Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ม.1 (หน่วยที่ 3 เทอม 2 )

แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย ม.1 (หน่วยที่ 3 เทอม 2 )

Published by KAGIROON, 2020-03-10 04:09:24

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (ท 21102) ภาคเรียนที่ 2 หน่วยที่ 3 เรื่อง นิทานพื้บ้าน

Search

Read the Text Version

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นันท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง หนว่ ยท่ี ๓ นทิ านพื้นบา้ น เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรียนท่ี ๒ แผนการเรยี นรู้ที่ ๔๙ นิทานพ้นื บ้านภาคตะวนั ออก ครูผู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ วนั ท่สี อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั ภูมปิ ระเทศของภาคตะวันออกส่วนใหญ่ตดิ ทะเล มชี ายหาด เกาะ และภูเขา เร่อื งราวของนิทานพ้นื บ้าน จงึ มักอธิบายท่ีมาของสถานทีเ่ หลา่ นนั้ และสะท้อนวิถีชวี ิตของผูค้ นที่อย่ใู กลท้ ะเล 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อย่างเหน็ คุณค่า และนามาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตจรงิ 3. ตวั ช้วี ัด ท ๕.๑ ม. ๑/๑ สรปุ เนือ้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่าน 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) สรุปเน้อื เร่อื งนิทานพื้นบ้านท่ีอา่ น 2. ทักษะกระบวนการ (P) วิเคราะหส์ ภาพสงั คม วัฒนธรรม และข้อคิดทีไ่ ด้จากนทิ านพ้ืนบ้านภาคตะวนั ออก 3. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) เหน็ ความสาคญั ของการศึกษานทิ านพ้ืนบ้านภาคตะวันออกเพื่อเรียนร้วู ฒั นธรรมท้องถิ่น 5. สาระการเรยี นรู้ นิทานพ้นื บ้านภาคตะวันออก 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขนั้ นาเขา้ สบู่ ทเรียน นักเรียนสังเกตและชว่ ยกนั อธิบายลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของภาคตะวนั ออกจากแผนทป่ี ระเทศไทย

ขั้นพฒั นาผู้เรยี น ๑. นกั เรียนแบ่งเปน็ ๒ กลุ่ม จับฉลากชอื่ นิทานพนื้ บา้ น ดงั น้ี กลุม่ ท่ี ๑ เรอ่ื ง ตาม่องลา่ ย กลุม่ ท่ี ๒ เรือ่ ง แหลมงอบ เกาะชา้ ง ๒. นกั เรยี นอา่ นนทิ านท่ีแต่ละกลุม่ ได้รบั ช่วยกนั จบั ใจความและสรปุ เน้ือเร่ืองพร้อมทัง้ ดูภาพ สถานที่จรงิ ประกอบ ๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปเหตกุ ารณ์สาคัญและวาดภาพตามลาดับเนื้อเร่ืองเหล่าน้ัน เพ่ือ ใช้ประกอบการเล่านิทาน จากน้ันคัดเลือกผู้ท่ีมคี วามสามารถในการเล่านิทานกลุ่มละ ๑ คน ฝึกซ้อมเล่านิทาน ประกอบภาพ ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมาเล่านิทานประกอบภาพหน้าชั้นเรียน ทุกคนร่วมกันฟัง และจับใจความเน้ือเรอ่ื ง พรอ้ มทัง้ ประเมินการเล่านทิ าน ครชู ่วยแนะนาเพ่มิ เตมิ ๕. นกั เรยี นรว่ มกนั วิเคราะห์สภาพสังคม วถิ ชี ีวิต และวฒั นธรรมท่ีปรากฏในเนื้อเร่อื ง ๖. นักเรียนรว่ มกันวิเคราะหข์ ้อคิดท่ีได้จากนทิ าน และอภปิ รายพฤติกรรมของตวั ละครต่าง ๆ ว่า เหมาะสมหรือไม่ และควรปฏิบตั อิ ย่างไร ๗. นักเรียนทาแบบฝกึ หัดจับคูน่ ิทานพ้นื บา้ นกับเร่ืองราวทเ่ี กีย่ วขอ้ ง และวเิ คราะห์ความสาคัญ ของนิทานพ้นื บ้านแต่ละเรื่อง หลงั จากนน้ั ครตู รวจสอบความถูกต้อง ข้ันสรปุ นกั เรียนและครรู ว่ มกันสรปุ ความรู้ ดงั นี้ ภูมปิ ระเทศของภาคตะวนั ออกสว่ นใหญ่ตดิ ทะเล มีชายหาด เกาะ และภเู ขา เรื่องราวของนทิ านพ้นื บา้ นจงึ มักอธิบายท่ีมาของสถานทเ่ี หลา่ น้นั และสะท้อนวิถีชีวิตของผู้คน ที่อยู่ใกลท้ ะเล 7. ส่ือการเรยี นรู้ ๑. แผนทป่ี ระเทศไทย ๒. ฉลาก ๓. นทิ านพืน้ บ้าน

8. การวดั ผลประเมนิ ผล หลกั ฐาน เคร่อื งมือวัด เกณฑ์การ ประเมิน เป้าหมาย แบบฝกึ หัด “นทิ านพน้ื บ้าน แบบประเมนิ แบบฝกึ หดั รอ้ ยละ ๖๐ สาระสาคัญ ภาคตะวันออก” “นิทานพน้ื บ้าน ผา่ นเกณฑ์ ภูมิประเทศของภาคตะวนั ออก ภาคตะวันออก” แบบฝึกหัด ส่วนใหญต่ ิดทะเล มีชายหาด เกาะ “นิทานพื้นบ้าน แบบประเมนิ แบบฝึกหดั ร้อยละ ๖๐ และภเู ขา เรอ่ื งราวของนิทานพืน้ บ้าน ภาคตะวนั ออก” “นทิ านพนื้ บ้าน ผ่านเกณฑ์ จงึ มักอธบิ ายทมี่ าของสถานทเี่ หล่าน้นั ภาคตะวนั ออก” และสะท้อนวิถชี วี ิตของผู้คนท่ีอยใู่ กล้ แบบฝกึ หดั ทะเล “นทิ านพน้ื บ้าน แบบประเมนิ แบบฝกึ หดั รอ้ ยละ ๖๐ ตัวชีว้ ดั ภาคตะวันออก” “นทิ านพน้ื บ้าน ผ่านเกณฑ์ - ท ๕.๑ ม. ๑/๑ สรปุ เน้อื หา ภาคตะวนั ออก” วรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เห็นความสาคญั ของการศกึ ษา นิทานพ้นื บา้ นภาคตะวันออกเพอ่ื เรียนร้วู ัฒนธรรมท้องถิ่น

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รบู ริกส)์ ประเด็นการประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรียนสรุปเนื้อ สรุปความรู้และ สรุปความร้แู ละข้อคิด สรุปความรแู้ ละ สรุปความรแู้ ละข้อคิด เรื่องนทิ านพื้นบ้านท่ี ข้อคิดจากเร่ืองได้ จากเรอื่ งไดถ้ ูกต้อง ข้อคิดจากเร่ืองได้ จากเรือ่ งไดถ้ ูกต้อง แต่ อ่าน (K) ถกู ต้อง ชัดเจน หลาย ชัดเจน หลายแง่มมุ ถูกต้อง แต่สรปุ เพยี ง สรปุ เพียง ๑ ประเดน็ ไม่ แง่มุม และสามารถ และสามารถเสนอ ๑ ประเด็น และเสนอ สามารถเชอื่ มโยงกบั เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใช้ใน ชีวิตจรงิ ได้ ตอ้ งมผี ู้ นาไปใช้ในชวี ติ จริงได้ ในชีวติ จรงิ ได้ ชวี ิตจรงิ ได้สมั พนั ธ์กนั แนะนาจึงจะเข้าใจ ดีและสร้างสรรค์ 2. นกั เรียนวิเคราะห์ นกั เรยี นวิเคราะห์ นักเรียนวิเคราะห์ นกั เรียนวิเคราะห์ นักเรยี นวิเคราะห์ สภาพสังคม สภาพสังคม สภาพสังคม สภาพสังคม วัฒนธรรม สภาพสังคม วฒั นธรรม วฒั นธรรม และ วัฒนธรรม และ วฒั นธรรม และขอ้ คิด และข้อคิดที่ไดจ้ าก และข้อคิดทไี่ ดจ้ าก ข้อคิดท่ไี ด้จากนิทาน ข้อคิดท่ไี ด้จากนทิ าน ท่ีไดจ้ ากนิทานได้ นทิ านได้หลายประเด็น นทิ านอย่างกวา้ ง ๆ ไม่ พ้ืนบ้านภาค ไดห้ ลายประเดน็ ทกุ หลายประเด็น ทกุ ซึ่งบางประเด็น ระบุประเด็นชดั เจน แต่ ตะวนั ออก (P) ประเดน็ ล้วนน่าสนใจ ประเดน็ นา่ สนใจและ ก็มีเหตผุ ลประกอบที่ มีเหตผุ ลประกอบ ล้วนนา่ สนใจ มีเหตุผล แสดงเหตุผลทีด่ ี สมั พันธ์กัน สรุปข้อคิด น่าเชอื่ ถือ สรุปข้อคิด ประกอบทดี่ ี สรุป สรุปข้อคิดและเสนอ เพียงสนั้ ๆ แต่กเ็ ป็น และเสนอแนวทางท่ี ข้อคิดและเสนอ แนวทางท่ีเป็น ประโยชน์ทด่ี ี นาไปใชใ้ นชีวิตได้จรงิ แนวทางที่นาไปใช้ ประโยชน์ ในชีวิตได้จรงิ ๓. นกั เรยี นเห็น นักเรยี นใช้คาใน นักเรยี นใช้คาใน นกั เรยี นใชค้ าใน นกั เรยี นใชค้ าใน ความสาคัญของ ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไม่ถูกต้อง การศึกษานิทาน ตามอักขรวธิ ี ใช้คาได้ ตามอักขรวิธี ใชค้ าได้ เขียนยังไมถ่ กู ตอ้ ง เขยี นคาพน้ื ฐาน พน้ื บา้ นภาค ถกู บริบทและ ถูกบรบิ ทและ ตาม อกั ขรวิธี เขียน ภาษาไทยไม่ถูกต้อง ตะวนั ออกเพือ่ เรยี นรู้ เหมาะสม เขียนคา เหมาะสม เขียนคา คาพน้ื ฐานไดถ้ ูกตอ้ ง วฒั นธรรมทอ้ งถ่นิ พ้นื ฐานได้ถูกต้อง พ้นื ฐานมขี ้อผดิ พลาด บ้าง (A) ทง้ั หมด เล็กนอ้ ย เกณฑก์ ารประเมนิ การผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรงุ คะแนนร้อยละ ๖๐ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นันท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรียนรู้ กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ช่วั โมง หน่วยที่ ๓ นิทานพ้ืนบา้ น เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ ๒ แผนการเรยี นรู้ที่ ๕๐ นทิ านพน้ื บา้ นภาคใต้ ครูผู้สอน นางสาวจริ าพร กุลให้ วันท่สี อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั ภูมิประเทศของภาคใต้ส่วนใหญ่ติดทะเล มีชายหาด เกาะ และภูเขา เร่ืองราวของนิทานพื้นบ้านจึงมัก อธิบายทมี่ าของสถานท่เี หลา่ นัน้ และสะท้อนวถิ ีชีวติ ของผูค้ นท่ีอยู่ใกลท้ ะเล 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทย อยา่ งเห็นคุณคา่ และนามาประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ 3. ตัวชี้วัด ท ๕.๑ ม. ๑/๑ สรปุ เน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน 4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) สรปุ เนอื้ เรือ่ งนิทานพ้ืนบ้านที่อ่าน 2. ทักษะกระบวนการ (P) วิเคราะหส์ ภาพสงั คม วัฒนธรรม และข้อคิดทไี่ ด้จากนทิ านพ้นื บ้านภาคใต้ 3. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) เหน็ ความสาคัญของการศึกษานิทานพ้นื บา้ นภาคใตเ้ พื่อเรยี นร้วู ฒั นธรรมท้องถน่ิ 5. สาระการเรียนรู้ นิทานพืน้ บ้านภาคใต้ 6. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้ันนาเข้าสู่บทเรยี น นักเรียนสงั เกตและชว่ ยกนั อธิบายลกั ษณะภมู ปิ ระเทศของภาคใตจ้ ากแผนทปี่ ระเทศไทย ขน้ั พัฒนาผเู้ รียน ๑. นกั เรียนแบ่งเปน็ ๒ กลมุ่ จับฉลากช่อื นทิ านพืน้ บา้ น ดงั น้ี กลุม่ ท่ี ๑ เรือ่ ง เขาทะนาน กลมุ่ ที่ ๒ เร่อื ง เกาะหนเู กาะแมว ๒. นักเรยี นอา่ นนิทานที่แต่ละกล่มุ ไดร้ ับ ช่วยกันจับใจความและสรุปเนือ้ เรื่องพรอ้ มทงั้ ดภู าพ สถานที่จริงประกอบ

๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปเหตกุ ารณ์สาคัญและวาดภาพตามลาดับเน้ือเรื่องเหล่าน้ัน เพื่อ ใช้ประกอบการเล่านิทาน จากน้ันคัดเลือกผู้ท่ีมีความสามารถในการเล่านิทานกลุ่มละ ๑ คน ฝึกซ้อมเล่านิทาน ประกอบภาพ ๔. นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนที่คัดเลือกไว้พร้อมผู้ช่วยถือภาพออกมาเล่านิทานประกอบภาพ หน้าช้ันเรียน ทกุ คนร่วมกันฟงั และจบั ใจความเนื้อเรื่อง พร้อมทง้ั ประเมินการเล่านิทาน ครูชว่ ยแนะนาเพิม่ เติม ๕. นักเรียนรว่ มกันวเิ คราะห์สภาพสังคม วิถชี ีวิต และวัฒนธรรมทป่ี รากฏในเน้อื เร่อื ง ๖. นักเรียนร่วมกนั วิเคราะหข์ ้อคดิ ท่ีไดจ้ ากนิทาน และอภิปรายพฤติกรรมของตวั ละครตา่ ง ๆ ว่า เหมาะสมหรือไม่ และควรปฏิบตั อิ ย่างไร ขนั้ สรุป นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรุปความรู้ ดังนี้ ภูมิประเทศของภาคใต้ส่วนใหญต่ ิดทะเล มชี ายหาด เกาะ และภเู ขา เรือ่ งราวของนทิ านพ้ืนบ้านจึงมักอธบิ ายท่ีมาของสถานท่ีเหล่านัน้ และสะทอ้ นวิถีชีวิตของผู้คนท่ีอยู่ ใกล้ทะเล 7. สอ่ื การเรียนรู้ ๑. แผนทปี่ ระเทศไทย ๒. ฉลาก ๓. นทิ านพ้นื บ้าน 8. การวดั ผลประเมนิ ผล หลกั ฐาน เครอ่ื งมอื วดั เกณฑก์ าร ประเมิน เป้าหมาย แบบฝึกหัด “นทิ านพน้ื บ้าน แบบประเมนิ แบบฝึกหัด รอ้ ยละ ๖๐ สาระสาคัญ “นทิ านพื้นบ้าน ผ่านเกณฑ์ ภมู ิประเทศของภาคใต้ส่วนใหญ่ ภาคใต้” ภาคใต้” ตดิ ทะเล มีชายหาด เกาะ และภูเขา เร่อื งราวของนิทานพ้ืนบา้ นจึงมกั อธิบายท่มี าของสถานทเ่ี หล่านัน้ และ สะทอ้ นวิถชี วี ิตของผ้คู นท่อี ยู่ใกลท้ ะเล ตวั ชีว้ ัด แบบฝึกหัด แบบประเมนิ แบบฝึกหัด รอ้ ยละ ๖๐ - ท ๕.๑ ม. ๑/๑ สรุปเนือ้ หา “นทิ านพ้นื บ้าน “นทิ านพืน้ บ้าน ผา่ นเกณฑ์ วรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ น ภาคใต้” ภาคใต้” คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ แบบประเมินแบบฝกึ หัด ร้อยละ ๖๐ เหน็ ความสาคญั ของการศึกษา แบบฝึกหัด “นิทานพน้ื บ้าน ผ่านเกณฑ์ “นทิ านพ้ืนบ้าน ภาคใต้” นิทานพ้นื บ้านภาคตะวันใตเ้ พื่อเรยี นรู้ วฒั นธรรมท้องถ่ิน ภาคใต้”

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รบู รกิ ส)์ ประเดน็ การประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคุณภาพ (๑) ปรับปรงุ (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรยี นสรุปเนือ้ สรุปความรแู้ ละ สรุปความรแู้ ละข้อคิด สรุปความรแู้ ละ สรปุ ความรูแ้ ละข้อคิด เรือ่ งนทิ านพืน้ บา้ นที่ ข้อคิดจากเร่ืองได้ จากเรอื่ งได้ถูกต้อง ขอ้ คิดจากเร่ืองได้ จากเรือ่ งได้ถูกต้อง แต่ อ่าน (K) ถกู ต้อง ชัดเจน หลาย ชดั เจน หลายแง่มุม ถกู ต้อง แต่สรุปเพยี ง สรุปเพียง ๑ ประเดน็ ไม่ แงม่ มุ และสามารถ และสามารถเสนอ ๑ ประเดน็ และเสนอ สามารถเชอื่ มโยงกับ เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใช้ใน ชวี ิตจรงิ ได้ ตอ้ งมผี ู้ นาไปใชใ้ นชีวติ จริงได้ ในชวี ติ จริงได้ ชวี ิตจริงไดส้ ัมพันธ์กัน แนะนาจงึ จะเข้าใจ ดแี ละสรา้ งสรรค์ 2. นกั เรยี นวิเคราะห์ นกั เรยี นวิเคราะห์ นักเรยี นวเิ คราะห์ นักเรียนวเิ คราะห์ นักเรยี นวิเคราะห์ สภาพสงั คม สภาพสังคม สภาพสงั คม สภาพสงั คม วัฒนธรรม สภาพสงั คม วัฒนธรรม วัฒนธรรม และ วฒั นธรรม และ วัฒนธรรม และขอ้ คิด และข้อคดิ ทไี่ ดจ้ าก และข้อคดิ ท่ไี ดจ้ าก ข้อคิดท่ีได้จากนทิ าน ข้อคิดท่ีไดจ้ ากนทิ าน ทไี่ ดจ้ ากนิทานได้ นทิ านได้หลายประเด็น นิทานอย่างกว้าง ๆ ไม่ พ้นื บ้านภาคใต้ (P) ไดห้ ลายประเดน็ ทุก หลายประเด็น ทกุ ซง่ึ บางประเดน็ ระบปุ ระเด็นชดั เจน แต่ ประเดน็ ลว้ นนา่ สนใจ ประเดน็ น่าสนใจและ กม็ ีเหตุผลประกอบท่ี มีเหตผุ ลประกอบ ล้วนนา่ สนใจ มเี หตุผล แสดงเหตผุ ลทีด่ ี สัมพันธ์กัน สรปุ ข้อคิด นา่ เช่ือถือ สรปุ ข้อคดิ ประกอบทีด่ ี สรุป สรุปขอ้ คิดและเสนอ เพียงสั้น ๆ แต่ก็เป็น และเสนอแนวทางที่ ขอ้ คิดและเสนอ แนวทางท่เี ปน็ ประโยชนท์ ี่ดี นาไปใช้ในชีวิตได้จริง แนวทางทน่ี าไปใช้ ประโยชน์ ในชีวติ ไดจ้ ริง ๓. นกั เรยี นเหน็ นักเรยี นใชค้ าใน นกั เรยี นใชค้ าใน นักเรียนใชค้ าใน นักเรียนใช้คาใน ความสาคญั ของ ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง การศกึ ษานิทาน ตามอักขรวธิ ี ใช้คาได้ ตามอักขรวิธี ใชค้ าได้ เขียนยังไมถ่ กู ต้อง เขยี นคาพื้นฐาน พน้ื บ้านภาคใตเ้ พื่อ ถูกบรบิ ทและ ถูกบรบิ ทและ ตาม อักขรวธิ ี เขยี น ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง เรยี นรู้วฒั นธรรม เหมาะสม เขียนคา เหมาะสม เขยี นคา คาพ้ืนฐานไดถ้ ูกต้อง ท้องถิ่น (A) พืน้ ฐานได้ถกู ต้อง พนื้ ฐานมขี ้อผดิ พลาด บา้ ง ท้ังหมด เล็กน้อย เกณฑก์ ารประเมินการผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรงุ คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือว่าผ่านเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง หน่วยท่ี ๓ นิทานพื้นบา้ น เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ ๒ แผนการเรียนรทู้ ี่ ๕๑ การย่อนทิ านพ้นื บา้ น ครผู ูส้ อน นางสาวจิราพร กุลให้ วันท่สี อน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ การนาประสบการณจ์ ากการฟังและดูนิทานพ้ืนบา้ นมาเขียนเป็นเร่อื งย่อ ทาใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ ในเนือ้ หานทิ านพืน้ บ้านเรื่องนั้น ๆ ชดั เจนขึน้ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลอื กฟังและดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคดิ และ ความรสู้ กึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสร้างสรรค์ 3. ตัวชีว้ ดั ท ๓.๑ ม. ๑/๒ เล่าเร่อื งย่อจากเร่ืองท่ีฟงั และดู ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายลักษณะของนิทานพืน้ บ้าน 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) เขยี นเรอ่ื งย่อนทิ านพน้ื บา้ นจากการฟงั และดู 3. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) เห็นความสาคัญในการนาประสบการณ์จากการฟงั และดูมาเขยี นถา่ ยทอดเพื่อพัฒนา การเรยี นรขู้ องตนเองในชีวิตประจาวนั 5. สาระการเรยี นรู้ การเขียนเร่ืองย่อนิทานพ้ืนบา้ นจากการฟงั และดู 6. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ข้ันนาเขา้ สบู่ ทเรยี น นกั เรยี นร่วมกนั แสดงความคิดเห็นว่า นักเรียนเคยฟังหรือดูนิทานพนื้ บ้านเรื่องใดบ้าง จากแหล่งใด ขั้นพัฒนาผูเ้ รยี น ๑. นกั เรียนทบทวนความรู้เกยี่ วกบั แนวทางการสรุปความจากการฟังและดู เพ่ือนามาใช้ เขียนเรือ่ ง ย่อนทิ านพ้นื บ้าน ๒. ครนู าตัวอยา่ งการเขยี นเรื่องยอ่ นิทานพ้ืนบ้านเรื่อง อุทัยเทวี มาให้นักเรียนรว่ มกนั ศกึ ษาดังนี้

ตัวอยา่ งเรอื่ งย่อนทิ านพ้ืนบ้านเรอื่ ง อุทัยเทวี ณ เมืองใต้บาดาลอันเป็นถิ่นที่อยู่ของพญานาคราช พระองค์ทรงมีพระธิดาท่ีสิริโฉมงดงามองค์หนึ่ง นางแอบหนีข้ึนมาเท่ียวบนโลกมนุษย์ จึงได้พบรักกับรุกขเทวดาจนต้ังครรภ์ นางกลัวว่าพระบิดาจะลงโทษ จึง สารอกลูกในท้องออกมาเป็นไข่ฟองหน่ึง แล้วใช้ผ้าห่อนาไปซ่อนไว้ในพงหญ้าริมหนองน้าพร้อมท้ังมอบแหวน วิเศษใหไ้ ว้ด้วย จากนนั้ นางก็กลับเมืองบาดาล คางคกตัวหนึ่งกาลังหิว เม่อื เห็นไขท่ ่ีพระธิดาพญานาคสารอกไว้ก็รบี กลืนลงท้องทนั ทีพิษของนาคทาให้ คางคกขาดใจตาย ในขณะเดียวกันน้ันเปลือกไข่ก็แตกออก ภายในมีเด็กหญิงน่ารักงดงามคนหนึ่ง เด็กหญิงจึง ไดอ้ าศยั อยใู่ นซากคางคก ท่ีชายป่าใกล้หนองน้าแห่งน้ัน มีตายายปลูกกระท่อมอาศัยอยู่ วันหน่ึงตายายไปหาปลาในหนองน้าได้ พบซากคางคก คางคกขอให้ตายายนาไปเล้ยี ง ตายายสงสารจงึ นากลับไปด้วย เมอื่ ตายายออกไปหาผกั หาปลา เด็กหญงิ ก็ออกจากซากคางคกมาชว่ ยทาความสะอาดบา้ นและ จัดเตรียมอาหารไวใ้ ห้ จนตายายสงสยั และแอบดูจนรู้ความจรงิ เด็กหญิงอาศัยอยู่ในซากคางคกจนเติบโตเป็นหญิงสาวท่ีมีรูปร่างหน้าตางดงาม ผิวขาวผุดผ่อง ดัง แสงอาทิตย์แรกขึ้น ตายายจึงเรียกนางว่า อุทัยเทวี วันหนึ่งนางขอให้ตายายพาไปทาบุญท่ีวัดและได้พบกับ เจ้าชายสุทราช โอรสพระเจ้าการพผู้ครองเมือง เม่ือตายายรู้ว่าเจ้าชายสุทราชรักใคร่นางอุทัยเทวี จึงบอกให้ เจ้าชายสร้างสะพานเงินสะพานทองจากวังมาถึงกระท่อมเพื่อสู่ขอนางพระเจ้าการพทรงพิโรธจึงมีรับสั่งให้ตา ยายสร้างปราสาทสาหรับรับเสดจ็ เจา้ ชายภายใน ๗ วัน หากทาไมไ่ ด้จะถูกประหารชวี ิต นางอุทัยเทวีเห็นตายายต้องเดือดร้อนจึงเนรมิตปราสาทภายในช่ัวข้ามคืน และพระอินทร์ก็มาช่วย เนรมิตสะพานเงินสะพานทองดว้ ย พระเจ้าการพจงึ จดั พิธอี ภเิ ษกสมรสให้เจา้ ชายสุทราชกับนางอทุ ยั เทวี ต่อมาเจ้าชายสุทราชต้องไปอภิเษกสมรสกับเจ้าหญิงฉันนาตามสัญญาที่กษัตริย์ท้ังสองเมืองตกลงหม้ัน หมายกันไว้ เจ้าหญิงฉันนาเกิดริษยาที่เจ้าชายรักนางอุทัยเทวีจึงให้คนไปหลอกนางมาขังไว้ แล้วเฆี่ยนนางจน สลบไปจากน้ันก็นาไปทิ้งแม่น้า แต่เมื่อถูกน้านางกลับฟ้ืนเพราะมีเชื้อสายนาคและมีแม่ค้าขายขนมมาช่วยไว้ นาง จงึ แปลงเปน็ หญงิ ชราท่ีมีผมดาไปขายขนมบรเิ วณท่าน้าพระราชวัง เจ้าหญิงฉันนาถูกผลกรรมตามสนองทาให้พระเกศาหงอกทั้งพระเศียร นางกานัลจึงพาหญิงชราขาย ขนมที่ผมดาสนทิ มาช่วยรกั ษา หญิงชราได้ปลงพระเกศาของเจ้าหญงิ ออกท้ังหมดนาปลาร้ามาพอก แล้วใช้หม้อ ดินครอบไว้ทาให้บาดแผลจากการโกนผมของเจ้าหญิงติดเช้อื จนสิ้นพระชนม์ เจ้าชายสุทราชจึงออกผนวชเพื่อ อุทิศส่วนกุศลให้เจ้าหญิง เมื่อทรงลาผนวชแล้วพระเจ้าการพได้มอบราชสมบัติให้เจ้าชายสุทราชและนางอุทัย เทวี ท้งั สองก็ปกครองบ้านเมืองใหเ้ จริญร่งุ เรืองและสงบสุขตงั้ แตน่ ั้นมา ๓. นักเรียนเขยี นเร่ืองย่อนทิ านพน้ื บา้ นท่ีเคยฟงั ฟงั จากผใู้ หญเ่ ล่า ดจู ากโทรทศั น์ หรือดจู าก youtube ซง่ึ นกั เรยี นชอบมากทีส่ ดุ คนละ ๑ เร่อื ง ๔. ครูมอบหมายให้นักเรียนเตรียมการเล่านทิ านหนา้ ช้ันเรยี นให้เพือ่ นฟงั ในชวั่ โมงถัดไป ข้นั สรุป นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปความรู้ ดังน้ี การนาประสบการณ์จากการฟงั และดนู ทิ านพื้นบ้านมาเขียน เปน็ เรื่องย่อ ทาให้เกิดความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหานิทานพ้ืนบา้ นเรอ่ื งนน้ั ๆ ชัดเจนขน้ึ

7. ส่อื การเรียนรู้ ตัวอยา่ งเรอื่ งย่อนิทานพื้นบา้ น 8. การวัดผลประเมนิ ผล เป้าหมาย หลกั ฐาน เคร่ืองมือวัด เกณฑก์ าร ประเมิน สาระสาคญั ร้อยละ ๖๐ การนาประสบการณจ์ ากการฟัง ผ่านเกณฑ์ และดูนทิ านพืน้ บ้านมาเขียนเปน็ เร่อื ง แบบฝกึ หัด แบบประเมนิ แบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ “ยอ่ จากเรอ่ื ง นามาเลา่ ” ผา่ นเกณฑ์ ย่อ ทาใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจใน “ยอ่ จากเรื่อง นามาเล่า” แบบประเมนิ แบบฝกึ หัด ร้อยละ ๖๐ เน้ือหานิทานพ้ืนบ้านเร่ืองนนั้ ๆ “ยอ่ จากเรอื่ ง นามาเล่า” ผา่ นเกณฑ์ ชดั เจนขึน้ แบบประเมินแบบฝึกหัด “ยอ่ จากเรอ่ื ง นามาเล่า” ตัวชีว้ ดั - ท ๓.๑ ม. ๑/๒ เลา่ เรื่องย่อจากเร่ือง แบบฝึกหดั ท่ีฟังและดู “ยอ่ จากเรื่อง นามาเล่า” - ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ เหน็ ความสาคัญในการนา ประสบการณจ์ ากการฟังและดูมาเขียน แบบฝึกหดั ถา่ ยทอดเพื่อพฒั นาการเรียนรูข้ อง “ย่อจากเรอ่ื ง นามาเลา่ ” ตนเองในชวี ติ ประจาวัน

เกณฑ์การประเมนิ ผล (รูบรกิ ส)์ ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรียนอธิบาย นักเรยี นอธบิ าย นกั เรียนอธบิ าย นักเรยี นอธบิ าย นกั เรียนอธบิ าย ลกั ษณะของนิทาน ลักษณะของนิทานได้ ลักษณะของนทิ านได้ ลกั ษณะของนิทานได้ ลักษณะของนทิ านได้ พน้ื บา้ น (K) ถกู ต้อง ชดั เจน หลาย ถูกต้อง ชดั เจน หลาย ถกู ต้อง แต่สรปุ เพียง ถกู ต้อง แตส่ รุปเพยี ง ๑ แงม่ ุม และสามารถ แง่มมุ และสามารถ ๑ ประเดน็ และเสนอ ประเดน็ ไมส่ ามารถ เสนอแนวทางการ เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใช้ใน เชอื่ มโยงกับชวี ิตจริงได้ นาไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ ได้ นาไปใชใ้ นชีวติ จริงได้ ชวี ิตจรงิ ไดส้ ัมพันธ์กัน ตอ้ งมผี ู้แนะนาจงึ จะ ดแี ละสรา้ งสรรค์ เขา้ ใจ 2. นักเรียนเขียน นกั เรยี นเขยี นย่อนิทาน นกั เรยี นเขียนย่อนิทาน นกั เรียนเขียนย่อนิทาน นกั เรยี นเขียนย่อนทิ าน เรื่องยอ่ นิทาน ตามรปู แบบของย่อ ตามรปู แบบของย่อ ตามรปู แบบของย่อ ตามรปู แบบของย่อ พ้ืนบ้านจากการฟงั ความได้ถกู ต้อง ความได้ถกู ต้อง ความได้ถกู ต้อง ความได้ถูกต้อง แตย่ งั และดู (P) สรปุ ใจความสาคัญ สรปุ ใจความสาคัญ สรุปใจความสาคญั สรุปใจความสาคญั ไดไ้ ม่ ไดค้ รบถว้ น ชดั เจน ได้ครบถว้ นและใช้ ได้แตเ่ ปน็ การนา ครบถว้ น และ โดยใช้ภาษาของ ภาษาของตนเอง ขอ้ ความในเรอ่ื ง คัดลอกข้อความจาก ตนเอง เปน็ ส่วนใหญ่ มาตัดต่อกัน โดยใช้ เนื้อเรื่องมาเรยี งต่อกัน คาเช่ือมหรือข้อความ บางตอนของตนเอง ๓. นักเรียนเหน็ นกั เรยี นใช้คาใน นักเรียนใช้คาใน นักเรยี นใชค้ าใน นกั เรยี นใชค้ าใน ความสาคญั ในการนา ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ประสบการณจ์ าก ตามอักขรวธิ ี ใช้คาได้ ตามอักขรวธิ ี ใช้คาได้ เขยี นยังไมถ่ ูกตอ้ ง เขยี นคาพืน้ ฐาน การฟงั และดูมาเขียน ถูกบรบิ ทและ ถกู บริบทและ ตาม อักขรวธิ ี เขยี น ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ถา่ ยทอดเพื่อพฒั นา เหมาะสม เขยี นคา เหมาะสม เขียนคา คาพ้นื ฐานไดถ้ ูกตอ้ ง การเรียนร้ขู องตนเอง พื้นฐานได้ถูกต้อง พน้ื ฐานมขี ้อผดิ พลาด บา้ ง ในชวี ติ ประจาวัน (A) ทง้ั หมด เลก็ นอ้ ย เกณฑก์ ารประเมนิ การผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรุง คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง หน่วยที่ ๓ นทิ านพ้ืนบา้ น เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรยี นที่ ๒ แผนการเรยี นรู้ที่ ๕๒ การเล่านิทาน ครูผสู้ อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ วันท่สี อน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ การเล่านิทานเป็นการถ่ายทอดความสนุกสนานเพลดิ เพลินจากนิทานผ่านนา้ เสยี งและลีลา ท่าทางของผู้ เล่า ซ่ึงอาจใช้อุปกรณ์อ่ืน ๆ ประกอบเพื่อเพิ่มความสนุกสนานและส่งเสริมจินตนาการ แก่ผู้ฟัง การเล่านิทาน พ้ืนบ้านเป็นการสบื สานภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ อกี วธิ ีหนง่ึ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และ ความรสู้ กึ ในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสรา้ งสรรค์ 3. ตัวชี้วัด ท ๓.๑ ม. ๑/๒ เล่าเรอื่ งยอ่ จากเร่ืองท่ีฟงั และดู ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มมี ารยาทในการฟัง การดู และการพูด 4. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) บอกวธิ ีการเล่านิทาน 2. ทักษะกระบวนการ (P) นิทานพื้นบา้ น 3. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) เห็นความสาคญั ของการเล่านิทานพ้นื บ้านที่ชว่ ยสบื สานภมู ิปญั ญาไทย 5. สาระการเรยี นรู้ การเลา่ นิทาน 6. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ ว่าการเป็นนกั เล่านทิ านที่ดตี อ้ งมีคุณสมบัติอย่างไร ขัน้ พัฒนาผเู้ รียน ๑. นกั เรยี นรว่ มกันสนทนาเกี่ยวกบั วิธกี ารเลา่ นทิ านให้น่าสนใจ โดยใชก้ ารเรียนรจู้ าก ประสบการณ์ทเ่ี คยปฏิบัติ ๒. นกั เรียนออกมาเล่านทิ านพ้ืนบ้านท่ีเขยี นบันทึกไว้ให้เพื่อนฟงั หน้าช้ันเรียน โดยใช้ท่าทางและ นา้ เสยี งใหส้ อดคล้องกับเรอ่ื ง บางคนอาจใชอ้ ปุ กรณป์ ระกอบการเล่านทิ านตามความเหมาะสม

๓. นกั เรยี นฟังการเล่านทิ าน จบั ใจความ และสังเกตวธิ กี ารเลา่ ของเพือ่ นแตล่ ะคนเพื่อประเมนิ ผล ๔. เมือ่ ฟงั นิทานแตล่ ะเร่ืองจบ ใหน้ ักเรยี นบนั ทึกขอ้ คดิ ท่ีไดเ้ ก็บไว้สาหรบั ใชอ้ ภปิ รายในชัว่ โมง ถัดไป ๕. นักเรยี นรว่ มกันคัดเลอื กผทู้ ี่เลา่ นทิ านได้ดี ทาให้ผู้ฟงั สนใจ สนุกสนานและเกิดอารมณ์คลอ้ ย ตามไปกบั เนื้อเรื่อง โดยสามารถให้เหตผุ ลและวิจารณ์ได้ ครใู หข้ ้อเสนอแนะเก่ยี วกบั การเลา่ นทิ านของนกั เรยี น เพ่ิมเติม ขั้นสรุป นกั เรยี นและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดังน้ี การเลา่ นทิ านเปน็ การถา่ ยทอดความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ จากนิทานผา่ นนา้ เสยี งและลีลาท่าทางของผเู้ ล่า ซึ่งอาจใช้อุปกรณอ์ ืน่ ๆ ประกอบเพื่อเพิ่มความสนกุ สนานและ ส่งเสริมจินตนาการแก่ผู้ฟงั การเล่านทิ านพ้นื บ้านเปน็ การสืบสานภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นอีกวิธีหน่ึง 7. สือ่ การเรียนรู้ อุปกรณ์ประกอบการเล่านิทาน 8. การวัดผลประเมินผล เปา้ หมาย หลักฐาน เครอื่ งมอื วัด เกณฑก์ าร ประเมนิ สาระสาคัญ แบบฝกึ หดั แบบประเมนิ แบบฝึกหัด การเลา่ นทิ านเปน็ การถ่ายทอด “ยอ่ จากเรอื่ ง นามาเลา่ ” “ยอ่ จากเร่อื ง นามาเลา่ ” ร้อยละ ๖๐ ผ่านเกณฑ์ ความสนุกสนานเพลิดเพลนิ จากนิทาน แบบฝึกหัด แบบประเมินแบบฝึกหัด ผา่ นน้าเสยี งและลลี า ทา่ ทางของผู้เล่า “ย่อจากเรอื่ ง นามาเลา่ ” “ย่อจากเรื่อง นามาเล่า” ร้อยละ ๖๐ ซ่ึงอาจใช้อุปกรณ์อื่น ๆ ประกอบเพื่อ ผ่านเกณฑ์ เพิม่ ความสนกุ สนานและสง่ เสรมิ แบบฝึกหดั แบบประเมนิ แบบฝึกหัด จินตนาการ แก่ผู้ฟัง การเล่านิทาน “ยอ่ จากเร่ือง นามาเลา่ ” “ยอ่ จากเรือ่ ง นามาเลา่ ” ร้อยละ ๖๐ พนื้ บ้านเปน็ การสบื สานภมู ปิ ัญญา ผ่านเกณฑ์ ทอ้ งถ่ินอีกวธิ ีหนึง่ ตัวชี้วัด - ท ๓.๑ ม. ๑/๒ เลา่ เรอ่ื งย่อจากเรื่อง ที่ฟงั และดู - ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพดู คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เห็นความสาคญั ของการเลา่ นิทานพน้ื บ้านทีช่ ว่ ยสืบสานภมู ิปัญญา ไทย

เกณฑ์การประเมนิ ผล (รูบริกส)์ ประเด็นการประเมนิ (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรียนบอก นักเรียนอธบิ าย นกั เรยี นอธบิ าย นกั เรยี นอธิบาย นกั เรียนอธบิ ายวิธกี าร วธิ ีการเล่านิทาน (K) วธิ กี ารเลา่ นทิ านได้ วธิ กี ารเล่านทิ านได้ วิธกี ารเลา่ นทิ านได้ เล่านิทานได้ถกู ต้อง ถูกต้อง ชัดเจน หลาย ถูกต้อง ชัดเจน หลาย ถกู ต้อง แต่สรุปเพยี ง แตส่ รปุ เพยี ง ๑ ประเด็น แงม่ ุม และสามารถ แงม่ ุม และสามารถ ๑ ประเด็น และเสนอ ไม่สามารถเช่อื มโยงกบั เสนอแนวทางการ เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใช้ใน ชีวติ จริงได้ ตอ้ งมีผู้ นาไปใชใ้ นชวี ิตจริงได้ นาไปใชใ้ นชีวติ จรงิ ได้ ชีวติ จรงิ ไดส้ มั พันธ์กนั แนะนาจึงจะเขา้ ใจ ดีและสร้างสรรค์ 2. นักเรียนเลา่ นทิ าน นกั เรียนเลา่ นทิ านได้ นักเรยี นเล่านิทานได้ นกั เรยี นเล่านทิ านได้ นกั เรยี นเลา่ นิทานได้ นิทานพื้นบ้าน (P) ถกู ต้องตามเน้ือหา มี ถูกต้องตามเน้ือหา มี ค่อนข้างตรงตาม แบบติดๆขดั ๆ ลาดับ การลาดับเรอ่ื งราวได้ดี การลาดบั เรอ่ื งราวไดด้ ี เน้อื หา ลาดับเรอื่ งราว เร่ืองราวได้ไมด่ ี เนื้อหา มาก ออกเสยี งตาม ออกเสียงตามหลัก ได้ มีการใช้ทา่ ทาง วกไปวนมา เล่านทิ าน หลักภาษา มีการใช้ ภาษา มีการใช้ทา่ ทาง ประกอบการเลา่ ดว้ ยนา้ เสยี งระดบั เดยี ว ท่าทางประกอบการ ประกอบการเลา่ บ้าง เล็กน้อย และสรปุ และสรุปขอ้ คดิ จาก เล่า และสรปุ ข้อคิด และสรุปขอ้ คิดที่ได้ ข้อคิดทไ่ี ดจ้ ากเรื่องได้ เรื่องได้ไมต่ รงตาม ท่ีได้เป็นอย่างดี เพือ่ จากเรือ่ งได้ดี เพ่อื ประเดน็ นาไปใช้ใน นาไปใช้ใน ชีวติ ประจาวัน ชวี ติ ประจาวนั ๓. นกั เรียนเห็น นักเรียนลาดบั คาพูด นกั เรียนลาดบั คาพดู นักเรียนลาดับคาพดู นักเรยี นลาดับคาพูด ความสาคัญในการนา ได้ถูกตอ้ ง ไดถ้ ูกตอ้ ง ใชถ้ อ้ ยคา ไดถ้ ูกตอ้ ง การใช้ วกวน ใชถ้ ้อยคาสะดุด ประสบการณ์จาก ใชถ้ อ้ ยคาสละสลวย สละสลวย มีมารยาท ถ้อยคาสะดดุ ตดิ ขัด ตดิ ขัด ไม่สละสลวย การฟงั และดูมาเขียน มมี ารยาทในการพูดที่ ในการพูดทีเ่ หมาะสม ไมส่ ละสลวย มมี ารยาทในการพูดท่ี ถา่ ยทอดเพ่ือพฒั นา เหมาะสม บ้างเล็กน้อย มีมารยาทในการพูดท่ี เหมาะสม การเรียนรขู้ องตนเอง เหมาะสม ในชีวิตประจาวัน (A) เกณฑก์ ารประเมนิ การผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรุง คะแนนร้อยละ ๖๐ ถือว่าผ่านเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรยี นรู้ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง หน่วยที่ ๓ นิทานพ้นื บา้ น เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรยี นท่ี ๒ แผนการเรยี นรูท้ ่ี ๕๓ ข้อคดิ จากนิทานพน้ื บ้าน ครูผสู้ อน นางสาวจิราพร กุลให้ วนั ทส่ี อน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ นิทานพื้นบ้านแต่ละเร่ืองให้ข้อคิดท่ีเป็นประโยชน์ ซึ่งสามารถนามาสอนใจและประยุกต์ใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั ได้ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ ความรู้สึกในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี จิ ารณญาณและสรา้ งสรรค์ 3. ตัวชี้วดั ท ๓.๑ ม. ๑/๒ เลา่ เร่ืองย่อจากเร่ืองที่ฟงั และดู ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มีมารยาทในการฟัง การดู และการพูด 4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายขอ้ คดิ ที่ได้จากการฟังนิทานพน้ื บ้าน 2. ทักษะกระบวนการ (P) อภิปรายแนวทางการนาข้อคิดจากนทิ านพนื้ บา้ นไปใชใ้ นชวี ิตจริง 3. คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) เหน็ ความสาคญั การนาข้อคิดท่ไี ดจ้ ากการฟังนทิ านพนื้ บา้ นมาประยุกต์ใช้ 5. สาระการเรียนรู้ ขอ้ คิดจากนทิ านพ้นื บา้ น 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้นั นาเข้าส่บู ทเรียน ครทู บทวนนิทานจากทเี่ รยี นเม่อื ชว่ั โมงเรียนทผ่ี า่ น โดยการถามตอบนกั เรียน ข้ันพัฒนาผูเ้ รยี น ๑. นักเรียนอ่านแถบขอ้ ความบนกระดาน แล้วร่วมกันสนทนาเกีย่ วกบั แนวคดิ หลักของนิทาน พ้นื บา้ นซ่ึงสัมพนั ธ์กับสานวน ดงั กลา่ ว ทำดไี ดด้ ี ทำชว่ั ได้ช่ัว คนดีตกนำไม่ไหล ตกไฟไมไ่ หม้

๒. นักเรยี นแบ่งกล่มุ กล่มุ ละ ๕-๖ คน จดั อภิปรายกลมุ่ ยอ่ ย โดยรว่ มกนั พิจารณาและแสดงความ คิดเหน็ ในประเด็นต่อไปนี้ - ข้อคิดท่ีได้จากนิทานพื้นบา้ น (นาข้อคดิ ทแ่ี ตล่ ะคนบันทึกไว้ในชวั่ โมงทีผ่ า่ นมา มารว่ มกันอภิปรายสรุป และบนั ทกึ เป็นแผนภาพความคิดสาหรับนาเสนอหน้าช้นั เรยี น) - การนาขอ้ คิดท่ีได้ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวติ จริงตามสถานการณท์ เ่ี หมาะสม - เปรยี บเทียบความเหมือนและความแตกตา่ งของนทิ านพื้นบา้ นหรือข้อน่าสงั เกตอ่ืน ๆ ที่ นกั เรียนสนใจ ๓. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ สง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลการอภิปรายหน้าชั้นเรียน แลว้ ร่วมกันแสดง ความคิดเหน็ เพ่ิมเติม ข้ันสรปุ นกั เรียนและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดงั น้ี นทิ านพื้นบา้ นแต่ละเรอ่ื งให้ขอ้ คิดที่เปน็ ประโยชน์ ซึง่ สามารถ นามาสอนใจและประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้ 7. ส่อื การเรียนรู้ แถบข้อความ 8. การวัดผลประเมนิ ผล หลกั ฐาน เครอื่ งมอื วดั เกณฑก์ าร ประเมนิ เป้าหมาย แบบฝึกหดั “ภาพความคิดจาก แบบประเมินแบบฝกึ หดั ร้อยละ ๖๐ สาระสาคัญ นทิ านพนื้ บา้ น” “ภาพความคิดจากนิทาน ผา่ นเกณฑ์ นิทานพื้นบ้านแต่ละเรื่องให้ขอ้ คิด แบบฝกึ หัด พืน้ บา้ น” ทเี่ ปน็ ประโยชน์ ซง่ึ สามารถนามา “ภาพความคดิ จาก สอนใจและประยกุ ตใ์ ชใ้ น นทิ านพ้นื บ้าน” แบบประเมนิ แบบฝึกหดั ร้อยละ ๖๐ ชีวติ ประจาวนั ได้ “ภาพความคดิ จากนิทาน ผ่านเกณฑ์ ตัวช้วี ดั แบบฝกึ หดั - ท ๓.๑ ม. ๑/๒ เลา่ เรอ่ื งย่อจากเรื่อง “ภาพความคดิ จาก พน้ื บา้ น” ทีฟ่ งั และดู นิทานพนื้ บ้าน” - ท ๓.๑ ม. ๑/๖ มีมารยาทในการฟัง แบบประเมินแบบฝกึ หดั ร้อยละ ๖๐ การดู และการพดู “ภาพความคดิ จากนิทาน ผ่านเกณฑ์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ พืน้ บ้าน” เหน็ ความสาคัญการนาข้อคดิ ทไี่ ด้ จากการฟงั นิทานพ้ืนบ้านมา ประยกุ ต์ใช้

เกณฑ์การประเมินผล (รบู ริกส)์ ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นักเรียนอธิบาย นักเรียนอธิบายข้อคิด นักเรยี นอธบิ ายข้อคิด นกั เรยี นอธิบายข้อคิด นักเรยี นอธบิ ายข้อคิด ขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากการฟงั ทไี่ ดจ้ ากการฟงั นทิ าน ท่ีไดจ้ ากการฟงั นทิ าน ทีไ่ ดจ้ ากการฟงั นิทาน ทไ่ี ดจ้ ากการฟงั นทิ าน นิทานพ้นื บา้ น (K) พืน้ บ้าน ได้ถกู ต้อง พ้ืนบา้ น ได้ถกู ต้อง พื้นบ้าน ได้ถูกต้อง พน้ื บา้ น ได้เล็กนอ้ ยแต่ ทงั้ หมด ชัดเจนและ แต่ไมห่ ลากหลาย บ้าง แต่อธิบายเพียง ๑ สรุปเพียง ๑ ประเด็น ไม่ หลากหลายแงม่ ุม แง่มุม ประเดน็ สามารถเชอื่ มโยงกบั เรอ่ื งท่ีฟัง 2. นกั เรียนอภปิ ราย นกั เรียนสรุปความรู้ นักเรียนสรุปความรู้ นกั เรยี นสรุปความรู้ นักเรยี นสรปุ ความรู้ แนวทางการนาข้อคดิ และข้อคดิ จากเรอ่ื งได้ และข้อคดิ จากเรือ่ งได้ และข้อคดิ จากเรื่องได้ และข้อคิดจากเร่อื งได้ จากนทิ านพื้นบ้านไป ถกู ต้อง ชดั เจน หลาย ถูกต้อง ชดั เจน หลาย ถูกต้อง แตส่ รปุ เพยี ง ๑ ถูกต้อง แต่สรปุ เพียง ๑ ใชใ้ นชีวิตจริง (P) แง่มมุ และสามารถ แง่มุม และสามารถ ประเด็น และเสนอแนว ประเด็น ไมส่ ามารถ เสนอแนวทางการ เสนอแนวทางการ ทางการนาไปใชใ้ นชีวติ เช่ือมโยงกบั ชีวติ จริงได้ นาไปใชใ้ นชีวติ จริงได้ดี นาไปใช้ในชวี ติ จรงิ ได้ จรงิ ไดส้ ัมพนั ธก์ ัน ต้องมผี แู้ นะนาจงึ จะ และสร้างสรรค์ เขา้ ใจ ๓. นักเรยี นเห็น นกั เรียนลาดบั คาพูด นกั เรียนลาดบั คาพดู นกั เรยี นลาดบั คาพูด นกั เรยี นลาดับคาพดู ความสาคัญการนา ได้ถูกตอ้ ง ได้ถูกตอ้ ง ใชถ้ ้อยคา ไดถ้ ูกต้อง การใช้ วกวน ใช้ถอ้ ยคาสะดดุ ขอ้ คิดท่ีได้จากการฟัง ใชถ้ ้อยคาสละสลวย สละสลวย มมี ารยาท ถอ้ ยคาสะดดุ ติดขัด ตดิ ขัด ไม่สละสลวย นทิ านพื้นบา้ นมา มมี ารยาทในการพดู ที่ ในการพูดทเ่ี หมาะสม ไมส่ ละสลวย มีมารยาทในการพูดที่ ประยกุ ตใ์ ช้ เหมาะสม บ้างเล็กน้อย มีมารยาทในการพูดท่ี เหมาะสม (A) เหมาะสม เกณฑก์ ารประเมินการผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรงุ คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถือว่าผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นันท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐ ชวั่ โมง หนว่ ยท่ี ๓ นิทานพืน้ บา้ น เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรียนที่ ๒ แผนการเรยี นรทู้ ่ี ๕๔ คาและการใช้คา ครูผู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ วันท่ีสอน.................................................................................. 1. สาระสาคญั ภาษาไทยมีคาให้ใชส้ ื่อสารอย่างหลากหลาย ท้งั ท่ีมีความหมายเหมอื นกัน ความหมายใกล้เคียงกนั และความหมายกวา้ งที่มคี วามหมายครอบคลุมสง่ิ ใดสิง่ หน่ึงกับความหมายแคบที่มีความหมายเฉพาะ การ สังเกตและศึกษาความหมายของคาให้เข้าใจ สามารถนามาใช้ในการสอื่ สารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลง ของภาษาและ พลงั ของภาษา ภูมปิ ัญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ 3. ตวั ช้วี ดั ท ๔.๑ ม. ๔/๑ วเิ คราะหค์ วามแตกต่างของภาษาพดู และภาษาเขยี น และใชค้ าและกลุ่มคาสรา้ ง ประโยคตรงตามวัตถปุ ระสงค์ 4. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธิบายความหมายของคา 2. ทักษะกระบวนการ (P) ใชค้ าสรา้ งประโยคตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ 3. คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) เห็นความสาคัญของการใชค้ าในการส่ือสารไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ 5. สาระการเรียนรู้ คาและการสร้างคา 6. กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน ครูสนทนากับนักเรยี นเก่ยี วกับการใช้ภาษาในปจั จุบัน ท้ังภาษาพดู และภาษาเขียนท่ีใชใ้ นการ ติดตอ่ สื่อสารในปัจจุบัน

ขัน้ พัฒนาผ้เู รยี น ๑. นักเรียนรว่ มกนั เขียนคาท่ีมคี วามหมายเหมือนกันจากคาท่ีกาหนดให้บนกระดาน แลว้ รว่ มกันตรวจสอบความถูกต้อง อนงค์ กญุ ชร ผู้หญงิ ช้าง ๒. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง คาและการใช้คา แล้วรว่ มกันสรุปความเข้าใจ ครูอธบิ ายเพ่ิมเติม ๓. นักเรียนแบง่ กลุม่ ๓ กลมุ่ รวบรวมคาท่ีมคี วามหมายเหมือนกนั คาที่มคี วามหมายใกลเ้ คียงกัน และ คาท่ีมีความหมายกว้างและความหมายแคบ ออกมานาเสนอผลงาน ครูและนักเรยี นรว่ มกันตรวจสอบความ ถกู ต้อง ๔. นักเรียนอา่ นแถบข้อความ แลว้ ร่วมกันบอกว่าข้อความใดใช้คาผิดความหมายจากนั้นแก้ไขให้ ถกู ต้อง - เขาตบแตง่ บา้ นเรือนใหส้ วยงาม เพ่ือจัดงานวนั ขึน้ ปีใหม่ ( ตอ้ งใชค้ าว่า ตกแต่ง) - นวลอนงคม์ ีกริยามารยาทท่ีดีจึงได้รับรางวัล ( ต้องใช้คาวา่ กิริยา) - น้องใส่หมวกที่พ่อซอื้ ให้ ( ควรใชค้ าวา่ สวม) ๕. นกั เรยี นแต่งประโยคโดยใช้คาท่มี ีความหมายใกล้เคยี งกัน ดงั ตัวอย่าง จากนน้ั ตวั แทนนักเรยี นออกมา นาเสนอหนา้ ช้ันเรยี น ครูและนกั เรยี นร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง ๑) แนน่ หนา - เขาใสก่ ญุ แจบา้ นอย่างแน่นหนา เพื่อไม่ให้ขโมยมาลกั ทรพั ย์ หนาแนน่ - การจราจรในกรุงเทพฯ หนาแน่นมาก ๒) คร่าครึ - คณุ ยายเปน็ คนครา่ ครึ ไม่คอ่ ยทันสมัย ครา่ ครา่ - เก้าอต้ี ัวนเ้ี ก่าครา่ ครา่ ๓) เข้มงวด - ตารวจตอ้ งเขม้ งวดกบั บุคคลท่เี มาแล้วขบั รถในชว่ งเทศกาลสงกรานต์ เข้มแข็ง - คุณป้าเป็นคนเขม้ แข็ง แม้จะเจออปุ สรรค ทา่ นกไ็ มท่ ้อ ๖. นกั เรยี นทาแบบฝกึ หัด เร่อื ง คาและการใช้คา แลว้ รว่ มกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง

ขน้ั สรปุ นักเรยี นและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้ ดังน้ี ภาษาไทยมคี าใช้ส่ือสารอย่างหลากหลาย ท้ังที่มีความหมาย เหมอื นกนั ความหมายใกล้เคียงกัน และความหมายกวา้ งท่ีมีความหมายครอบคลมุ ส่งิ ใดสิ่งหนง่ึ กับความหมาย แคบที่มีความหมายเฉพาะ การสงั เกตและศกึ ษาความหมายของคาให้เข้าใจ สามารถนามาใชใ้ นการส่อื สารได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสม 7. สอ่ื การเรยี นรู้ ๑. บัตรคา ๒. แถบข้อความ 8. การวดั ผลประเมินผล เปา้ หมาย หลักฐาน เครอ่ื งมอื วดั เกณฑก์ าร ประเมิน สาระสาคัญ แบบฝึกหดั ภาษาไทยมีคาใหใ้ ช้สือ่ สาร “คาและการใชค้ า” แบบประเมนิ แบบฝกึ หดั ร้อยละ ๖๐ “คาและการใช้คา” ผ่านเกณฑ์ อย่างหลากหลาย ท้ังท่ีมีความหมาย แบบฝึกหัด เหมือนกัน ความหมายใกล้เคียงกัน “คาและการใช้คา” แบบประเมินแบบฝึกหดั ร้อยละ ๖๐ และความหมายกวา้ งที่มคี วามหมาย “คาและการใช้คา” ผ่านเกณฑ์ ครอบคลุมส่งิ ใดสิง่ หนึ่งกับความหมาย แบบฝกึ หัด แคบที่มีความหมายเฉพาะ การสงั เกต “คาและการใชค้ า” แบบประเมนิ แบบฝึกหัด รอ้ ยละ ๖๐ และศึกษาความหมายของคาให้เข้าใจ “คาและการใชค้ า” ผา่ นเกณฑ์ สามารถนามาใช้ในการส่ือสารได้อย่าง ถกู ต้องและเหมาะสม ตัวชีว้ ัด - ท ๔.๑ ม. ๔/๑ วิเคราะห์ความ แตกต่างของภาษาพูดและภาษาเขยี น และใช้คาและกล่มุ คาสรา้ งประโยคตรง ตามวตั ถปุ ระสงค์ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ เห็นความสาคญั ของการใชค้ าใน การสอ่ื สารได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์

เกณฑ์การประเมนิ ผล (รูบริกส์) ประเดน็ การประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นักเรียนอธิบาย สรุปความรูแ้ ละ สรุปความรู้และข้อคิด สรปุ ความรแู้ ละ สรุปความรแู้ ละข้อคิด ความหมายของคา ข้อคิดจากเร่ืองได้ จากเร่ืองไดถ้ ูกต้อง ขอ้ คิดจากเร่ืองได้ จากเรอ่ื งได้ถูกต้อง แต่ (K) ถกู ต้อง ชัดเจน หลาย ชดั เจน หลายแงม่ ุม ถูกต้อง แตส่ รปุ เพยี ง สรปุ เพยี ง ๑ ประเดน็ ไม่ แง่มุม และสามารถ และสามารถเสนอ ๑ ประเดน็ และเสนอ สามารถเชอื่ มโยงกับ เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใชใ้ น ชีวิตจริงได้ ต้องมีผู้ นาไปใชใ้ นชีวิตจรงิ ได้ ในชวี ติ จรงิ ได้ ชีวิตจริงได้สัมพนั ธ์กัน แนะนาจึงจะเขา้ ใจ ดแี ละสรา้ งสรรค์ 2. นักเรียนใช้คา นักเรยี นใชค้ าสรา้ ง นกั เรยี นใชค้ าสรา้ ง นักเรยี นใช้คาสรา้ ง นักเรียนใช้คาสรา้ ง สร้างประโยคตรง ประโยคตรงตาม ประโยคตรงตาม ประโยคตรงตามบรบิ ท ประโยคตรงตามบริบท ตามวตั ถุประสงค์ (P) บริบทของคาได้ บริบทของคาได้ ของคาได้บ้าง ของคาได้ ถกู ต้องทั้งหมด ถูกต้อง ๓. นกั เรียนเหน็ นักเรียนใชค้ าใน นกั เรียนใชค้ าใน นักเรยี นใชค้ าใน นักเรียนใชค้ าใน ความสาคญั ของการ ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ใชค้ าในการส่ือสารได้ ตามอักขรวิธี ใชค้ าได้ ตามอักขรวธิ ี ใช้คาได้ เขียนยังไมถ่ กู ต้อง เขยี นคาพื้นฐาน ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ ถกู บริบทและ ถูกบริบทและ ตาม อักขรวธิ ี เขียน ภาษาไทยไม่ถูกต้อง (A) เหมาะสม เขียนคา เหมาะสม เขยี นคา คาพน้ื ฐานได้ถูกต้อง พ้ืนฐานได้ถกู ต้อง พนื้ ฐานมีข้อผดิ พลาด บ้าง ทงั้ หมด เล็กนอ้ ย เกณฑ์การประเมินการผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรุง คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นันท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐ ช่ัวโมง หนว่ ยที่ ๓ นทิ านพน้ื บา้ น เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรยี นที่ ๒ แผนการเรียนรทู้ ่ี ๕๕ การใชส้ านวน ครผู ูส้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ วนั ที่สอน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ สานวนเปน็ ถ้อยคาสนั้ ๆ ท่ีมีความหมายลกึ ซ้ึง ใช้ในการเปรียบเทยี บ ทาใหเ้ ข้าใจความหมายชดั เจน ตรงกัน ชว่ ยประหยัดการใชถ้ ้อยคา หากเขา้ ใจความหมายของสานวน สามารถนามาใชส้ ่อื สารได้ถูกต้องตรง ตามวัตถุประสงค์ 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลยี่ นแปลง ของภาษาและ พลงั ของภาษา ภูมิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ิของชาติ 3. ตัวชว้ี ดั ท ๔.๑ ม. ๑/๖ จาแนกและการใช้สานวนท่เี ปน็ คาพังเพยและสุภาษติ 4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธิบายความหมายของสานวน 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) ใชส้ านวนสรา้ งประโยคตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ 3. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) เห็นความสาคัญของการใชส้ านวนในการสือ่ สารได้ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ 5. สาระการเรียนรู้ การใช้สานวน 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน ครูยกตวั อย่างสานวนให้นักเรียนอธบิ ายความหมาย ดังนี้ - ไกแ่ ก่แม่ปลาช่อน - ดนิ พอกหางหมู - ตปี ลาหน้าไซ - ไก่งามเพราะขน คนงามเพราะแตง่

ขน้ั พฒั นาผ้เู รยี น ๑. นกั เรยี นยกตวั อย่างสานวนทรี่ ู้จักคนละ ๑ สานวน พร้อมกบั อธิบายความหมาย นักเรยี นศึกษา ความรเู้ รื่อง สานวน ครูอธบิ ายเพ่มิ เติม ๒. นักเรียนแบ่งกลุม่ เลอื กสานวนกลุ่มละ ๑ สานวน บอกความหมาย แล้วแสดงทา่ ทางประกอบ สานวน จากนั้นใหเ้ พื่อนทายสานวน ครูและนักเรยี นรว่ มกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง ตวั อยา่ งสานวนและความหมาย ๑) แกใ่ กลจ้ ะตาย (ไม้ใกล้ฝั่ง) ๒) ซ่อื หรือตรงจนเกินไป ไม่มีไหวพริบ (เถรตรง) ๓) ชายสูงอายทุ ช่ี อบผหู้ ญิงรุน่ สาว (โคแก่ชอบกนิ หญ้าอ่อน) ๔) เม่อื หมดอานาจ ความชวั่ ทท่ี าไวก้ ็ปรากฏ (น้าลดตอผุด) ๕) อารมณ์ทร่ี อ้ นรุ่มอยู่ในใจ (ไฟสมุ ขอน) ๖) เด๋ียวดีเด๋ยี วร้าย ไมค่ งที่ (ผเี ข้าผอี อก) ๗) ใชจ้ า่ ยทรพั ยใ์ นทางท่ีไมเ่ กิดประโยชน์ (ตาน้าพรกิ ละลายแมน่ ้า) ๓. นกั เรียนแบง่ กลุม่ เลือกสานวนกลมุ่ ละ ๑ สานวน แลว้ แต่งประโยคจากสานวนนน้ั ให้มีเหตุการณ์ อย่างน้อย ๓ เหตุการณ์ ออกมานาเสนอหนา้ ชั้นเรียน ครแู ละนกั เรียนร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ๕. นักเรยี นทาแบบฝกึ หดั เร่ือง สานวนและการใชส้ านวน แล้วรว่ มกันตรวจสอบความถกู ตอ้ ง ขน้ั สรุป นักเรยี นและครรู ว่ มกันสรุปความรู้ ดังน้ี สานวนเป็นถอ้ ยคาสั้น ๆ ทม่ี คี วามหมายลึกซง้ึ ใช้ในการ เปรยี บเทยี บ ทาใหเ้ ขา้ ใจความหมายชดั เจนตรงกัน ช่วยประหยดั การใช้ถอ้ ยคา หากเขา้ ใจความหมายของ สานวน สามารถนามาใช้สอ่ื สารได้ถูกต้องตรงตามวตั ถุประสงค์ 7. ส่ือการเรียนรู้ ตวั อย่างสานวน

8. การวัดผลประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลักฐาน เครื่องมือวดั เกณฑก์ าร ประเมิน สาระสาคญั แบบฝกึ หดั สานวนเปน็ ถอ้ ยคาสน้ั ๆ ท่ีมี “สานวนชวนคดิ ” แบบประเมนิ แบบฝึกหัด ร้อยละ ๖๐ “สานวนชวนคิด” ผา่ นเกณฑ์ ความหมายลกึ ซ้ึง ใชใ้ นการปรยี บเทยี บ แบบฝึกหดั ทาให้เข้าใจความหมายชดั เจนตรงกัน “สานวนชวนคิด” แบบประเมินแบบฝึกหัด รอ้ ยละ ๖๐ ช่วยประหยดั การใช้ถ้อยคา หากเขา้ ใจ “สานวนชวนคดิ ” ผา่ นเกณฑ์ ความหมายของสานวน สามารถ แบบฝึกหัด นามาใชส้ ือ่ สารไดถ้ กู ตอ้ งตรงตาม “สานวนชวนคิด” แบบประเมินแบบฝกึ หัด รอ้ ยละ ๖๐ วัตถปุ ระสงค์ “สานวนชวนคดิ ” ผ่านเกณฑ์ ตัวชีว้ ดั - ท ๔.๑ ม. ๑/๖ จาแนกและการใช้ สานวนที่เปน็ คาพงั เพยและสุภาษิต คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ เห็นความสาคัญของการใช้ สานวนในการสอ่ื สารได้ตรงตาม วัตถปุ ระสงค์

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รูบรกิ ส์) ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรยี นอธบิ าย สรุปความรแู้ ละ สรุปความร้แู ละข้อคิด สรปุ ความรูแ้ ละ สรุปความรแู้ ละข้อคิด ความหมายของ ข้อคิดจากเรื่องได้ จากเรื่องไดถ้ ูกต้อง ขอ้ คิดจากเรื่องได้ จากเรอื่ งได้ถูกต้อง แต่ สานวน (K) ถูกต้อง ชัดเจน หลาย ชัดเจน หลายแงม่ มุ ถกู ต้อง แต่สรปุ เพียง สรปุ เพียง ๑ ประเดน็ ไม่ แงม่ มุ และสามารถ และสามารถเสนอ ๑ ประเดน็ และเสนอ สามารถเชอ่ื มโยงกบั เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใชใ้ น ชวี ติ จริงได้ ต้องมีผู้ นาไปใช้ในชวี ิตจริงได้ ในชีวิตจรงิ ได้ ชวี ติ จรงิ ได้สัมพนั ธ์กัน แนะนาจงึ จะเข้าใจ ดีและสรา้ งสรรค์ 2. นักเรียนใช้สานวน ใชส้ านวนสร้างประโยค ใชส้ านวนสร้างประโยค ใชส้ านวนสรา้ งประโยค ใช้สานวนสรา้ งประโยค สรา้ งประโยคตรง ได้อยา่ งรวดเร็วและส่อื ไดต้ รงตามวัตถปุ ระสงค์ ไดต้ รงตาม ไดต้ รงตามวตั ถุประสงค์ ตามวตั ถปุ ระสงค์ (P) ความหมายได้ตรงตาม ทุกสานวน บางสานวน วัตถุประสงค์ บางสานวนและใช้เวลา วตั ถปุ ระสงค์ทุกสานวน ตอ้ งใช้เวลาในการ เกอื บทุกสานวน ในการสร้างประโยค สร้างประโยคเลก็ น้อย และใช้เวลาในการ พอสมควร สรา้ งประโยค เลก็ น้อย ๓. นักเรียนเห็น นักเรียนใช้คาใน นักเรยี นใช้คาใน นักเรียนใชค้ าใน นักเรยี นใชค้ าใน ความสาคัญของการ ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยได้ถูกต้อง ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ใช้สานวนในการ ตามอักขรวิธี ใช้คาได้ ตามอักขรวิธี ใชค้ าได้ เขียนยงั ไม่ถกู ต้อง เขียนคาพนื้ ฐาน สื่อสารได้ตรงตาม ถูกบริบทและ ถกู บรบิ ทและ ตาม อักขรวิธี เขยี น ภาษาไทยไม่ถูกต้อง วัตถุประสงค์ เหมาะสม เขียนคา เหมาะสม เขียนคา คาพนื้ ฐานไดถ้ ูกตอ้ ง (A) พ้นื ฐานได้ถกู ต้อง พื้นฐานมขี ้อผิดพลาด บ้าง ทั้งหมด เล็กน้อย เกณฑ์การประเมินการผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรุง คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

ใบความรู้ สาเหตทุ เ่ี กดิ สานวน ๑. ตอ้ งการคาเพ่ือส่ือสารความรู้สกึ ใหเ้ ข้าใจ เมื่อเกดิ ความต้องการคาใหเ้ พียงพอกับความรสู้ กึ จงึ ตอ้ ง คดิ คาใหม่อ้างอิงคาเดมิ แต่เปลยี่ นความหมายไปบ้าง หรอื คล้ายความหมายเดมิ ๒. หลีกเลยี่ งการใช้คาบางคา ซงึ่ ถา้ ใช้แลว้ อาจหยาบคาย หรือก่อใหเ้ กิดความไม่สบายใจ ตวั อยา่ ง คา วา่ ตาย อาจมหี ลายสานวน เช่น ซี้ มอ่ งเทง่ เสรจ็ เสยี ชีวิต ถงึ แก่กรรม ไปค้าถ่าน ไปนรก หรอื ถา่ ยปสั สาวะ อาจใช้ เบา ไปยงิ กระต่าย ไปเก็บดอกไม้ ๓. เพ่ือใหส้ ภุ าพ หรือเหมาะสมกับฐานะของบุคคล เช่น ตัดผม ทรงเครื่อง หรือทรงเครื่องใหญ่ ๔. ต้องการให้คาพดู มีรสชาตหิ รือเกดิ ภาพ ตัวอย่างเชน่ ก้งุ แห้งเดินมาแล้ว (อาจหมายถึง คนผอมแห้ง) ความสาคญั ของการใช้สานวน ปจั จบุ นั สังคมมีการเปลย่ี นแปลงไป การใช้สานวนกล็ ดน้อยลง จึงทาใหส้ านวนบางสานวนสูญหายไป ดงั นนั้ จงึ มคี วามจาเป็นอย่างย่งิ ท่ีเราควรจะช่วยกันอนุรักษ์สานวนไทยใหอ้ ยู่คู่กับสังคมไทยตอ่ ไป ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั จากสานวนไทย สานวนไทยทุกสานวน จะมคี วามหมายอย่ทู ุกสานวน ท้งั ท่ีบอกความหมายโดยตรงและสานวนทีม่ ี ความหมายแอบแฝงอยู่ สานวนมีประโยชน์ ดงั นี้ ๑. นาหลักคาสอนมาประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ๒. ทาให้ทราบความหมายของแตล่ ะสานวน ๓. ทาใหเ้ ยาวชนประพฤติปฏิบตั ิตนดีขึ้น ๔. ช่วยขัดเกลานสิ ัยของเยาวชนให้อยใู่ นกรอบและมรี ะเบียบมากขึน้ ทีม่ า : http://thaiidiom.kapook.com/?cat=70

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง หนว่ ยที่ ๓ นิทานพื้นบา้ น เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี ๒ แผนการเรยี นร้ทู ี่ ๕๖ สานวนสภุ าษิตคาพงั เพย ครผู สู้ อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ วนั ทสี่ อน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ สานวนเปน็ ถอ้ ยคาสน้ั ๆ ท่ีมีความหมายลึกซง้ึ ใชใ้ นการเปรียบเทียบ ทาให้เข้าใจความหมายชัดเจน ตรงกนั ชว่ ยประหยัดการใชถ้ ้อยคา หากเข้าใจความหมายของสานวน สามารถนามาใชส้ ่อื สารได้ถกู ต้องตรง ตามวัตถุประสงค์ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลง ของภาษาและ พลังของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบตั ขิ องชาติ 3. ตัวช้ีวดั ท ๔.๑ ม. ๑/๖ จาแนกและการใช้สานวนทีเ่ ปน็ คาพังเพยและสภุ าษติ 4. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายความหมายของสานวน สภุ าษิต คาพงั เพย 2. ทักษะกระบวนการ (P) ใช้สานวน สภุ าษิต คาพังเพย สร้างประโยคตรงตามวัตถปุ ระสงค์ 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) เห็นความสาคัญของการใชส้ านวนสุภาษติ คาพังเพยในการส่อื สารได้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ 5. สาระการเรียนรู้ การใช้สานวนสภุ าษติ คาพังเพย 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขัน้ นาเขา้ ส่บู ทเรียน ครูทบทวนความแตกตา่ งของสุภาษติ และคาพังเพย โดยการถามตอบ และใหน้ ักเรียนยกตัวอยา่ ง สานวนสุภาษติ คาพังเพย ท่เี คยไดย้ ินมา ขนั้ พัฒนาผู้เรียน ๑. นกั เรียนเลอื กสุภาษติ คาพงั เพย คนละ ๔ สานวน พรอ้ มหาความหมายจากพจนานุกรม โดยห้าม ซ้ากัน

๒. ครสู มุ่ นกั เรียนออกมาแบง่ ทา่ ทางประกอบสานวน จากนั้นให้เพอ่ื นทายสานวน ครแู ละนักเรยี น รว่ มกนั ตรวจสอบความถูกต้อง ๓. นักเรียนนาสานวนท่เี ลอื กไว้ทาชิน้ งาน “ท่ีค่นั หนังสือ ส่อื สานวน” โดยนักเรยี นออกแบบท่คี นั่ รูปแบบตา่ ง ๆ ตามจนิ ตนาการ จากนั้นเขียนสานวนพร้อมความหมาย และตกแตง่ ใหส้ วยงาม เสรจ็ แลว้ ใหค้ รู ตรวจสอบความถูกตอ้ ง ๔. นักเรยี นนาเสนอผลงาน และนาไปจดั บอรด์ หนา้ ช้นั เรยี น ขัน้ สรุป นักเรยี นและครูรว่ มกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี สานวนเปน็ ถอ้ ยคาส้ัน ๆ ท่ีมคี วามหมายลึกซงึ้ ใชใ้ นการ เปรียบเทียบ ทาใหเ้ ข้าใจความหมายชดั เจนตรงกนั ช่วยประหยดั การใช้ถ้อยคา หากเข้าใจความหมายของ สานวน สามารถนามาใช้สอื่ สารไดถ้ ูกต้องตรงตามวัตถปุ ระสงค์ 7. สื่อการเรยี นรู้ ตวั อย่างทค่ี น่ั หนังสอื 8. การวดั ผลประเมินผล หลักฐาน เครื่องมือวดั เกณฑก์ าร ประเมนิ เปา้ หมาย กจิ กรรม “ทค่ี ัน่ หนงั สือ แบบประเมนิ กิจกรรม ร้อยละ ๖๐ สาระสาคัญ สอ่ื สานวน” “ที่คัน่ หนงั สือ ผ่านเกณฑ์ สานวนเปน็ ถ้อยคาส้ัน ๆ ทีม่ ี สือ่ สานวน” กจิ กรรม ความหมายลกึ ซึ้ง ใชใ้ นการเปรียบเทยี บ “ท่คี ั่นหนงั สือ แบบประเมินกิจกรรม รอ้ ยละ ๖๐ ทาใหเ้ ขา้ ใจความหมายชดั เจนตรงกัน สอ่ื สานวน” “ท่ีค่ันหนงั สือ ผา่ นเกณฑ์ ช่วยประหยดั การใชถ้ ้อยคา หากเขา้ ใจ ส่อื สานวน” ความหมายของสานวน สามารถนามาใช้ กจิ กรรม รอ้ ยละ ๖๐ สอ่ื สารได้ถูกต้องตรงตามวัตถุประสงค์ “ที่คัน่ หนังสือ แบบประเมินกจิ กรรม ผ่านเกณฑ์ ตัวช้วี ัด ส่อื สานวน” “ทค่ี น่ั หนังสือ - ท ๔.๑ ม. ๑/๖ จาแนกและการใช้ ส่ือสานวน” สานวนทเ่ี ป็นคาพังเพยและสุภาษติ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เหน็ ความสาคัญของการใชส้ านวน สภุ าษติ คาพังเพยในการสื่อสารไดต้ รง ตามวัตถุประสงค์

เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู รกิ ส์) ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรียนอธิบาย อธิบายความหมาย อธบิ ายความหมาย อธิบายความหมาย อธิบายความหมายของ ความหมายของ ของสานวนสุภาษิต ของสานวนสุภาษติ ของสานวนสุภาษิต สานวนสภุ าษติ คา สานวน สุภาษิต คา คาพงั เพยไดถ้ ูกตอ้ ง คาพงั เพยได้ถูกต้อง คาพงั เพยได้ถูกต้อง พงั เพยได้ถกู ต้อง แต่ พังเพย (K) ชัดเจน หลายแงม่ ุม ชดั เจน หลายแง่มุม แต่อธิบายเพียง ๑ อธิบายเพยี ง ๑ ประเดน็ และสามารถเสนอ และสามารถเสนอ ประเดน็ และเสนอ ไมส่ ามารถเช่อื มโยงกับ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใช้ใน ชวี ิตจรงิ ได้ ตอ้ งมผี ู้ ในชวี ติ จริงได้ดแี ละ ในชวี ติ จริงได้ ชีวติ จริงได้สมั พันธ์กนั แนะนาจงึ จะเข้าใจ สร้างสรรค์ 2. นกั เรียนใช้สานวน ใช้สานวนสอ่ื ใช้สานวนส่ือ ใช้สานวนสอื่ ใช้สานวนสอ่ื ความหมาย สภุ าษติ คาพงั เพย ความหมายได้ตรงตาม ความหมายไดต้ รงตาม ความหมายได้ตรงตาม ไดต้ รงตามวัตถุประสงค์ สร้างประโยคตรง วตั ถปุ ระสงค์ทุกสานวน วตั ถปุ ระสงค์ทกุ สานวน วัตถปุ ระสงคบ์ าง บางสานวน ออกแบบ ตามวตั ถปุ ระสงค์ (P) ออกแบบท่ีคน่ั หนังสอื ออกแบบท่ีค่ันหนงั สือ สานวน ออกแบบ ทคี่ นั่ หนงั สือไดบ้ าง ได้สวยงาม สง่ ช้นิ งาน ได้พอใช้ สง่ ชนิ้ งานตาม ทค่ี ่ันหนงั สอื ได้บาง ส่งชิน้ งานไมต่ าม ตามกาหนด กาหนด สง่ ช้ินงานตามกาหนด กาหนด ๓. นกั เรียนเห็น นักเรียนใช้คาใน นักเรียนใช้คาใน นักเรยี นใชค้ าใน นักเรยี นใชค้ าใน ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไม่ถูกต้อง ความสาคัญของการ ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง ภาษาไทยไดถ้ ูกต้อง เขยี นยงั ไมถ่ กู ตอ้ ง เขยี นคาพนื้ ฐาน ตาม อักขรวิธี เขียน ภาษาไทยไมถ่ ูกต้อง ใช้สานวนสุภาษติ คา ตามอักขรวิธี ใชค้ าได้ ตามอักขรวธิ ี ใชค้ าได้ คาพนื้ ฐานได้ถูกต้อง บ้าง พังเพยในการสื่อสาร ถกู บริบทและ ถูกบริบทและ ได้ตรงตาม เหมาะสม เขียนคา เหมาะสม เขยี นคา วัตถปุ ระสงค์ (A) พน้ื ฐานได้ถูกต้อง พน้ื ฐานมีข้อผิดพลาด ทั้งหมด เลก็ นอ้ ย เกณฑก์ ารประเมินการผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรุง คะแนนร้อยละ ๖๐ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นันท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๑ เวลา ๒๐ ชั่วโมง หนว่ ยที่ ๓ นิทานพื้นบา้ น เวลา ๑ ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ ๒ แผนการเรียนรู้ที่ ๕๗ คน้ หาขอ้ มลู ด้วยจดหมาย ครูผู้สอน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ วนั ท่สี อน.................................................................................. 1. สาระสาคัญ จดหมายสอบถามข้อมูล เป็นจดหมายเพ่ือขอความร่วมมือหรือขอความช่วยเหลือ ซ่ึงส่วนแรกของ เน้ือความในจดหมายต้องแนะนาตนเองหรือหน่วยงานก่อน แล้วจึงชี้แจงวัตถุประสงค์และส่วนท้ายของจดหมาย ควรแสดงความขอบคุณผตู้ อบลว่ งหน้า 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราวใน รูปแบบตา่ ง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมี ประสทิ ธิภาพ 3. ตวั ช้วี ัด ท ๒.๑ ม. ๑/๗ เขียนจดหมายสว่ นตวั และจดหมายกิจธรุ ะ ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มมี ารยาทในการเขียน 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ความรู้ อธิบายส่วนประกอบของจดหมายสอบถามข้อมลู 2. ทกั ษะกระบวนการ เขยี นจดหมายสอบถามขอ้ มูล 3. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ เหน็ ความสาคญั ในการเขยี นจดหมายสอบถามข้อมลู ทีส่ ามารถนามาใช้เพม่ิ พูนความรู้ ในชวี ติ ประจาวนั ได้ 5. สาระการเรยี นรู้ การเขยี นจดหมายสอบถามข้อมูล 6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรยี น นกั เรียนร่วมกันแสดงความคิดเหน็ ว่า เขยี นจดหมายอยา่ งไรจงึ จะไดร้ ับการตอบรบั ขนั้ พัฒนาผูเ้ รยี น ๑. นักเรียนศึกษาความรู้เร่อื ง การเขียนจดหมายสอบถามข้อมูล และรว่ มกนั สนทนาในประเด็น ตอ่ ไปนี้ - จดหมายสอบถามข้อมลู เป็นจดหมายประเภทใด

- การเขยี นจดหมายสอบถามข้อมูลใช้ในโอกาสใด - สว่ นประกอบของจดหมายสอบถามข้อมลู มีอะไรบา้ ง ๒. ครูอธิบายสรปุ เพิ่มเตมิ และให้นักเรยี นบันทึกสาระสาคัญ ๓. ครกู าหนดกจิ กรรมให้นักเรยี นแบง่ กลมุ่ เพื่อฝึกปฏิบตั กิ ารเขียนจดหมายสอบถามข้อมลู ๔. นกั เรียนและครรู ว่ มกันตรวจสอบจดหมายสอบถามข้อมลู ของแตล่ ะกลมุ่ และแก้ไขปรบั ปรุง ใหถ้ ูกต้องและเหมาะสม ขน้ั สรุป นักเรียนและครูรว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดังนี้ จดหมายสอบถามข้อมลู เป็นจดหมายเพ่ือขอความรว่ มมอื หรอื ขอความช่วยเหลอื ซ่งึ ส่วนแรกของเน้ือความในจดหมายต้องแนะนาตนเองหรือหนว่ ยงานก่อน แลว้ จึง ช้ีแจงวัตถปุ ระสงค์และสว่ นท้ายของจดหมายควรแสดงความขอบคณุ ผตู้ อบล่วงหน้า 7.ส่ือการเรียนรู้ ตวั อย่างจดหมาย 8. การวัดผลประเมนิ ผล เปา้ หมาย หลักฐาน เครือ่ งมอื วัด เกณฑ์การ ประเมนิ สาระสาคัญ แบบฝกึ หดั จดหมายสอบถามข้อมูล เปน็ “จดหมายถาม แบบประเมนิ แบบฝกึ หัด รอ้ ยละ ๖๐ “จดหมายถามข้อมูล” ผ่านเกณฑ์ จดหมายเพ่ือขอความร่วมมอื หรือขอความ ขอ้ มูล” ช่วยเหลอื ซง่ึ สว่ นแรกของเนื้อความใน แบบประเมนิ แบบฝึกหัด ร้อยละ ๖๐ จดหมายต้องแนะนาตนเองหรอื หนว่ ยงาน แบบฝึกหดั “จดหมายถามข้อมูล” ผ่านเกณฑ์ ก่อน แลว้ จงึ ชแ้ี จงวตั ถปุ ระสงคแ์ ละ “จดหมายถาม ส่วนทา้ ยของจดหมายควรแสดงความ แบบประเมินแบบฝกึ หัด รอ้ ยละ ๖๐ ขอบคุณผู้ตอบลว่ งหนา้ ข้อมลู ” “จดหมายถามข้อมลู ” ผ่านเกณฑ์ ตวั ชวี้ ัด - ท ๒.๑ ม. ๑/๗ เขียนจดหมายสว่ นตวั แบบฝึกหดั และจดหมายกจิ ธรุ ะ “จดหมายถาม - ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการเขยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ขอ้ มูล” เหน็ ความสาคญั ในการเขียนจดหมาย สอบถามขอ้ มลู ทีส่ ามารถนามาใชเ้ พิ่มพนู ความรใู้ นชวี ติ ประจาวนั ได้

เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู ริกส)์ ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรียนอธิบาย อธิบายสว่ นประกอบ อธบิ ายส่วนประกอบ อธิบายสว่ นประกอบ อธิบายส่วนประกอบ ส่วนประกอบของ ของจดหมายได้ ของจดหมายได้ ของจดหมายได้ ของจดหมายได้ถกู ต้อง จดหมายสอบถาม ถกู ต้อง ชัดเจน หลาย ถกู ต้อง ชัดเจน หลาย ถกู ต้อง แต่อธบิ าย แต่อธิบายเพยี ง ๑ ข้อมูล (K) แง่มมุ และสามารถ แงม่ มุ และสามารถ เพียง ๑ ประเด็น และ ประเด็น ไมส่ ามารถ เสนอแนวทางการ เสนอแนวทางการ เสนอแนวทางการ เช่อื มโยงกบั ชวี ิตจรงิ ได้ นาไปใช้ในชีวิตจรงิ ได้ นาไปใช้ในชีวิตจรงิ ได้ นาไปใช้ในชีวติ จรงิ ได้ ต้องมีผแู้ นะนาจึง ดีและสร้างสรรค์ สัมพนั ธ์กนั จะเข้าใจ 2. นกั เรียนเขยี น นักเรยี นเขยี นจดหมาย นกั เรียนเขียนจดหมาย นกั เรียนเขยี นจดหมาย นักเรียนเขียนจดหมาย จดหมายสอบถาม ถูกต้องตามรปู แบบ ถูกต้องตามรปู แบบ ถกู ต้องตามรปู แบบ ถกู ต้องตามรูปแบบ ข้อมูล (P) สะอาดเรียบร้อย สะอาดเรียบร้อย เป็นสว่ นใหญ่ เปน็ ส่วนใหญ่ ใช้ถ้อยคาในการเขียน ใชถ้ ้อยคาในการเขียน ใช้ถ้อยคาในการเขียน ใชถ้ อ้ ยคาในการเขียน ถูกต้องเหมาะสม คอ่ นข้างถูกตอ้ ง ค่อนข้างถูกตอ้ ง ไมค่ ่อยกระชบั และ เนอื้ หากระชบั ชดั เจน เหมาะสม เน้ือหา เหมาะสม เน้ือหา เน้อื หาไมค่ ่อยชัดเจน ตามจดุ ประสงค์ กระชับ ชดั เจนตาม ชดั เจนตามจุดประสงค์ ตามจุดประสงค์ จุดประสงค์ และมกี ารจ่าหนา้ ซอง ถูกต้อง ๓. นกั เรยี นเห็น นักเรยี นเขียนได้ดี มี นักเรียนเขยี นไดด้ ี นกั เรยี นเขียนดว้ ย นักเรียนมี ความสาคญั ในการ ชีวิตชวี า ประโยคมี ชวนตดิ ตาม อ่าน ความตง้ั ใจ ประสบการณ์การ เขียนจดหมาย ความหลาก หลาย ความหลากหลายของ ไมไ่ ดเ้ นน้ จุดสาคญั เขียนน้อย สอบถามขอ้ มูลท่ี ชดั เจน ควบคุมการ ประโยคชัดเจน ใช้ประโยคง่าย ๆ ใชค้ าคลมุ เครือและ สามารถนามาใช้ ใช้ศพั ท์และการวาง เลอื กศัพทเ์ หมาะ สม และซา้ ๆ กนั สับสน ใช้โครงสร้าง เพ่มิ พูนความรู้ ประโยค ไม่มี ชวนใหอ้ ่าน มี มขี ้อ ผดิ พลาดใน ประโยคง่ายใช้ศัพท์ ในชวี ิตประจาวนั ได้ ขอ้ ผิดพลาดในการ ข้อผิดพลาดเล็กน้อย รูปแบบและการ จากดั ขอ้ ผดิ พลาด (A) เขยี นและสะกดคา มี ในการเขยี นและ สะกด แต่ยังดูนา่ อา่ น เกิดขึน้ บ่อยครัง้ ใน คณุ ภาพทแ่ี น่นอนใน สะกดคาแต่ละหนา้ มี ไมม่ เี ทคนิคกระต้นุ รปู แบบและการสะกด การเขียนแตล่ ะหนา้ คณุ ภาพไมแ่ น่นอน ผ้อู ืน่ ทาให้ไม่น่าอ่าน เกณฑ์การประเมินการผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรับปรงุ คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจัดการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๒ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ เวลา ๒๐ ชัว่ โมง หน่วยท่ี ๓ นิทานพืน้ บ้าน เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี ๒ แผนการเรียนร้ทู ่ี ๕๘ การเขยี นรายงานโครงงาน ครผู ู้สอน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ วันท่สี อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั โครงงานเป็นการศึกษาเพ่ือแสวงหาความรู้หรือสร้างสิ่งประดิษฐ์ใหม่โดยใช้กระบวนการทาง วทิ ยาศาสตร์ การเขียนรายงานโครงงานเป็นสว่ นหนึง่ ในการนาเสนอผลของการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งเป็นระบบ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเร่ืองราวใน รูปแบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมี ประสิทธิภาพ 3. ตัวชีว้ ัด ท ๒.๑ ม. ๑/๘ เขยี นรายงานการศึกษาคน้ ควา้ และโครงงาน ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการเขียน 4. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. ความรู้ (K) อธบิ ายประเภทและขน้ั ตอนการเขยี นรายงานโครงงาน 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) วเิ คราะห์ประโยชน์ของโครงงาน 3. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (A) เห็นความสาคญั ของการจัดทาโครงงานเพื่อแสวงหาความรู้โดยการใช้กระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 5. สาระการเรยี นรู้ การเขียนรายงานโครงงาน 6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขัน้ นาเข้าสบู่ ทเรียน นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นวา่ ในชวี ติ ประจาวันของนกั เรียนมกี จิ กรรมใดบ้างท่ีก่อให้เกดิ ความรู้ ขั้นพัฒนาผู้เรียน ๑. นกั เรยี นศึกษาความร้เู ร่ือง การเขียนรายงานโครงงาน แลว้ ร่วมกันสนทนาในประเดน็ ต่อไปนี้ - โครงงานหมายถึงอะไร - โครงงานมีก่ีประเภท แตล่ ะประเภทเปน็ อยา่ งไร - การเขียนรายงานโครงงานมีข้ันตอนอยา่ งไร

- การเขยี นรายงานโครงงานกบั การเขยี นรายงานทวั่ ไปมีความแตกตา่ งกนั อยา่ งไร ๒. นกั เรียนรว่ มกันสรุปขัน้ ตอนการเขียนรายงานโครงงานเป็นแผนภาพความคิด ๓. นกั เรยี นศกึ ษารายงานโครงงานเรอ่ื งต่าง ๆ ท่ีครูจดั เตรยี มมาเพือ่ เปน็ แนวทางในการจดั ทา โครงงานของตนเอง ต้งั ข้อสงั เกตและรว่ มกันสนทนาเกยี่ วกับการจดั ทาโครงงานใหน้ า่ สนใจ ๔. นกั เรียนวิเคราะหป์ ระโยชน์ของการจดั ทาโครงงานทัง้ ต่อตนเองและผูอ้ ืน่ ขนั้ สรุป นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรปุ ความรู้ ดังน้ี โครงงานเปน็ การศกึ ษาเพื่อแสวงหาความรู้หรือสร้าง สิ่งประดิษฐใ์ หมโ่ ดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การเขียนรายงานโครงงานเปน็ ส่วนหนึ่งในการนาเสนอผล ของการศึกษาคน้ คว้าอย่างเป็นระบบ 7. สอ่ื การเรยี นรู้ ตัวอยา่ งรายงานโครงงาน 8. การวัดผลประเมินผล เปา้ หมาย หลกั ฐาน เคร่อื งมอื วัด เกณฑก์ าร ประเมนิ สาระสาคัญ แบบฝึกหัด แบบประเมินแบบฝกึ หัด โครงงานเป็นการศึกษาเพื่อ “การเขียนรายงาน “การเขยี นรายงาน รอ้ ยละ ๖๐ โครงงาน” ผ่านเกณฑ์ แสวงหาความรหู้ รือสรา้ งส่งิ ประดิษฐ์ใหม่ โครงงาน” โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การ แบบประเมินแบบฝึกหดั รอ้ ยละ ๖๐ เขียนรายงานโครงงานเป็นสว่ นหนง่ึ ในการ แบบฝึกหัด “การเขียนรายงาน ผา่ นเกณฑ์ นาเสนอผลของการศึกษาคน้ ควา้ อย่าง “การเขยี นรายงาน โครงงาน” เปน็ ระบบ รอ้ ยละ ๖๐ ตัวชีว้ ัด โครงงาน” แบบประเมินแบบฝึกหัด ผา่ นเกณฑ์ - ท ๒.๑ ม. ๑/๘ เขียนรายงานการศึกษา “การเขยี นรายงาน ค้นควา้ และโครงงาน แบบฝกึ หัด โครงงาน” - ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มมี ารยาทในการเขียน “การเขยี นรายงาน คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ โครงงาน” เหน็ ความสาคัญของการจัดทา โครงงานเพ่ือแสวงหาความรู้โดยการใช้ กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รูบริกส)์ ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคุณภาพ (๑) ปรับปรุง (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรียนอธิบาย อธบิ ายประเภทและ อธบิ ายประเภทและ อธบิ ายประเภทและ อธิบายประเภทและ ประเภทและข้นั ตอน ขนั้ ตอนการเขยี น ขัน้ ตอนการเขยี น ขนั้ ตอนการเขียน ขน้ั ตอนการเขยี น การเขยี นรายงาน รายงานโครงงานได้ รายงานโครงงานได้ รายงานโครงงานได้ รายงานโครงงานได้ โครงงาน (K) ถกู ต้อง ชดั เจน หลาย ถูกต้อง ชัดเจน หลาย ถูกต้อง แต่อธิบาย ถกู ต้อง แต่อธบิ ายเพยี ง แงม่ ุม และสามารถ แงม่ ุม และสามารถ เพียง ๑ ประเดน็ และ ๑ ประเดน็ ไมส่ ามารถ เสนอแนวทางการ เสนอแนวทางการ เสนอแนวทางการ เช่อื มโยงกบั ชีวติ จรงิ ได้ นาไปใชใ้ นชวี ติ จริงได้ นาไปใชใ้ นชวี ติ จริงได้ นาไปใชใ้ นชีวติ จริงได้ ต้องมผี ู้แนะนาจึงจะ ดีและสรา้ งสรรค์ สมั พนั ธ์กนั เขา้ ใจ 2. นกั เรยี นวเิ คราะห์ นักเรยี นวิเคราะห์ นกั เรยี นวิเคราะห์ นักเรียนวเิ คราะห์ ได้ นกั เรยี นวเิ คราะห์อยา่ ง ประโยชนข์ อง ได้ หลายประเดน็ ได้หลายประเด็น หลายประเดน็ ซ่งึ บาง กว้าง ๆ ไม่ระบุประเด็น โครงงาน (P) ทุกประเดน็ ล้วน ทุกประเดน็ ล้วน ประเดน็ น่าสนใจและ ชัดเจน แต่ก็มเี หตผุ ล นา่ สนใจ มีเหตุผล น่าสนใจ มเี หตผุ ล แสดงเหตุผลทด่ี ี สรุป ประกอบทีส่ ัมพนั ธ์กนั ประกอบน่าเชื่อถือ ประกอบทด่ี ี สรปุ ขอ้ คิดและเสนอ สรุปข้อคิดเพยี งสนั้ ๆ สรปุ ขอ้ คิดและเสนอ ขอ้ คิดและเสนอ แนวทางท่ีเปน็ แต่ก็เปน็ ประโยชน์ที่ดี แนวทางท่ีนาไปใช้ใน แนวทางทีน่ าไปใช้ ประโยชน์ ชวี ิตได้จริง ในชีวติ ได้ ๓. นักเรยี นเห็น นักเรยี นเหน็ นักเรียนเห็น นักเรียนเห็น นกั เรยี นเหน็ ความสาคญั ของการ ความสาคญั ของ ความสาคญั ของ ความสาคัญของ ความสาคญั ของ จัดทาโครงงานเพ่ือ โครงงาน ประเมนิ โครงงาน ประเมิน โครงงาน ประเมิน โครงงาน ประเมนิ แสวงหาความรู้โดย แนวคิดได้หลาย แนวคิดได้หลาย แนวคดิ ท่ีเป็น แนวคิดที่เป็นประโยชน์ การใช้กระบวนการ ประเด็นทุกประเดน็ ประเดน็ ทกุ ประเดน็ ประโยชน์ได้ ๒-๓ ได้เพียงประเดน็ เดยี ว ทางวทิ ยาศาสตร์ (A) เป็นประโยชน์ เปน็ ประโยชน์และบาง ประเดน็ และบาง และสามารถนาไปใช้ ประเด็น สามารถ ประเดน็ สามารถ ได้จรงิ นาไปใช้ได้จรงิ นาไปใชไ้ ด้จริง เกณฑ์การประเมนิ การผา่ น ๑๐ – ๑๒ ดีมาก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรงุ คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถือว่าผ่านเกณฑ์

บนั ทึกหลังสอน ลงชือ่ ...................................................ผสู้ อน ๑. ผลการสอน (นางสาวจริ าพร กลุ ให้) ๒. ปัญหาและอุปสรรค ๓. ข้อเสนอแนะ ลงชอื่ ................................................................ (นางสาวนภสั นนั ท์ นลิ บตุ ร) ความเหน็ ของผู้อานวยการโรงเรียน ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านหนองเป็ด

แผนการจดั การเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๑ เวลา ๒๐ ชวั่ โมง หนว่ ยท่ี ๓ นิทานพ้ืนบา้ น เวลา ๑ ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี ๒ แผนการเรยี นรูท้ ี่ ๕๙ การวางแผนการทาโครงงาน ครูผู้สอน นางสาวจิราพร กลุ ให้ วันทส่ี อน.................................................................................. 1. สาระสาคญั การจัดทาโครงงานเก่ียวกับนิทานพ้ืนบ้านน้ัน นอกจากจะได้ความรู้เก่ียวกับนิทานพื้นบ้านเพิ่มเติมแล้ว ยังเป็นการชว่ ยอนุรกั ษแ์ ละสบื สานนิทานพ้ืนบ้านอนั เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมของไทยอีกดว้ ย 2. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเร่ืองราวใน รูปแบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อย่างมี ประสิทธิภาพ 3. ตวั ช้วี ดั ท ๒.๑ ม. ๑/๘ เขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ และโครงงาน ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการเขียน 4. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. ความรู้ (K) สรุปขั้นตอนการเขยี นรายงานโครงงาน 2. ทกั ษะกระบวนการ (P) - วางแผนการดาเนนิ งานเพื่อจัดทาโครงงาน - จัดทาโครงงานตามแผนงานท่ีกาหนด - เขียนรายงานโครงงาน 3. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) เหน็ ความสาคัญของการจัดทาโครงงานเพื่อแสวงหาความรู้เพิม่ เติม 5. สาระการเรียนรู้ การวางแผนและการจัดทาโครงงาน 6. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ขนั้ นาเข้าสู่บทเรยี น ครสู นทนากับนักเรยี นเกยี่ วกับโครงงาน โดยครถู ามวา่ นักเรียนทเ่ี คยทาโครงงานออกมาเลา่ ประสบการณ์ใหเ้ พ่ือนฟงั หน้าชัน้ เรยี น ข้ันพัฒนาผู้เรียน

๑. นกั เรยี นร่วมกนั ทบทวนความรเู้ รือ่ ง การเขยี นรายงานโครงงาน ๒. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม ๖ กลมุ่ จบั ฉลากเพ่ือเลอื กกจิ กรรมต่อไปน้ี กลุ่มที่ ๑ จัดทานิทานพืน้ บา้ นท่ีกลา่ วไว้ในหนงั สอื เรียนเป็นหนงั สือเล่มเล็ก โดย มเี น้ือเรื่องยอ่ ของนทิ านเรื่องนั้น ๆ ไวเ้ ป็นสาคัญ หากนักเรยี นสามารถ ค้นควา้ เร่ืองราวท่ีเกีย่ วกับนิทานเร่ืองนั้นเพ่มิ เติมได้ ก็ควรจะบนั ทกึ ไว้ด้วย จะได้มีคณุ ค่ามากขึ้น ให้วางผลงานทีท่ าขน้ึ นี้ไวท้ ี่มุมหนังสือในชัน้ เรียน เพอื่ ให้เพื่อน ๆ ได้อา่ นโดยท่ัวถึงกัน กลมุ่ ท่ี ๒ นกั เรยี นควรจดั รายการนิทานพืน้ บา้ นทางวิทยโุ รงเรยี นและผลดั กันไป เล่านิทานเหล่านใ้ี หน้ กั เรียนทั้งโรงเรียนไดฟ้ งั กนั กลุ่มท่ี ๓ จัดทาหนังสือการ์ตนู นทิ านพื้นบ้านใหเ้ พื่อน ๆ ได้อ่าน กลุ่มที่ ๔ จดั ป้ายนเิ ทศเกี่ยวกับคุณค่าของนิทานพน้ื บ้านในชัน้ เรียน กลุม่ ที่ ๕ ถ้าโรงเรียนของนกั เรียนอยู่ในท้องถ่ินที่เป็นชมุ ชนเกา่ แก่ และมี นทิ านพ้นื บา้ นอ่นื ๆ ที่ไมไ่ ด้กล่าวไวใ้ นหนังสือเรยี น นกั เรียนควรช่วยกนั สอบถามผรู้ ้ใู นท้องถนิ่ และจดบันทึกไว้ จัดป้ายนิเทศนามาเลา่ ใน รายการวิทยโุ รงเรยี น และจัดทาเปน็ รปู เล่มเพ่ิมเติมจากที่ทาไว้แลว้ กลุม่ ที่ ๖ นานทิ านพนื้ บ้านมาเขยี นเปน็ บทสนทนา แล้วนามาฝกึ ซ้อมและ แสดงบทบาทสมมตุ หิ นา้ ชั้นเรียน ๓. นกั เรยี นแตล่ ะกล่มุ นาประเดน็ ทไ่ี ดร้ บั มาระดมความคิดเพ่ือพฒั นาเป็นโครงงาน และตงั้ ช่ือ เร่อื งโครงงาน นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ วางแผนการจดั ทาโครงงาน และมอบหมายหนา้ ท่ีให้สมาชิกในกลุ่ม ๔. นักเรยี นแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมานาเสนอผลการประชมุ กลุ่ม ครูและนักเรยี นกลมุ่ อ่ืนรว่ ม แสดงความคิดเห็นและแนะนาเพิ่มเติม นักเรียนแตล่ ะกล่มุ ดาเนินงานตามแผนงานที่กาหนด และเขียน รายงานโครงงาน ขน้ั สรปุ นักเรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้ ดังน้ี การจัดทาโครงงานเกย่ี วกบั นิทานพื้นบ้านน้นั นอกจากจะได้ ความรู้เก่ียวกับนิทานพ้นื บ้านเพ่ิมเติมแล้ว ยังเปน็ การช่วยอนุรักษแ์ ละสืบสานนิทานพน้ื บ้านอันเปน็ มรดก ทางวฒั นธรรมของไทยอีกด้วย 7. สอื่ การเรยี นรู้ ฉลาก

8. การวัดผลประเมินผล เปา้ หมาย หลักฐาน เครือ่ งมือวดั เกณฑก์ าร ประเมิน สาระสาคญั แบบฝึกหัด แบบประเมนิ แบบฝกึ หดั การจดั ทาโครงงานเก่ียวกบั นทิ าน “โครงงานกับนิทาน “โครงงานกบั นิทาน ร้อยละ ๖๐ พ้ืนบ้าน” ผ่านเกณฑ์ พืน้ บ้านนั้น นอกจากจะได้ความรูเ้ กย่ี วกบั พนื้ บา้ น” นิทานพื้นบ้านเพิม่ เติมแล้ว ยงั เปน็ การ แบบประเมินแบบฝึกหดั ร้อยละ ๖๐ ช่วยอนุรกั ษแ์ ละสบื สานนิทานพืน้ บา้ นอัน แบบฝึกหัด ““โครงงานกบั นทิ าน ผ่านเกณฑ์ เปน็ มรดกทางวฒั นธรรมของไทยอกี ดว้ ย “โครงงานกับนิทาน พืน้ บ้าน” ร้อยละ ๖๐ ตวั ชี้วัด พื้นบา้ น” ผา่ นเกณฑ์ - ท ๒.๑ ม. ๑/๘ เขียนรายงานการศึกษา แบบประเมนิ แบบฝึกหัด คน้ ควา้ และโครงงาน แบบฝกึ หัด “โครงงานกับนิทาน - ท ๒.๑ ม. ๑/๙ มีมารยาทในการเขยี น “โครงงานกับนิทาน พืน้ บ้าน” คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ พ้นื บา้ น” เห็นความสาคญั ของการจัดทา โครงงานเพื่อแสวงหาความรเู้ พม่ิ เติม

เกณฑก์ ารประเมินผล (รบู รกิ ส์) ประเดน็ การประเมิน (๔) ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ (๑) ปรับปรงุ (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นกั เรียนสรุป สรุปความร้แู ละ สรุปความรู้และข้อคิด สรุปความรู้และ สรปุ ความร้แู ละข้อคิด ขนั้ ตอนการเขียน ข้อคิดจากเรื่องได้ จากเรอื่ งได้ถูกต้อง ข้อคิดจากเรื่องได้ จากเรื่องไดถ้ ูกต้อง แต่ รายงานโครงงาน (K) ถูกต้อง ชดั เจน หลาย ชัดเจน หลายแงม่ มุ ถกู ต้อง แตส่ รปุ เพียง สรุปเพยี ง ๑ ประเด็น ไม่ แงม่ มุ และสามารถ และสามารถเสนอ ๑ ประเด็น และเสนอ สามารถเช่ือมโยงกับ เสนอแนวทางการ แนวทางการนาไปใช้ แนวทางการนาไปใชใ้ น ชีวติ จริงได้ ต้องมผี ู้ นาไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ ได้ ในชีวติ จรงิ ได้ ชวี ิตจริงไดส้ มั พนั ธ์กนั แนะนาจึงจะเข้าใจ ดแี ละสรา้ งสรรค์ 2. นกั เรียนจัดทา นกั เรยี นจัดทาโครงงาน นกั เรียนจัดทา นักเรยี นจดั ทาโครงงาน นักเรียนจดั ทาโครงงาน โครงงานตาม ตามแผนงานท่ีกาหนด โครงงานตามแผนงาน ตามแผนงานที่กาหนด ตามแผนงานท่ีกาหนด แผนงานท่กี าหนด ได้ หลายประเด็น ทก่ี าหนด ได้หลาย ไดห้ ลายประเด็น ซ่ึง อยา่ งกว้าง ๆ ไม่ระบุ และเขียนรายงาน ทกุ ประเด็น ล้วน ประเดน็ ทุกประเด็น บางประเด็นนา่ สนใจ ประเด็นชัดเจน แต่กม็ ี โครงงาน (P) นา่ สนใจ มเี หตุผล ลว้ นน่าสนใจ มีเหตผุ ล และแสดงเหตผุ ลท่ดี ี เหตผุ ลประกอบที่ ประกอบน่าเชอื่ ถอื ประกอบท่ีดี สรปุ สรปุ ข้อคิดและเสนอ สมั พันธ์กัน สรุปข้อคดิ สรปุ ขอ้ คิดและเสนอ ข้อคิดและเสนอ แนวทางที่เป็น เพียงส้นั ๆ แต่ก็เป็น แนวทางที่นาไปใช้ใน แนวทางที่นาไปใช้ ประโยชน์ ประโยชนท์ ี่ดี ชีวิตได้จรงิ ในชวี ติ ได้ ๓. นกั เรยี นเหน็ นักเรียนเหน็ นักเรยี นเหน็ นักเรยี นเห็น นักเรียนเห็น ความสาคญั ของการ ความสาคัญของ ความสาคญั ของ ความสาคญั ของ ความสาคัญของ จดั ทาโครงงานเพ่ือ โครงงาน ประเมิน โครงงาน ประเมนิ โครงงาน ประเมนิ โครงงาน ประเมิน แสวงหาความรู้ แนวคดิ ได้หลาย แนวคิดไดห้ ลาย แนวคดิ ทีเ่ ปน็ แนวคดิ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ เพ่ิมเติม (A) ประเด็นทุกประเด็น ประเดน็ ทกุ ประเดน็ ประโยชน์ได้ ๒-๓ ไดเ้ พยี งประเด็นเดยี ว เป็นประโยชน์ เป็นประโยชนแ์ ละบาง ประเด็น และบาง และสามารถนาไปใช้ ประเด็น สามารถ ประเดน็ สามารถ ไดจ้ รงิ นาไปใช้ไดจ้ รงิ นาไปใชไ้ ด้จรงิ เกณฑก์ ารประเมนิ การผ่าน ๑๐ – ๑๒ ดมี าก ๗ –๙ ดี ๔ –๖ พอใช้ ๐ –๓ ควรปรบั ปรงุ คะแนนรอ้ ยละ ๖๐ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook