Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการอบรม DLTV

รายงานการอบรม DLTV

Published by KAGIROON, 2021-01-26 14:54:22

Description: รายงานอบรมการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ( COVID-19 ) สำหรับครูและผู้บริหารโรงเรียน
7 พฤษภาคม 2563

Search

Read the Text Version

บันทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรยี นบา้ นหนองเปด็ อาเภอท่าม่วง จังหวดั กาญจนบุรี ท่ี พเิ ศษ/ ๒๕๖๓ วนั ที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เร่ือง รายงานอบรมการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ( COVID-19 ) สาหรบั ครแู ละผู้บรหิ ารโรงเรยี น เรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเปด็ ส่ิงที่แนบมาด้วย ๑. แบบรายงานผลการอบรม จานวน ๑ ชุด สืบเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ และรัฐบาล ประกาศใช้พระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ทาให้กระทรวงศึกษาธิการ ออกประกาศเรื่องการเปิดเรียนของสถานศึกษาในสังกัดและในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๓ โดยมีสาระสาคัญในการเลื่อนการเปิดภาคเรียนเป็นวันท่ี ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ และให้ สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับประกาศสถานการณ์ฉกุ เฉิน เพอ่ื ความปลอดภยั ของนักเรียน ผูป้ กครองและบคุ ลากรท่เี กยี่ วข้องจากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานดาเนนิ การจัดการศกึ ษาเพอ่ื ใหน้ ักเรียนสามารถ เรียนรู้ได้จากท่ีบ้านโดยการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลจัดการเรียนการสอนตามนโยบาย จึงได้กาหนดให้มีการอบรม การจดั การจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙) ในวันพฤหัสบดที ่ี ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๕.๓๐ น. ผ่านระบบการประชุม ทางไกล (Video Conference) น้นั บัดนี้ การเข้ารว่ มอบรมดังกลา่ วได้ดาเนินการเสรจ็ เรียบรอ้ ยแลว้ ข้าพเจ้าจึงเสนอรายงานการ อบรม ตามรายละเอียดที่แนบเรยี นมาพร้อมน้ี จงึ เรียนมาเพอื่ โปรดทราบ ลงชอ่ื ................................................ (นางสาวจิราพร กุลให้) ตาแหน่ง ครูผชู้ ่วย ความคิดเห็นของผู้อานวยการโรงเรยี น ................................................................................................................................................................... ........... .................................................................................. ............................................................................................ ลงชอื่ ....................................................... (นางสาวนภัสนันท์ นลิ บตุ ร) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเปด็

แบบรายงานการอบรมการจดั การเรยี นการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัส โคโรนา (COVID-19) สาหรับครแู ละผู้บรหิ ารโรงเรยี น วนั ท่ี ๗ เดือน พฤษภาคม ๒๕๖๓ เวลา ๐๙.๐๐ น. - ๑๕.๓๐ น. ทาง OBEC Channel ความเปน็ มาและความสาคญั สบื เนื่องจากข้อส่ังการของหวั หน้าคณะรักษาความสงบแหง่ ชาติ เกี่ยวกบั เรอื่ งที่ต้องเร่งรัดดาเนินการใน ประเดน็ ดา้ นการศกึ ษาเรอ่ื งการขาดแคลนครูในโรงเรยี นพน้ื ที่หา่ งไกลรวมทั้งการเพ่ิมโอกาสทางการศกึ ษาให้แก่ เด็ก จึงได้พิจารณาให้มีการศึกษาและขยายผลโครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมไปยังพ้ืนที่อื่น ๆ โดย กาหนดให้ใช้การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) ในโรงเรียนขนาดเล็กท่ัวประเทศ จานวน ๑๕,๓๖๙ โรงเรียน การดาเนินการจัดการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมในโรงเรียนขนาดเล็กท่ัวประเทศ จะบรรลุ วัตถุประสงค์และมีประสิทธิภาพได้น้ัน มีความจาเป็นต้องมีการพัฒนาการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมอย่าง ต่อเน่ืองและย่ังยืน มีการขับเคล่ือนไปสู่การปฏิบัติท้ังในระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับสานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาและระดบั โรงเรยี น วตั ถปุ ระสงค์ ๑. เพ่ือแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อ ไวรสั โคโรน่า (COVID-๑๙) ๒. เพ่ือช่วยแก้ปัญหาโรงเรียนขนาดเล็กท่ีประสบปัญหาการมีครูไม่ครบช้ัน ครูสอนไม่ตรงสาขา วิชาเอก ๓. เพอื่ ขยายผลโครงการการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี มไปยังพืน้ ที่อน่ื ๆ ให้มผี ลเปน็ รูปธรรมโดยเรว็ เปา้ หมาย ๑. บคุ ลากรสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน มีโอกาสถวายงานส่งเสริมการใช้เทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาประเทศ ตามรอยเบ้ืองพระยุคลบาท เผยแพร่พระราชกรณียกิจให้ขจรกระจายไกล และสนอง พระราชดารขิ องท้ังสองพระองค์ ในการทจี่ ะพัฒนาการศกึ ษาไทยให้เจรญิ ก้าวหน้า ๒. ครูและนักเรียนทุกคนได้เข้าถึงเทคโนโลยี และ สื่อในการจัดการเรียนรู้ท่ีทันสมัยสอดคล้องกับ ความตอ้ งการ ๓. ครูที่สอนไม่ตรงกับวิชาเอกสามารถจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและ เหมาะสม ๔. สร้างเครือข่ายแลกเปลย่ี นเรียนรู้ในการจดั การเรียนรขู้ องครูได้อยา่ งกวา้ งขวางและทว่ั ถึง ๕. มีการระดมสรรพกาลังและบูรณาการทรัพยากรจากภาครัฐและเอกชนช่วยสนับสนุนการจัด การศกึ ษาอยา่ งเปน็ ระบบ

วันท่ี ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ณ ห้องประชุม สพฐ. ๑ กระทรวงศึกษาธิการ นายอานาจ วิชยานุวัติ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (เลขาธิการ กพฐ.) เปน็ ประธานในการอบรมผ่านระบบทางไกล เรื่องการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) เพื่อชแี้ จงแนวทางในการจัดการเรียนการสอนทางไกลและเตรียมพร้อมสาหรับการเปิดภาคเรียน ในวันที่ ๑ กรกฎาคมนี้ โดยมี นายสนิท แย้มเกษร รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นาง วัฒนาพร ระงับทุกข์ รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน นายกวินทร์เกียรติ นนท์พละ รอง เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พร้อมคณะทางาน ร่วมชี้แจงในประเด็นที่เกี่ยวข้อง เพื่อสื่อสาร ทาความเข้าใจไปยังสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา โรงเรยี น ครู รวมถึงนักเรียนและผู้ปกครองทวั่ ประเทศ นายอานาจ วิชยานุวัติ เลขาธิการ กพฐ. กล่าวว่า สาหรับการเตรียมความพร้อมในการจัดการเรียน การสอนเพ่ือรองรับการเปิดภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ แต่ละหน่วยงานในกระทรวงศึกษาธิการก็ได้ ดาเนินการให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) มาก ท่ีสุด ในส่วนของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.)น้ัน ได้มีการกาหนดแนวทางการจัดการ เรยี นการสอนระบบทางไกล โดยแบ่งเปน็ ๔ ระยะ คือ ระยะท่ี ๑ การเตรียมความพร้อม (๗ เมษายน – ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓) ได้สารวจความพรอ้ มในด้าน อุปกรณ์การเข้าถึงอินเทอร์เน็ต ของนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และระบบการบริหารจัดการการเรียนการสอน รวมถึงขออนุมัติใช้ช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิทัล จากสานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เพื่อจัดการเรียนการสอนต้ังแต่ระดับปฐมวัยถึง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พร้อมขออนุมัติเผยแพร่การเรียนการสอนจากห้องเรียนต้นทาง ในระดับปฐมวัย ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ของสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV) จากมูลนิธิ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดทาส่ือวีดิทัศน์การสอน โดยครูต้นแบบ ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และรวบรวมส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ใน OBEC Content Center ชุดโปรแกรมและแพลตฟอร์มการเรียนรคู้ รบวงจรของกระทรวงศึกษาธิการ เช่น Tutor ติว ฟรี.com, e-Book เป็นต้น รวมถึงเตรียมโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบเครือข่าย เพื่อรองรับการให้บริการ แพลตฟอรม์ การเรียนรู้ใหเ้ ชื่อมโยงกับระบบ Digital e-Learning ของกระทรวงศกึ ษาธิการ ระยะที่ ๒ การทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล (๑๘ พฤษภาคม – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๓) จะ ทดลองจัดการเรียนการสอนทางไกล ในระดับปฐมวัยถึงระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ผา่ นชอ่ งรายการโทรทศั นใ์ น ระบบดิจิทัล โดยการเผยแพร่สัญญาณจากมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (DLTV) ในระดับปฐมวัยเน้นกิจกรรมเตรียมความพร้อมเด็ก และระดับประถมศึกษาถึงระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น จานวน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ผ่านช่องรายการโทรทัศน์ใน ระบบดิจิทัลและระบบออนไลน์โดยครูต้นแบบ ด้วยเคร่ืองมือการเรียนรู้ตามความเหมาะสมและบริบทของ สถานศึกษา รวมทั้งเปิดศูนย์รับฟังความคิดเห็นการเรียนการสอนทางไกล จากผู้ปกครอง ประชาชน และ ผู้เก่ียวข้อง เพื่อเป็นแนวทางการปรับปรุงและพัฒนา และประชาสัมพันธ์ สร้างการรับรู้ ความเข้าใจ แนะนา ชอ่ งทางการเรียนทางไกลให้กบั ผปู้ กครองและผเู้ กยี่ วข้อง

ระยะที่ ๓ การจัดการเรียนการสอน (๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๔) ได้วางแผนไว้ สาหรับ ๒ สถานการณ์ นั่นคือ สถานการณ์ที่ ๑ กรณีที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-๑๙) ยังไม่คลี่คลาย จะจัดการเรียนการสอนระดับปฐมวัยถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ด้วย ระบบทางไกลผ่าน DLTV และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ด้วยวีดิทัศน์การสอนโดยครูต้นแบบ และระบบ ออนไลน์ด้วยเคร่ืองมือการเรียนรู้ตามความเหมาะสมและบริบทของสถานศึกษา และสถานการณ์ท่ี ๒ กรณีที่ สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid–๑๙) คลี่คลาย จะจัดการเรยี นการสอนปกติ ในโรงเรียน โดยให้เว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) และมีแผนเตรียมการเพ่ือรองรับสถานการณ์ ฉุกเฉินต่าง ๆ โดยจะต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด ซึ่งมีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็น ประธาน ระยะที่ ๔ การทดสอบและการศึกษาต่อ (๑ เมษายน – ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔) จะประสานงานกับ หน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการทดสอบและคัดเลือกเข้าศึกษาต่อ นั่นคือ กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เกี่ยวกับระบบคัดเลือกเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา (TCAS GAT PAT) และ สถาบัน ทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ เก่ียวกับการทดสอบ O-net ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๖ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๖ นอกจากการเตรียมความพร้อมในเร่ืองส่ืออุปกรณ์การจัดการเรียนการสอนทางไกล ในส่วนของการ เตรียมความพร้อมสาหรับครู ทางสพฐ. ก็จะมีการพัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้องสาหรับ การเรยี นการสอนทางไกล โดยจัดทาคูม่ ือแนวทางการจัดการเรยี นการสอนทางไกลสาหรบั ครู บคุ ลากรทางการ ศึกษาและผู้ท่ีเก่ียวข้อง รวมท้ังให้ความรู้ในการใช้เคร่ืองมือ เทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ผ่านช่องทาง DLTV และ OBEC Channel และมีการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอน ทางไกลด้วย สพฐ. ได้ดาเนินการเตรยี มความพร้อมสาหรับการเปิดภาคเรียนท่ี ๑ อยา่ งดที ่ีสุด ตามที่รฐั มนตรีวา่ การ กระทรวงศึกษาธิการ (นายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ) ไดก้ ล่าวว่า โรงเรียนอาจหยดุ ได้แตก่ ารเรียนรู้หยุดไมไ่ ด้ ไม่ว่า สถานการณ์แวดล้อมจะรุนแรงแค่ไหน การเรียนรู้ท่ีเข้าถึงและมีคุณภาพสาหรับเด็กไทยทุกคนคือเป้าหมาย สงู สดุ ตามแนวคิด “การเรยี นรู้นาการศกึ ษา” โดยจัดการเรียนการสอนโดยคานงึ ถงึ ความปลอดภัยสงู สุดของทุก คน ให้นักเรียนทุกคนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนได้ แม้จะไม่สามารถไปโรงเรียนได้ ก็ให้ใช้ส่ิงที่มีอยู่แล้ว ให้เกิดประโยชน์สูงสุด รวมทั้งตัดสินใจนโยบายต่างๆ บนพ้ืนฐานของการสารวจความต้องการทั้งจากนักเรียน ครู และโรงเรียน นามาปรับปฏิทินการศึกษาให้เออ้ื ต่อการเรียนเพอื่ รขู้ องเด็กมากข้ึน นอกจากน้นั บุคลากรทาง การศึกษาทกุ คน กจ็ ะไดร้ บั การดูแลอย่างต่อเนอ่ื ง และไดร้ ับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงนอ้ ยท่สี ดุ ทงั้ นี้ นายอานาจ วิชยานุวัติ เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน (เลขาธกิ าร กพฐ.) ไดย้ า้ ว่า หากสถานการณ์โควิด-๑๙ คลี่คลายลง ในวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ก็จะสามารถจัดการเรียนการสอนใน โรงเรียนได้ตามปกติ ภายใต้มาตรการป้องกันของกรมควบคุมโรค แต่หากสถานการณ์ยังไม่คล่ีคลาย ก็จะ จัดการเรียนการสอนผ่านระบบทางไกล สาหรับช่องทีวีดิจิทัลเพื่อการศึกษาท่ีได้รับการจัดสรรจาก กสทช. จานวน ๑๗ ช่องนนั้ จะมกี ารแถลงข่าวชีแ้ จงรายละเอียดในเรื่องดงั กล่าวในวันท่ี ๑๔ พฤษภาคมนตี้ อ่ ไป

สรุปผลการประชมุ ผา่ นทางไกล ส่วนที่ ๑ ทา่ นอานาจ วชิ ยานวุ ตั ิ เลขาธกิ าร กพฐ. โรงเรียนสามารถดาเนนิ การได้ ๓ ทาง ๑. เปดิ ทาการสอนไดต้ ามปกติ ทาการขออนุญาต “ศบค.จงั หวัด” เปน็ ผ้เู หน็ ชอบ ๒. เรียนทางไกลเตม็ รูปแบบ ๓. สามารถผสมผสานได้ สุดท้ายโรงเรียนสามารถออกแบบเองได้ พร้อมสอนได้จริง ตามบริบทพ้ืนที่ เน้นว่า \"ส่วนกลางทา หน้าที่สนบั สนุนการจัดการเรยี นการสอนเท่าน้นั \" การประเมินผลระดับชาติยังมกี ารดาเนนิ การอยู่ • ปฏิทินการจดั การศกึ ษาปรับเปลย่ี นแค่ปี ๒๕๖๓ เท่าน้ัน หลังจากนเี้ ข้าสภู่ าวะปกติเช่นเดมิ • ทง้ั สพฐ. และ สพท. งดกจิ กรรมท่ีไมจ่ าเป็น เน้นการจัดการเรียนการสอนของนักเรียนเปน็ สาคญั ส่วนที่ ๒ ท่านรองฯ สนิท แย้มเกสร รองเลขาธิการ กพฐ. มาตรการต่าง ๆ ของโรงเรียนเพ่อื ความปลอดภัยของนกั เรียนกับการแพรเ่ ช้ือโรคโคโรน่า ๒๐๑๙ อาหารกลางวัน และนมโรงเรยี น ๑. นักเรียนต้องได้ดื่มนมทุกวัน แนวทางการบริหารจัดการให้โรงเรียนหารือกับท้องถิ่นในการจัดการ ใหส้ อดคล้องกับบรบิ ท ๒. อาหารกลางวันแจง้ เป็นหนงั สอื ราชการมาถงึ โรงเรียนแลว้ ส่วนท่ี ๓ ทา่ นรองฯ วัฒนาพร ระงับทกุ ข์ รองเลขาธิการ กพฐ. ท่มี าของการเรียนผ่านทางไกล “ต้องการให้นักเรยี นได้เรียนร้ตู ามหลกั สูตร” การดาเนนิ งานทางวิชาการของโรงเรยี น ๑. DLTV ที่นักเรียนที่อยู่ท่ีบ้านสถานการณ์เปลี่ยนไปให้โรงเรียนทาความเข้าใจกับผู้ปกครองด้วยใน แนวทางการจัดการเรียนการสอน ๒. ประถมศึกษา สอน ๕ กลมุ่ สาระ ประกอบด้วย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และบรู ณาการ ๓. ครสู ามารถเข้าไปดูรายละเอียดเพ่ือเตรียมการเรียนการสอนวันที่ ๑๘ พฤษภาคม – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๓ ได้ที่ www.dltv.ac.th การจัดการเรียนการสอนทางไกลในครั้งน้ีเป็นโอกาสดีที่จะเป็นการทดลอง “วิธีการจัดการสอนแบบ ใหม่ ๆ ให้โรงเรียน เพ่ือนาไปสู่การเปลี่ยนระเบียบทางวิชาการ เพราะในอนาคตเราเลี่ยงการเรียนออนไลน์ ไม่ไดแ้ นน่ อน น่ีคือการทดลองทดี่ ี”

สว่ นที่ ๔ ทา่ นรองฯ กวินเกียรติ นนทพ์ ละ รองเลขาธิการ กพฐ. รายละเอียดเชงิ ระบบ โรงเรียนสามารถเลือกใช้ได้ตามเหมาะสม ๑. On Site ๒. On Air ๓. Online สว่ นท่ี ๕ นางอาทติ ยา ปัญญา ผู้อานวยการสถานบนั ภาษาอังกฤษ ได้กล่าวถึงการจัดการเรยี นรู้ห้องเรียนโครงการพิเศษ (EP) เปิดในลักษณะที่มีความเหมาะสม โดยครู ต้องออกแบบการจัดการเรียนการสอนเหมือนการเปิดการเรียนปกติทุกประการ ทั้งนี้ต้องยึดรายละเอียดเชิง ระบบ ทโ่ี รงเรยี นสามารถเลอื กใชไ้ ดต้ ามเหมาะสม On Site , On Air และ Online นโยบายการจัดการศกึ ษาชว่ ง COVID-19 “เพม่ิ ” เวลาพัก “ลด” เวลาประเมิน “งด” กิจกรรมที่ไมจ่ าเป็น การจัดการเรียนการสอนทางไกล ระยะท่ี ๑ การเตรียมความพร้อม - ๑ เมษายน - ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๓ ระยะท่ี ๒ ทดลองจัดการเรยี นการสอนทางไกล - ๑๘ พฤษภาคม - ๓๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๓ ระยะที่ ๓ การจดั การเรยี นการสอนทางไกล - ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ - ๓๐ เมษายน ๒๕๖๔ - ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ เปิดภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ - ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ ปิดภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ - ๑ ธันวาคม ๒๕๖๓ เปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ - ๓๐ เมษายน ๒๕๖๔ ปิดภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ระยะท่ี ๔ การทดสอบและศกึ ษาต่อ - ๑ เมษายน - ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๔ - โรงเรยี นและคุณครเู ปน็ ผู้ออกแบบการเรียนรู้ - สว่ นกลาง สพฐ. เป็นตวั กลางสนับสนุน ส่งเสรมิ ดแู ลโรงเรียน การออกแบบการเรยี นการสอน - ๘๐% การเรยี นการสอนสนับสนนุ โดยสว่ นกลาง ดาเนินการโดยกระทรวงศึกษาธิการ - ๒๐% การเรยี นการสอนเพิ่มเตมิ ออกแบบเฉพาะเพื่อใหส้ อดคล้องกับบริบทในพื้นท่ี พิจารณา เพ่ิมเติมตามความเหมาะสม ท้ังนี้ให้อยู่ในดลุ ยพินจิ ของครูผูส้ อนและโรงเรียน การเรียนการสอนในสถานการณก์ ารแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙

๑. ON-SITE เรยี นทีโ่ รงเรียนในพื้นท่ีปลอดภัยภายใตเ้ ง่ือนไข ศบค.จงั หวดั ๒. ON-AIR เรียนทบ่ี า้ น - ระดับชนั้ อนุบาลถงึ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ ใช้ส่ือ DLTV - ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๔ - ๖ ใช้ส่ือของ สพฐ. ๓. ONLINE เรยี นผา่ นอนิ เทอร์เนต็ และแอปพลิเคชัน DLTV - www.dltv.ac.th ในระดบั ช้นั อนบุ าล - ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ DEEP (Dijital Education 3xcellence Platfrom) ในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๖ อยู่ระหว่าง การอบรมใหก้ บั ครูระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ - ๖ บทบาทหน้าทขี่ องโรงเรยี นการเตรียมความพร้อมของผู้อานวยการโรงเรยี น ๑. สารวจความพร้อมการเข้าถงึ การรับชมของนกั เรียนและผู้ปกครอง ด้านอปุ กรณ์และคลน่ื สัญญาณ ๒. จดั กลมุ่ ความพร้อมของการเข้าถึงเป็น ๓ กลมุ่ - กลุ่มทม่ี คี วามพร้อม ๑๐๐% - กลมุ่ ท่ีมคี วามพรอ้ มปานกลาง หรอื ๕๐% - กลุ่มท่มี ีความพรอ้ มนอ้ ยหรือไม่มีความพร้อม ๓. จดั ระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรียนกลมุ่ ทมี่ คี วามพรอ้ มปานกลาง พรอ้ มน้อย หรอื ไมม่ ีความพรอ้ ม ๔. สารวจความพร้อมผู้ปกครองดา้ นเวลา ๕. จัดกลุ่มความพรอ้ มของอปุ กรณ์เปน็ ๓ กลมุ่ - กลุ่มทม่ี คี วามพร้อม ๑๐๐% - กลุม่ ที่มคี วามพร้อมปานกลาง หรือ ๕๐% - กล่มุ ที่มคี วามพร้อมนอ้ ยหรอื ไม่มีความพร้อม ๖. จดั ระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี นและผูป้ กครองทมี่ คี วามพร้อมปานกลาง พรอ้ มน้อย หรือไม่มคี วามพรอ้ ม ๗. จดั ระบบการสื่อสาร วธิ ีการ วันและเวลา ระหว่างโรงเรียนกบั ผปู้ กครอง ๘. จดั ประชุมช้ีแจงทาความเขา้ ใจกับผปู้ กครอง ดว้ ยวธิ กี ารทีเ่ หมาะสมภายใต้เง่ือนไข ศบค.จงั หวัด ๙. มอบหมายครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ดูแลรับผิดชอบและพบปะนักเรียน อนุบาล - มัธยมศึกษา ตอนต้น การประสานความรว่ มมือกบั เครือขา่ ย ๑. คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ๒. การศกึ ษานอกระบบและตามอธั ยาศัย (กศน.) ๓. อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บ้าน (อสม.) ๔. องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่น (อปท.)

ภารกจิ ประจาวันของผอู้ านวยการโรงเรยี น - ๐๗.๓๐ - ๐๙.๐๐ น. ตรวจสอบเวลาการปฏบิ ตั ิงานของครู - ๐๙.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. - อานวยความสะดวก สนับสนุน การปฏิบัตงิ านของครู และการเรยี นของนักเรียน - ลงพนื้ ทีแ่ ก้ไขปัญหา (ถ้ามี) - ปฏิบัตงิ านอน่ื ตามความเหมาะสม - ๑๖.๐๐ - ๑๖.๔๕ น. รบั รายงานการปฏบิ ตั ิงานของครูและรว่ มกันสรุปผล - โรงเรียนประมวลผลและสรุปผลการปฏิบัติงานต่อ สพป./สพม. สัปดาห์ละ ๑ คร้ัง หรือโดยทันที กรณีมี ปัญหาหรือมีเหตฉุ ุกเฉิน การเตรียมพร้อมของครู ๑. ศึกษาแนวทางการเรยี นการสอนล่วงหน้าผา่ นเวบ็ ไซต์ www.dltv.ac.th ๒. จัดทาใบงาน แบบฝกึ หดั ตามจุดเน้นในสาระการเรียนรู้ ๓. สรา้ งความเขา้ ใจ ข้อตกลงกับผปู้ กครองในการดแู ลช่วยเหลอื การเรียนของนักเรยี น ๔. นดั หมายวันเวลาการพบปะนักเรยี น ภารกิจประจาวันของครู ๑. ๐๗.๐๐ - ๐๗.๓๐ น. ตรวจสอบการเข้าเรียนของนักเรยี น (ผู้ปกครอง) ๒. ๐๘.๐๐ - ๑๑.๐๐ น. จัดการเรยี นการสอนอนุบาล ๓. ๐๘.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. (๑๔.๓๐ น.) จัดการเรียนการสอนประถมศกึ ษาและมัธยมศึกษา ๔. ๑๔.๓๐ - ๑๖.๐๐ น. ทบทวนบทเรยี นร่วมกับนกั เรยี นและผปู้ กครอง ๕. ๑๖.๐๐ - ๑๖.๔๕ น. รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านต่อผูอ้ านวยการโรงเรียน การพบปะนกั เรยี น ชน้ั อนบุ าลถงึ ประถมศึกษาปีที่ ๖ ๑. มอบหนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบของครูในการพบปะนกั เรยี นอยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ ๑ ครงั้ ๒. จัดระบบพบปะในมิตดิ ้านเวลา สถานท่ี และวธิ ีการ ๓. พบปะนาใบงาน แบบฝกึ หัดและส่อื การเรยี น (ถา้ มี) ไปส่งใหน้ กั เรยี น และนาแบบฝึกหัด ใบงานมาตรวจ (๒ แฟม้ ต่อนักเรยี น ๑ คน) กระบวนการเรียนทางไกล ๑. เตรียมความพรอ้ ม ๒. การเรยี นทางไกล ๓. การตดิ ตอ่ สือ่ สารพบปะผู้ปกครองนักเรียน (มุง่ เนน้ อนุบาล - ประถมศึกษาปที ี่ ๖) ๔. ประเมนิ ผล

เวลาออกอากาศ DLTV Live (สด) ๐๘.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ระดบั ชนั้ อนุบาล ๐๘.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. (๑๔.๓๐ น.) ระดับชน้ั ประถมศึกษา - มธั ยมศึกษา Rerun (ย้อนหลงั ) รอบท่ี ๑ เริ่ม ๑๔.๓๐ น. เปน็ ต้นไป รอบที่ ๒ เร่ิม ๒๐.๓๐ น. เปน็ ต้นไป ช่องทางการรับสัญญาณ - ผ่านดาวเทยี มระบบ KU-BAND ช่อง ๑๘๖ - ๒๐๐ - เว็บไซต์ www.dltv.ac.th - แอปพลเิ คชัน DLTV เอกสารประกอบการอบรม (ภาคผนวก) - เกยี รตบิ ัตรแบบทดสอบวัดความรหู้ ลังการอบรม - หนงั สือราชการสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน - หนงั สือราชการสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต ๑ - รายละเอยี ดแนวทางการดาเนินงานการจัดการเรยี นการสอนทางไกล ลงชอ่ื ผรู้ ายงาน (นางสาวจิราพร กุลให้) ตาแหนง่ ครูผู้ช่วย ความเห็นผ้อู านวยการโรงเรียน  ทราบ  อ่นื ๆ ............................................................................................................................. ลงชอื่ ผู้รบั รองรายงาน (นางสาวนภัสนนั ท์ นิลบตุ ร) ผ้อู านวยการโรงเรยี นบา้ นหนองเป็ด

ภาคผนวก ก เกียรติบตั รแบบทดสอบวัดความร้หู ลงั การอบรม

ภาคผนวก ข รายละเอียดหนังสือราชการ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน





ภาคผนวก ค รายละเอียดหนังสอื ราชการ สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา กาญจนบรุ ี เขต ๑








Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook