน็ ทีส่ ดุ สาหรบั การดารงชีวติ ” ๒. นักเรียนร่วมกันเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหว่างการใชภ้ าษาของแถบประโยค ในข้อท่ี ๒ แลว้ ร่วมกนั แสดงความคิดเห็นในประเด็นต่อไปน้ี - ภาษาพดู ต่างจากภาษาเขยี นอยา่ งไร - ในชีวติ ประจาวันนักเรยี นใชภ้ าษาพูดและภาษาเขยี นในสถานการณ์ใดบ้าง ๓. ครอู ธิบายสรุปเปน็ ความรเู้ พ่มิ เติม และใหน้ ักเรยี นบันทึกสาระสาคญั ๔. นักเรยี นแบ่งเป็น ๖ กลุ่ม เลน่ เกม “โต้คาพดู ตอบคาเขียน” โดยครแู บง่ ใหน้ ักเรียน ๒ กลุ่มเปน็ ภาษาพูด อีก ๒ กลุ่มเปน็ ภาษาเขียน แต่ละกลุ่มส่งตวั แทนมาจับฉลากเลือกคู่ทีมแข่งขนั ซ่ึงคทู่ มี ต้องเปน็ ภาษา พดู กบั ภาษาเขียน ๕. ครูสรุปผลกจิ กรรมของนักเรียน และอธบิ ายสรุปเป็นความรเู้ พิ่มเตมิ นักเรยี นทาใบงานเรือ่ ง วเิ คราะห์การใชภ้ าษาพดู และภาษาเขยี น ขัน้ สรุป นักเรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดังน้ี ภาษาพดู มลี ักษณะไม่เป็นทางการ การใช้คาอาจไม่ถูกต้องตาม หลักเกณฑ์ แต่ใหค้ วามสนทิ สนมเป็นกันเอง ส่วนภาษาเขยี นเปน็ ภาษาระดับทางการ การใช้คาตอ้ งถกู ต้องตาม แบบแผน ใช้ในการส่ือสารท่เี ป็นทางการ 7. สอื่ การเรยี นรู้ ๑. แถบประโยค ๒. กระดาษสาหรบั ทากจิ กรรม ๓. ใบงาน

8. การวัดผลประเมินผล หลกั ฐาน เครอื่ งมอื วดั เกณฑก์ ารประเมนิ เป้าหมาย เกม “โต้คาพูด แบบประเมินเกม สาระสาคญั ตอบคาเขยี น” “โต้คาพูด ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ ภาษาพดู มลี ักษณะไมเ่ ป็น เกม “โต้คาพูด ตอบคาเขยี น” ทางการ การใช้คาอาจไม่ถกู ต้อง ตอบคาเขยี น” ตามหลักเกณฑ์ แต่ใหค้ วามสนิท แบบประเมินเกม สนมเป็นกนั เอง สว่ นภาษาเขียน “โตค้ าพดู ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ เปน็ ภาษาระดบั ทางการ การใช้คา ต้องถูกต้องตามแบบแผน ใชใ้ นการ ตอบคาเขียน” สือ่ สารท่เี ป็นทางการ ตัวชวี้ ัด แบบประเมินเกม “โตค้ าพดู ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ - ท ๔.๑ ม. ๑/๔ วิเคราะห์ ความแตกต่างของภาษาพูดและ ตอบคาเขยี น” ภาษาเขยี น คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เกม “โตค้ าพดู เหน็ ความสาคญั ในการใช้ภาษา ตอบคาเขียน” พดู และภาษาเขยี นอย่างถูกต้องและ เหมาะสมกบั โอกาส

เกณฑก์ ารประเมินผล (รบู ริกส)์ ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรงุ อธบิ ายลกั ษณะของ ๑. นกั เรียนอธบิ าย อธบิ ายลกั ษณะของ (๓) ดี (๒) พอใช้ ภาษาพดู และภาษา เขยี นได้ถูกต้อง แต่ ลักษณะของภาษาพูด ภาษาพูดและภาษา อธิบายลักษณะของ อธิบายลกั ษณะของ อธิบายเพยี ง ๑ ภาษาพูดและภาษา ภาษาพดู และภาษา ประเดน็ ไมส่ ามารถ และภาษาเขียน (K) เขียนได้ถูกต้อง เขียนได้ถูกต้อง ชัดเจน เขยี นได้ถกู ต้อง แต่ เชือ่ มโยงกบั ชีวิต หลายแง่มมุ และ อธิบายเพยี ง ๑ ประเด็น จรงิ ได้ ต้องมีผู้ ชัดเจน หลายแง่มมุ สามารถเสนอแนว และเสนอแนวทางการ แนะนาจึงจะเข้าใจ ทางการนาไปใชใ้ นชีวิต นาไปใช้ในชวี ิตจริงได้ วิเคราะหก์ ารใช้ และสามารถเสนอ จรงิ ได้ สมั พนั ธ์กัน ภาษาพูดและภาษา เขียนไดแ้ ต่ต้องมีผู้ แนวทางการนาไปใช้ แนะนาทั้งหมด ในชีวิตจริงได้ดแี ละ นกั เรียนใช้คาใน ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง สร้างสรรค์ เขียนคาพ้นื ฐาน ภาษาไทยไม่ถูกต้อง 2. นักเรียนวเิ คราะห์ วเิ คราะห์การใช้ วเิ คราะห์การใช้ วิเคราะห์การใช้ภาษา ภาษาพดู และภาษา พูดและภาษาเขยี นได้ ความแตกตา่ งของ ภาษาพูดและภาษา เขียนได้ครบถว้ น หลายคาและต้องให้ ถกู ต้องทุกคา มีการ ผอู้ ืน่ แนะนามาก ภาษาพูดและภาษา เขยี นได้ครบถ้วน ขอคาแนะนาจาก พอสมควร ผ้อู น่ื เล็กนอ้ ย เขยี น (P) ถกู ต้องแมน่ ยาทุกคา ดว้ ยตนเองและ สามารถแนะนา ผอู้ ืน่ ได้ ๓. นกั เรยี นเหน็ นกั เรยี นใช้คาใน นักเรียนใช้คาใน นกั เรยี นใชค้ าใน ความสาคัญในการใช้ ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาพดู และภาษา ตามอักขรวิธี ใช้คาได้ ตามอักขรวิธี ใช้คาได้ เขยี นยังไมถ่ กู ตอ้ งตาม เขยี นอยา่ งถูกต้อง ถูกบรบิ ทและ ถูกบรบิ ทและเหมาะสม อกั ขรวิธี เขยี นคา และเหมาะสมกับ เหมาะสม เขียนคา เขียนคาพ้นื ฐานมี พืน้ ฐานได้ถกู ต้องบ้าง โอกาส (A) พน้ื ฐานได้ถูกต้อง ขอ้ ผดิ พลาดเล็กน้อย ท้ังหมด เกณฑก์ ารประเมินการผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรุง คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง หน่วยท่ี ๒ กาพย์เห่ชมเคร่ืองคาวหวาน เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ ๒ แผนการเรยี นรู้ท่ี ๓๑ การอ่านและปฏบิ ตั ิตามเอกสารคมู่ อื ครูผ้สู อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ วนั ที่สอน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ การอา่ นเอกสารคมู่ ือตอ้ งอ่านอย่างละเอียดและทาความเข้าใจให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถปฏบิ ัติตามได้ อย่างถูกต้อง 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการดาเนนิ ชีวติ และมนี ิสัยรกั การอา่ น 3. ตวั ช้วี ัด ท ๑.๑ ม. ๑/๗ ปฏบิ ตั ติ ามคู่มือแนะนาวธิ กี ารใช้งานของเครอื่ งมือหรอื เครอื่ งใช้ในระดับ ทย่ี ากขึ้น 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ความรู้ (K) อธิบายแนวทางการอา่ นและปฏบิ ัตติ ามเอกสารคู่มือ 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) - อ่านเอกสารค่มู ือการใช้งานของเคร่อื งมอื หรือเครื่องใช้ - ปฏิบตั ติ ามคาแนะนาวธิ กี ารใช้ของเคร่ืองมือหรือเครื่องใช้ 3. คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (A) เหน็ ความสาคญั ในการอา่ นและปฏบิ ัตติ ามเอกสารค่มู ือเพ่ือความปลอดภัยในการใช้ เคร่ืองมอื เคร่อื งใชต้ ่าง ๆ ในชีวิตประจาวนั 5. สาระการเรียนรู้ การอา่ นและปฏิบตั ติ ามเอกสารคมู่ ือ 6. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ขัน้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคดิ เห็นว่า นกั เรียนเคยได้รับทราบข่าวการเกิดอุบตั ิเหตจุ ากเครื่องมือเครื่องใช้ ใดบา้ ง นักเรียนคิดว่าอุบตั ิเหตเุ หลา่ นน้ั เกดิ จากสาเหตุใด ขน้ั พัฒนาผ้เู รยี น ๑. นักเรียนศึกษาความรู้เรอ่ื ง การอ่านและปฏิบัติตามเอกสารคู่มือ แลว้ ร่วมกนั สนทนาในประเดน็ ตอ่ ไปนี้

- อุปกรณ์ประเภทใดบา้ งในชีวติ ประจาวันทตี่ อ้ งอ่านและปฏิบตั ิตามเอกสารคู่มือ - แนวทางการอ่านและปฏิบตั ิตามเอกสารคู่มือมีอะไรบา้ ง - ขอ้ ควรคานงึ ในการอา่ นและปฏบิ ัตติ ามเอกสารคมู่ ือคืออะไร - นักเรยี นเคยมีประสบการณ์อา่ นและปฏิบัติตามเอกสารคู่มือประเภทใดบ้าง (ให้นกั เรียนท่มี ี ประสบการณ์ออกมาเลา่ ประสบการณ)์ ๒. ครูอธิบายสรุปเพิ่มเติมและให้นกั เรียนบันทึกสาระสาคญั ๓. ครูนาตวั อย่างเอกสารคมู่ ือของเครอื่ งมือเคร่ืองใชช้ นิดต่าง ๆ หรอื มอบหมายให้นักเรยี นชว่ ยกนั นามา แล้วแบง่ กลมุ่ แลกเปลีย่ นกันอ่านและทาความเข้าใจ ๔. ครูเลือกตวั แทนนักเรยี นออกมาอธิบายวิธีการใชเ้ ครื่องมือเคร่ืองใชจ้ ากเอกสารทีศ่ ึกษา ทุกคน รว่ มกนั ตรวจสอบความเขา้ ใจ ๕. นักเรยี นชว่ ยกันระบุขอ้ ดีของการอ่านและปฏิบตั ิตามเอกสารค่มู ือ สรุปเปน็ แผนภาพความคดิ ข้นั สรปุ นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ การอา่ นเอกสารคู่มือต้องอ่านอยา่ งละเอยี ดและทาความเข้าใจ ให้ชดั เจน เพ่อื ใหส้ ามารถปฏิบตั ติ ามได้อยา่ งถกู ต้อง 7. สือ่ การเรียนรู้ เอกสารคู่มอื ของเครื่องมือเครื่องใชช้ นิดตา่ ง ๆ 8. การวัดผลประเมินผล หลกั ฐาน เครื่องมือวดั เกณฑ์การประเมิน รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ เป้าหมาย แบบฝึกหัด แบบประเมนิ สาระสาคญั “อา่ นสกั นิด เพ่ือ แบบฝึกหดั ชีวิตที่ปลอดภยั ” “อา่ นสักนดิ เพื่อ การอา่ นเอกสารคมู่ ือต้อง ชวี ติ ทป่ี ลอดภัย” อ่านอย่างละเอยี ดและทาความ แบบฝกึ หดั เข้าใจให้ชัดเจน เพ่ือให้สามารถ “อ่านสกั นิด เพ่ือ แบบประเมิน รอ้ ยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ ปฏิบัติตามได้อยา่ งถกู ต้อง ชวี ติ ทีป่ ลอดภัย” แบบฝึกหดั ตวั ชี้วดั “อ่านสกั นิด เพ่ือ - ท ๑.๑ ม. ๑/๗ ปฏิบตั ติ ามคมู่ ือ ชีวติ ทปี่ ลอดภัย” แนะนาวธิ กี ารใชง้ านของเคร่อื งมอื หรอื เครื่องใชใ้ นระดับท่ยี ากข้ึน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ แบบฝึกหัด แบบประเมนิ ร้อยละ ๖๐ ผา่ นเกณฑ์ เห็นความสาคญั ในการอ่าน “อา่ นสักนดิ เพื่อ แบบฝกึ หัด ชวี ิตท่ีปลอดภัย” “อา่ นสักนดิ เพ่ือ และปฏิบตั ติ ามเอกสารคู่มือเพ่อื ชวี ติ ท่ีปลอดภัย” ความปลอดภยั ในการใช้เครื่องมอื เครื่องใชต้ า่ ง ๆ ในชวี ติ ประจาวัน

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รูบรกิ ส์) ประเด็นการประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรยี นอธบิ าย อธบิ ายแนวทางการ อธบิ ายแนวทางการ อธบิ ายแนวทางการ อธิบายแนวทางการ แนวทางการอา่ นและ อ่านและปฏบิ ัติตาม อ่านและปฏบิ ัติตาม อ่านและปฏิบตั ิตาม อา่ นและปฏบิ ัติตาม ปฏบิ ัตติ ามเอกสาร เอกสารคู่มอื ได้ เอกสารคู่มอื ได้ เอกสารคู่มือ ได้ เอกสารคู่มือ ไดถ้ ูกตอ้ ง คมู่ อื (K) ถูกต้อง ชดั เจน หลาย ถูกต้อง ชัดเจน หลาย ถกู ต้อง แตส่ รุปเพียง แตส่ รุปเพยี ง ๑ ประเดน็ แง่มุม และสามารถ แง่มมุ และสามารถ ๑ ประเดน็ และเสนอ ไมส่ ามารถเช่ือมโยงกับ เสนอแนวทางการ เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใชใ้ น ชีวิตจริงได้ ต้องมีผู้ นาไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ ได้ นาไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ ได้ ชวี ติ จรงิ ได้สัมพันธ์กนั แนะนาจึงจะเขา้ ใจ ดแี ละสรา้ งสรรค์ 2. นกั เรียนอา่ น จับใจความสาคญั ของ จับใจความสาคญั ของ จับใจความสาคญั ของ จบั ใจความสาคญั ของ เอกสารและปฏิบัติ เน้อื หาได้ทงั้ หมด เนอ้ื หาได้เกือบทั้งหมด เน้อื หาไดเ้ ล็กน้อย และ เน้อื หาได้น้อยมาก ไม่ ตามคาแนะนาตาม และสามารถเสนอ และสามารถเสนอแนว เสนอแนวทางการอา่ น สามารถเชื่อมโยงกบั คู่มือการใช้งานของ แนวทางการอา่ นคู่มอื ทางการอ่านคู่มอื คมู่ ือนาไปใชใ้ นชีวิตจริง ชวี ิตจริงได้ ตอ้ งมีผู้ เคร่ืองมือหรือ นาไปใชใ้ นชีวิตจริงได้ นาไปใชใ้ นชีวิตจริงได้ ได้สัมพนั ธ์กัน แนะนาจึงจะเขา้ ใจ เคร่อื งใช้ (P) ดแี ละสร้างสรรค์ ๓. นักเรียนเห็น เหน็ ความสาคญั ใน เห็นความสาคัญใน เหน็ ความสาคญั ใน เห็นความสาคัญในการ ความสาคัญในการ การอา่ นและปฏิบัติ การอ่านและปฏบิ ตั ิ การอา่ นและปฏบิ ัติ อ่านและปฏบิ ตั ิตาม อา่ นและปฏบิ ตั ิตาม ตาม จับใจความ ตาม จับใจความ ตาม จบั ใจความ จับใจความสาคญั ของ เอกสารคู่มอื เพ่ือ สาคญั ของเนื้อหาได้ สาคัญของเนอ้ื หาได้ สาคัญของเนอ้ื หาได้ เน้ือหาได้น้อยมาก ไม่ ความปลอดภยั ในการ ทง้ั หมด และสามารถ เกอื บทัง้ หมด และ เล็กน้อย และเสนอ สามารถเช่ือมโยงกับ ใช้เครอ่ื งมือเครือ่ งใช้ เสนอแนวทางการ สามารถเสนอแนว แนวทางการอ่านคูม่ ือ ชวี ติ จริงได้ ต้องมผี ู้ ตา่ ง ๆ ใน อา่ นคูม่ ือนาไปใชใ้ น ทางการอา่ นคู่มือ นาไปใช้ในชีวติ จรงิ ได้ แนะนาจึงจะเข้าใจ ชวี ิตประจาวัน (A) ชวี ติ จรงิ ได้ดีและ นาไปใชใ้ นชวี ติ จรงิ ได้ สัมพันธ์กนั สรา้ งสรรค์ เกณฑก์ ารประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรุง คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นันท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook