แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๑๗ ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๑ ชัว่ โมง หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี ๑ เรื่อง การอา่ นเพ่อื พฒั นาชีวิต แผนการเรียนรูท้ ่ี ๑ เรอ่ื ง หลักการอา่ นออกเสียงร้อยแก้ว ผสู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความร้แู ละความคดิ เพ่ือนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปัญหาในการ ดาเนินชีวิต และมนี ิสยั รกั การอา่ น ๒.ตัวชว้ี ัด ท ๑.๑ ม. ๓/๑ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้องและเหมาะสมกบั เร่ืองท่ีอา่ น ๓. สาระสาคญั การอา่ นออกเสยี งวรรณกรรมประเภทรอ้ ยแกว้ ผูอ้ า่ นต้องอ่านออกเสียงใหถ้ ูกต้อง ชดั เจน และมีลลี า การอ่านเหมาะสมกับประเภทของงานเขียน เพื่อถา่ ยทอดอารมณ์ไปส่ผู ู้ฟังใหค้ ล้อยตามไปกบั เร่ืองราวหรือ บทประพันธ์ทีอ่ า่ น ๔. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้สตู่ ัวชวี้ ดั ๑. นักเรียนอธิบายหลกั และวิธีการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วได้ถูกต้อง (K) ๒. นักเรยี นอ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ ไดถ้ ูกต้อง (P) ๓. นักเรียนมีมารยาทในการอา่ น (A) ๕. สาระการเรียนรู้ การอ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ ๖. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ข้นั ท่ี ๑ ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรียน ๑. ครเู ปดิ วดิ ที ัศน์ การอ่านขา่ วในพระราชสานกั พร้อมสนทนากบั นักเรยี นเกีย่ วกับการใชภ้ าษาในการ ดาเนนิ รายการของพธิ กี รรายการ เรอ่ื ง การใชภ้ าษา เช่น การอ่านคาควบกลา การอา่ นเน้นเสียงหนกั เบา ๒. ครแู จง้ จุดประสงค์การเรยี นร้ใู ห้นักเรยี นทราบ และเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ขั้นที่ ๒ ขนั้ สอน ๑. นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน เรื่อง การอา่ นออกเสียงรอ้ ยแกว้ ๒. นกั เรียนสนทนาเก่ยี วกับการอา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ ซกั ถามถึงประสบการณ์การอ่านออกเสียง ของนักเรยี น ให้นักเรยี นยกตัวอยา่ งบคุ คลท่ีสามารถเป็นแบบอยา่ งการอา่ นทด่ี ไี ด้ และบอกเหตผุ ลทนี่ ักเรียน ชื่นชอบ
๓. นักเรยี นศกึ ษาความรู้เรื่อง การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้ว ครอู ธิบายเพมิ่ เติมและยกตัวอยา่ ง ประกอบเพ่ือให้นักเรยี นเข้าใจไดอ้ ยา่ งชดั เจน ๔. นักเรียนและครูสนทนาเก่ียวกับการอ่านบทร้อยแกว้ ทนี่ ักเรียนพบเหน็ ในชวี ติ ประจาวนั เชน่ การอ่านขา่ ว ทางสถานีวทิ ยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย ๕. นกั เรียนดวู ิดีทศั น์การอ่านขา่ ว และรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ เกีย่ วกบั วธิ ีการอ่าน โดยให้บอก ลกั ษณะเดน่ ในการอ่านออกเสียงของผู้อ่านข่าว ๕. นกั เรียนทาแบบฝกึ หัด จากการอา่ นใบความรู้ และดูวิดีทัศนเ์ ม่ือสักครู่ (แบบฝึกหดั ท่ี ๑) ๖. นกั เรียนจบั คู่กัน และอ่านออกเสียงเรื่อง อะไร ๆ ก็ “ไม่เปน็ ไร” โดยคานงึ ถึงความถูกตอ้ ง ให้ นกั เรยี นแตล่ ะคอู่ ่านออกเสียงหนา้ ชันเรียน หากเวลาในชั่วโมงเรียนไม่พอใหค้ รนู ดั เวลานอกชั่วโมงเรียน ขน้ั ที่ ๓ ขัน้ สรุป ๑. นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรุปความรู้ ดงั นี • นกั เรยี นรว่ มกันสรปุ รูปแบบและหลกั การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วทถี่ ูกต้องและไพเราะ ผ้อู ่านต้อง อ่านออกเสียงให้ถูกต้องชดั เจนและมีลลี าการอา่ นเหมาะสมกับประเภทของงานเขียน เพื่อถา่ ยทอดอารมณไ์ ปสู่ ผฟู้ ังให้คล้อยตามไปกบั เร่ืองราว หรอื บทประพนั ธ์ที่อา่ น ๒. เปิดโอกาสให้นกั เรยี นไดซ้ ักถามขอ้ สงสยั ๗. สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ ๑. แบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ ง การอา่ นออกเสียง ๒. วดิ ที ศั นก์ ารอา่ นขา่ วในพระราชสานัก ๓. หนงั สอื เรียนภาษาไทย วิวธิ ภาษา ชนั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๔. สอ่ื PowerPoint เรื่อง การอ่านออกเสยี งร้อยแกว้ ๕. แบบฝกึ หัดที่ ๑ ๘. การวัดผลและประเมินผล วิธกี ารวัด เครอ่ื งมือวัด เกณฑ์การประเมนิ ผล ตรวจผลงานนกั เรยี น จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ แบบประเมนิ ผลงาน ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ สงั เกตการอา่ น นักเรียน ระดับขึนไปถือว่าผา่ น ๑. นักเรยี นอธิบายหลกั การอ่าน ของนักเรียน ออกเสียงบทร้อยแก้วได้ถูกต้อง สังเกตการมมี ารยาท แบบสงั เกตการอา่ นของ ทาคะแนนผ่านตงั แต่ ๓ (K) ในการอ่าน ๒. นกั เรยี นอา่ นออกเสยี งบท นักเรียน ระดับขนึ ไปถือวา่ ผ่าน ร้อยแกว้ ได้ถกู ต้อง(P) แบบสงั เกตการมี ทาคะแนนผ่านตงั แต่ ๓ ๓. นักเรยี นมีมารยาทในการอ่าน มารยาทในการอ่าน ระดับขนึ ไปถือว่าผ่าน (A)
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รบู รกิ ส)์ ประเด็นการประเมนิ ระดับคุณภาพ (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง ๑. นักเรยี นอธบิ าย - มีความถกู ต้อง - มีความถูกต้อง - มีความถูกต้องและ - มคี วามถกู ต้องน้อย มากไมม่ ีความคดิ หลักการอา่ นออก สมบูรณ์ เรียบรอ้ ย มคี วามคดิ ริเร่ิม รเิ ริม่ สร้างสรรค์ - ทางานเสร็จไมต่ าม เสียงบทร้อยแก้วได้ - มีความคิดริเร่ิม - มคี วามคิดริเร่ิม สรา้ งสรรค์เล็กน้อย เวลาท่กี าหนด ถูกต้อง (K) สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ - ทางานเสรจ็ ตาม - สะอาดเรียบรอ้ ย - ทางานเสรจ็ ตาม เวลาทก่ี าหนด - ทางานเสรจ็ ตาม เวลาทกี่ าหนด เวลาท่กี าหนด ๒. นกั เรยี นสามารถ - อ่านออกเสียงถูกต้อง - อ่านออกเสยี งถูกต้อง - อา่ นออกเสียงถูกต้อง - อ่านออกเสียง อ่านออกเสยี งบทร้อย ตามอักขรวธิ ี ตามอักขรวิธี ตามอักขรวธิ ี ถกู ต้องตามอกั ขรวธิ ี แก้ว ไดถ้ ูกตอ้ ง(P) - เสียงดังชัดเจน เวน้ - เสียงดังชัดเจน เวน้ - แต่นาเสียงราบ - เสียงดังชดั เจน แต่ วรรคตอนเหมาะสม วรรคตอนเหมาะสม เรยี บไม่น่าสนใจ ยังตอ้ งปรบั ปรงุ เรื่อง - นาเสยี งนา่ ฟังและ - นาเสียงน่าฟัง แต่ การเว้นวรรคตอน เหมาะสมกบั เรื่อง บางชว่ งตอ้ งปรับปรุง ท่ีอา่ น ให้สอดคล้องกับเนือหา - ลีลาการอ่านเป็น ธรรมชาติ ๓. นักเรยี นมีมารยาท - อ่านในใจ ไม่อา่ น - อ่านในใจ ไม่อา่ น - อ่านในใจ ส่งเสยี ง - อา่ นในใจเปน็ ใน เสยี งดงั รบกวนผอู้ นื่ เสียงดงั รบกวนผอู้ นื่ ดังรบกวนผู้อ่นื บางครงั การอ่าน (A) - หยิบจับ หรือเปิด - นง่ั อ่านในท่าทาง เลก็ น้อย - แตส่ ่งเสียงดงั หนงั สืออย่างเบามือ สบาย ตัวตรง ทา่ ทาง - นัง่ อา่ นในทา่ ทาง รบกวนผู้อื่นไม่คอ่ ย - น่ังอา่ นในท่าทาง สุภาพ สบาย ของตัวเอง อยกู่ บั ที่ สบาย ตวั ตรง ทา่ ทาง สุภาพ
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๑๗ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๑ ชัว่ โมง หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เรื่อง การอา่ นเพ่ือพัฒนาชีวิต แผนการเรยี นร้ทู ่ี ๒ เร่อื ง การอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ ผู้สอน นางสาวจิราพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิดเพ่อื นาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการ ดาเนนิ ชีวิต และมนี สิ ยั รักการอ่าน ๒.ตัวชวี้ ัด ท ๑.๑ ม. ๓/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกต้องและเหมาะสมกบั เรื่องที่อา่ น ท ๑.๑ ม. ๓/๑๐ มีมารยาทในการอา่ น ๓. สาระสาคัญ การอา่ นออกเสียงวรรณกรรมประเภทร้อยแกว้ ผอู้ า่ นต้องอ่านออกเสยี งให้ถูกต้อง ชัดเจน และมลี ลี า การอา่ นเหมาะสมกบั ประเภทของงานเขยี น เพ่ือถ่ายทอดอารมณ์ไปสผู่ ู้ฟงั ใหค้ ล้อยตามไปกบั เรอ่ื งราวหรือ บทประพนั ธท์ ีอ่ า่ น ๔. จดุ ประสงค์การเรยี นรูส้ ู่ตัวชี้วัด ๔. นักเรียนอธิบายหลักและวธิ ีการอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วได้ถกู ต้อง (K) ๕. นักเรียนอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วได้ถูกต้อง (P) ๖. นักเรียนมีมารยาทในการอ่าน (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ การอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ ๖. กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั ที่ ๑ ข้ันนาเขา้ สู่บทเรยี น ๑. ครูกล่าวทกั ทายนักเรยี นในชัว่ โมงเรียน ๒. ทบทวนความร้เู ดิมจากชัว่ โมงทแ่ี ลว้ เร่อื ง หลกั การอ่านบทรอ้ ยแกว้ โดยตังคาถามดงั นี • การอ่านบทร้อยแก้วมีวธิ ีการและหลกั ในการอา่ นอย่างไรบ้าง (นกั เรยี นชว่ ยกันตอบ ครสู งั เกตการตอบคาถามของนกั เรยี นพรอ้ มประเมนิ ดว้ ยว่านกั เรยี นมี ความเข้าใจในการเรียนชว่ั โมงทแ่ี ล้วไดม้ ากเพยี งใด) • การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วได้ถูกต้องและไพเราะ มีความสาคัญกับนักเรยี นอยา่ งไร (พิจารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพินิจของครผู ้สู อน)
๓. ครอู ธบิ ายกิจกรรมท่ใี ห้นกั เรียนทา เพอ่ื เชือ่ มโยงกับเนือหาทจ่ี ะนามาสอนในชั่วโมงนี ๔. ครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรียนรใู้ หน้ กั เรียนทราบ ขั้นที่ ๒ ขนั้ สอน ๑. ครเู ปดิ วิดีทัศน์การอ่านขา่ วกฬี า ขา่ วบนั เทิง และนักเรยี นร่วมกันแสดงความคิดเหน็ ร่วมกัน เกี่ยวกบั วธิ ีการอ่านของพิธีกร ๒. นักเรียนตอบคาถามกระตุ้นความคดิ ดังนี ลกั ษณะการพดู ของพิธีกรเป็นอย่างไร (อา่ นออกเสียงได้ คลอ่ ง มีการเว้นวรรคในการอ่าน เนน้ เสียงและถ้อยคา ตามความสาคญั ของใจความ ใช้นาเสยี งไดด้ ี) ๓. นกั เรยี นแบ่งกล่มุ กล่มุ ละ ๔-๕ คน เลือกหัวหนา้ กลุม่ พร้อมตังชอ่ื กลุ่มของตน ๔. ให้นกั เรยี นแต่ละกลุ่มออกมาจับสลาก เพื่อเลือกหวั ขอ้ ในการอา่ นข่าวทีค่ รูกาหนด โดยแบง่ ออกเปน็ หัวข้อดงั นี ( ๑๐ นาที ) ๑). ข่าวกีฬา ๒). ข่าวในพระราชสานกั ๓). ข่าวบันเทงิ ๕. ให้นกั เรียนฝึกอา่ นข่าว โดยคานกึ ถึงหลกั ความถูกต้องในการอา่ นออกเสยี ง (๑๐นาที) ๖. นักเรียนแต่ละกลุ่ม ส่งตวั แทนกลมุ่ ออกมาอ่านรายงานข่าวตามหวั ขอ้ ที่ได้ ใหเ้ พือ่ นๆฟังหนา้ ชนั เรียน เพอื่ ใหเ้ พอ่ื นๆ ชว่ ยประเมินผลการอ่านวา่ ถูกตอ้ ง ไพเราะหรือไม่ และต้องปรับปรุงแกไ้ ขอย่างไร พร้อม ครูให้คาแนะนา และชนื่ ชมนกั เรียนท่อี อกมาอา่ นขา่ ว ๗. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ชว่ ยกันตอบคาถามจากหวั ข้อข่าวท่ีตนเองได้ (แบบฝกึ หัดที่ ๒) ข้ันท่ี ๓ ขน้ั สรุป ๑. นักเรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปความรู้ - หลกั เกณฑ์ในการอา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้วที่ถูกต้องและไพเราะ ผอู้ า่ นต้องอา่ นออกเสียง ใหถ้ กู ต้องชัดเจนและมีลีลาการอ่านเหมาะสมกับประเภทของงานเขียน เพื่อถ่ายทอดอารมณไ์ ปสู่ผฟู้ งั ให้คลอ้ ย ตามไปกบั เรื่องราว หรอื บทประพันธท์ ่ีอ่าน ๒. เปดิ โอกาสให้นกั เรียนไดซ้ ักถามขอ้ สงสัย ๗. สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ ๑. หนังสือเรียนภาษาไทย วิวิธภาษา ชนั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ๒. วิดที ศั น์ เร่อื ง การอ่านข่าวกฬี า ขา่ วบนั เทิง ๓. สอ่ื PowerPoint ๔. แบบฝกึ หัดที่ ๒
๘. การวัดผลและประเมินผล วธิ ีการวดั เครอ่ื งมือวดั เกณฑ์การประเมินผล ตรวจผลงานนกั เรยี น จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ แบบประเมินผลงาน ทาคะแนนผ่านตงั แต่ ๓ สงั เกตการอา่ น นักเรียน ระดับขึนไปถือวา่ ผา่ น ๑. นักเรียนอธิบายหลกั การอ่าน ของนักเรยี น ออกเสยี งบทร้อยแก้วได้ถูกต้อง สงั เกตการมมี ารยาท แบบสังเกตการอ่านของ ทาคะแนนผ่านตังแต่ ๓ (K) ในการอ่าน ๒. นักเรยี นอา่ นออกเสียงบท นกั เรยี น ระดับขนึ ไปถือวา่ ผ่าน ร้อยแกว้ ได้ถกู ต้อง(P) แบบสงั เกตการมี ทาคะแนนผา่ นตงั แต่ ๓ ๓. นกั เรยี นมีมารยาทในการอ่าน มารยาทในการอ่าน ระดับขึนไปถือว่าผา่ น (A)
เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู ริกส์) ประเด็นการประเมนิ ระดับคุณภาพ ๑. นักเรยี นอธบิ าย (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง หลกั การอา่ นออกเสยี ง บทรอ้ ยแกว้ ไดถ้ ูกต้อง - มีความถกู ต้อง - มีความถูกต้อง - มีความถูกต้องและ - มคี วามถกู ต้องน้อย (K) สมบรู ณ์ มากไมม่ ีความคดิ - มคี วามคิดริเร่ิม เรียบรอ้ ย มคี วามคดิ ริเร่ิม รเิ ริม่ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ - ทางานเสร็จไมต่ าม - สะอาดเรียบรอ้ ย - มคี วามคิดริเร่ิม สรา้ งสรรค์เล็กน้อย เวลาท่กี าหนด - ทางานเสรจ็ ตาม เวลาทีก่ าหนด สร้างสรรค์ - ทางานเสรจ็ ตาม - ทางานเสรจ็ ตาม เวลาทก่ี าหนด เวลาทกี่ าหนด ๒. นักเรียนสามารถ - อา่ นออกเสียงถูกต้อง - อ่านออกเสยี งถูกต้อง - อา่ นออกเสียงถูกต้อง - อ่านออกเสียง อ่านออกเสียงบทร้อย ตามอักขรวธิ ี ตามอักขรวิธี ตามอักขรวธิ ี ถกู ต้องตามอกั ขรวธิ ี แก้ว ได้ถูกต้อง(P) - เสยี งดังชัดเจน เวน้ - เสียงดังชัดเจน เวน้ - แต่นาเสียงราบ - เสียงดังชดั เจน แต่ วรรคตอนเหมาะสม วรรคตอนเหมาะสม เรยี บไม่น่าสนใจ ยังตอ้ งปรบั ปรงุ เรื่อง - นาเสียงนา่ ฟังและ - นาเสียงน่าฟัง แต่ การเว้นวรรคตอน เหมาะสมกบั เรื่อง บางชว่ งตอ้ งปรับปรุง ที่อ่าน ให้สอดคล้องกับเนือหา - ลีลาการอ่านเป็น ธรรมชาติ ๓. นักเรียนมีมารยาทใน - อ่านในใจ ไม่อา่ น - อ่านในใจ ไม่อา่ น - อ่านในใจ ส่งเสยี ง - อา่ นในใจเปน็ การอ่าน (A) เสยี งดังรบกวนผอู้ นื่ เสียงดงั รบกวนผอู้ นื่ ดังรบกวนผู้อ่นื บางครงั - หยบิ จับ หรือเปิด - นง่ั อ่านในท่าทาง เลก็ น้อย - แตส่ ่งเสียงดงั หนังสอื อย่างเบามือ สบาย ตัวตรง ทา่ ทาง - นัง่ อา่ นในทา่ ทาง รบกวนผู้อื่นไม่คอ่ ย - นัง่ อา่ นในท่าทาง สุภาพ สบาย ของตัวเอง อยกู่ บั ที่ สบาย ตัวตรง ทา่ ทาง สุภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔ ภาคเรียนท่ี ๑ จานวน ๑๗ ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ เวลา ๑ ชว่ั โมง หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่ือง การอา่ นเพื่อพัฒนาชีวติ แผนการเรยี นรทู้ ี่ ๓ เรอ่ื ง หลกั การอา่ นจบั ใจความสาคัญ ผู้สอน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคิดเพอ่ื นาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการ ดาเนนิ ชีวิต และมนี ิสัยรกั การอ่าน ๒.ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ม. ๓/๓ ระบใุ จความสาคญั และรายละเอียดของข้อมลู ทส่ี นับสนุนจากเรอ่ื งท่ีอ่าน ๓. สาระสาคญั การอ่านเพื่อจบั ใจความสาคัญ เปน็ พืนฐานท่ีจาเปน็ ในการศึกษาหาความรู้ จงึ ควรฝึกฝนใหเ้ กดิ ความชานาญจนสามารถจบั ใจความสาคัญในงานเขยี นทุกประเภท ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ูต่ วั ชวี้ ดั ๑. นักเรียนบอกหลกั การอา่ นจับใจความจากเรื่องท่ีอา่ นได้ถูกต้อง (K) ๒. นกั เรยี นสามารถจบั ใจความจากเรอื่ งที่อา่ นได้ถกู ต้อง (P) ๓. นักเรียนมมี ารยาทในการอ่าน (A) ๕. สาระการเรียนรู้ การอ่านจับใจความ ๖. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขนั้ ท่ี ๑ ข้นั นาเข้าสูบ่ ทเรยี น ๑. ครกู ลา่ วทักทายนักเรยี น พร้อมเชค็ ชอ่ื สรา้ งสรรค์ ในหัวข้อ นักเรยี นมีวธิ กี ารเรยี นอย่างไร ใหเ้ รยี น เป็นคนเรยี นหนงั สอื เก่ง ๒. นกั เรียนส่งตัวแทน ๔ -๕ คน เล่นเกมกระซิบคาตอบ โดยครถู ่ายทอดบทความให้นักเรียนคนแรก แลว้ ให้บอกเพื่อนคนต่อไป และใหน้ ักเรยี นคนสดุ ทา้ ยสรปุ ให้เพ่ือนๆ ว่าได้รับข้อมลู วา่ อย่างไร ๓. ครอู ธบิ ายกิจกรรมท่ใี ห้นักเรยี นทา เพื่อเชื่อมโยงกับเนือหาท่จี ะนามาสอนในชวั่ โมงนี ๔. ครูแจง้ จุดประสงค์การเรียนรู้จากเรอื่ งการอ่านจบั ใจความใหน้ ักเรียนทราบ ขน้ั ที่ ๒ ขัน้ สอน ๑. ครูนานกั เรียนสนทนาเกย่ี วกับการอ่านจับใจความ ซกั ถามนักเรียนว่ามวี ธิ ีการอ่านอยา่ งไรจงึ จะ เข้าใจสาระสาคญั ของเร่ืองได้ และถามวา่ การเข้าใจสาระสาคัญของเรอ่ื งที่อา่ นนันสาคัญอยา่ งไร
๒. นกั เรียนแบ่งกล่มุ กลุ่มละ ๕ คน ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาความรเู้ รอื่ ง การอ่านจบั ใจความจากส่ือตา่ ง ๆ จากนนั ครทู ดสอบความเขา้ ใจโดยใหน้ กั เรียนรว่ มกันตอบคาถาม ดงั นี • การอา่ นจบั ใจความสาคญั คืออะไร (การอา่ นเพื่อเกบ็ สาระสาคัญของเรื่องทอ่ี ่าน) • ทักษะสาคัญท่ีควรปฏบิ ตั คิ วบคู่ไปกบั การอ่านจับใจความ คือทักษะใด (การอ่านตีความ) • ใจความสาคัญของเรอื่ งทอ่ี ่านสามารถอยู่ในส่วนใดของย่อหนา้ ไดบ้ ้าง ๑. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนตน้ ของย่อหนา้ ๒. ประโยคใจความสาคญั อยู่ตอนกลางของยอ่ หน้า ๓. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนทา้ ยของย่อหนา้ ๔. ประโยคใจความสาคัญอยู่ตอนตน้ และตอนท้ายของย่อหนา้ ๕. ผ้อู ่านสรปุ ขนึ เอง จากการอา่ นทงั ย่อหนา้ • หลักการอ่านจับใจความสาคัญมีอะไรบ้าง ๑. ตงั จุดหมายในการชดั เจน ๒. อ่านเร่ืองราวแบบคร่าวๆพอเขา้ ใจแลว้ เกบ็ ใจความสาคัญของแตล่ ะยอหนา้ ๓. เม่ืออา่ นจบแลว้ ใหต้ ังคาถามว่า ใคร ทาอะไร ทีไ่ หน เม่ือไหร่ อย่างไร ๔. นาสง่ิ ทีส่ รุปไดม้ าเรยี บเรยี งใจความสาคัญใหม่เป็นของตัวเอง ๓. ใหน้ กั เรียนอ่านแถบข้อความ ๕ ขอ้ ความ พร้อม ๆ กันแลว้ ช่วยกันตอบคาถามวา่ ใจความสาคญั ของขอ้ ความคืออะไร ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งใหพ้ ลังงานความร้อนและแสงสว่าง ความรอ้ นจากด้วย อาทิตย์ ทาใหโ้ ลกอบอุ่น แสงจากดวงอาทิตย์ทาให้เราเหน็ ส่งิ ต่าง ๆ จไุ รรตั น์ ลักษณะศิริ • ใจความสาคัญของข้อความคืออะไร (ดวงอาทิตย์เปน็ แหลง่ ใหพ้ ลังงานความร้อนและแสง สวา่ ง) ความเครียดทาใหเ้ พ่มิ ฮอรโ์ มนอะดรีนาลนี ในเลอื ด ทาใหห้ วั ใจเตน้ เร็ว เส้นเลอื ดบีบตัว กลา้ มเนือเขม็งดึง ระบบย่อยอาหารผดิ ปกติ เกิดอาการปวดหวั ปวดท้อง ใจสนั่ แขง้ ขาออ่ นแรง ความเครียดจงึ เปน็ ตัวการให้แกเ่ ร็ว บาหยนั อ่ิมสาราญ • ใจความสาคัญของขอ้ ความคืออะไร (ความเครียดทาใหแ้ กเ่ ร็ว) โดยทว่ั ไปผักท่ขี ายตามทอ้ งตลาดส่วนใหญ่เกษตรกรมักใช้สารกาจดั ศตั รูพืช หากไม่มีความรอบคอบใน การใช้ จะทาใหเ้ กิดสารตกคา้ ง ทาให้มปี ญั หาตอ่ สุขภาพ ฉะนน้ั เม่ือซ้ือผกั ไปรับประทานจึงควรลา้ งผกั ดว้ ยน้า หลายๆครงั้ เพราะจะชว่ ยกาจดั สารตกคา้ งไปไดบ้ ้าง บางคนอาจแชผ่ กั โดยใชน้ าผสมโซเดยี มไบคารบ์ อเนตก็ได้ แตอ่ าจทา
• ใจความสาคญั ของข้อความนีคืออะไร (ฉะนนั เม่ือซีกผา้ ไปรับประทานจึงควรลา้ งผกั ด้วยนา หลายๆรอบ) การรกั ษาศีลเพือ่ บงั คับตนเองใหม้ รี ะเบียบวินัยในการกระทาทกุ สงิ่ ทกุ อย่าง เชน่ เรามาอยวู่ ัด มานุ่ง ขาวห่มขาว ไม่ใชถ่ อื แต่ศลี แปดข้อเทา่ นนั แตเ่ ราต้องนกึ วา่ ศลี นนั คอื ความมีระเบียบ มวี ินัย เราเดนิ อย่างมีระเบยี บ มีวินยั น่ังอยา่ งมีระเบียบ กนิ อยา่ งมีระเบียบ ทาอะไรก็ทาอยา่ งมรี ะเบยี บนัน่ เปน็ คนทีม่ ศี ลี ถ้าเราไมม่ ีระเบียบก็ ไมม่ ศี ีล • ใจความสาคญั ของข้อความนีคืออะไร (การรักษาศีลเพ่ือบังคบั ตนเองให้มรี ะเบียบวินยั ใน การกระทาทุกสง่ิ ทุกอย่าง,ถา้ เราไม่มรี ะเบยี บก็ไม่มีศลี ) การเดิน การว่ายนา การฝึกโยคะ การออกกาลังกายด้วยอุปกรณ์ตา่ งๆ ตลอดจนการหายใจลกึ ๆ ล้วนมีส่วนทาให้สขุ ภาพแขง็ แรง • ใจความสาคัญของข้อความนีคืออะไร (การทาให้สขุ ภาพแข็งแรงทาได้หลายวธิ ี) ๔. ครูเฉลยคาตอบพรอ้ มทงั อธบิ ายเพิม่ เตมิ ๕. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มทาแบบฝึกหัด เร่อื ง การอา่ นจับใจความ (แบบฝกึ หัดท่ี ๓) และ ให้นกั เรียนแต่ ละกลุ่มนาเสนอผลงานหนา้ ชันเรยี น เมือ่ ครบทุกกลุ่มแล้วจงึ เฉลยคาตอบ และใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั ตรวจสอบ ความถกู ต้อง ข้นั ที่ ๓ ข้นั สรุป ๑. ให้นกั เรียนและครูรว่ มกันสรุปความรู้ ดงั นี • การอ่านเพื่อจับใจความสาคญั เปน็ พนื ฐานทีจ่ าเปน็ ในการศึกษาหาความรู้ จงึ ควรฝกึ ฝนให้ เกดิ ความชานาญจนสามารถจับใจความสาคัญในงานเขยี นทุกประเภท ๒. เปิดโอกาสให้นักเรยี นได้ซักถามข้อสงสยั ๗. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. แถบขอ้ ความ ๒. ใบความรเู้ รื่อง การอ่านจบั ใจความสาคัญ ๓. ส่อื PowerPoint เร่ือง การอา่ นจบั ใจความสาคญั ๔. แบบฝึกหัดท่ี ๓ เรือ่ ง การอา่ นจับใจความสาคญั
๘. การวดั ผลและประเมนิ ผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวดั เคร่ืองมอื วดั เกณฑก์ ารประเมิน ๑.นักเรียนบอกหลักการ สังเกตการตอบคาถาม แบบสังเกตการตอบ ทาคะแนนผ่านตังแต่ ๓ อ่านจับใจความจากเร่ืองที่ คาถาม ระดบั ขนึ ไปถือว่าผ่าน อ่านได้ถูกต้อง (K) ตรวจแบบฝกึ หดั แบบประเมินแบบฝึกหดั ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ ๒. นักเรียนสามารถจับ สังเกตการมมี ารยาท ระดบั ขึนไปถือวา่ ผา่ น ใจความจากเร่ืองที่อา่ นได้ ในการอ่าน ถูกต้อง (P) แบบสงั เกตการมีมารยาท ทาคะแนนผา่ นตงั แต่ ๓ ๓.นกั เรยี นมีมารยาทในการ อา่ น (A) ในการอ่าน ระดบั ขึนไปถือวา่ ผ่าน
เกณฑ์การประเมนิ ผล (รูบริกส์) ระดบั คณุ ภาพ ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ ๑.นกั เรียนบอก - ตอบคาถามได้ถูกต้อง - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ หลกั การอ่านจบั ชัดเจน แสดงเหตผุ ลใน ถูกต้อง ถกู ต้อง - ไม่แสดงเหตผุ ลใน ใจความจากเร่ืองท่ี การตอบคาถามได้ - แสดงเหตผุ ลในการ - แสดงเหตผุ ลในการ การตอบคาถาม อ่านได้ถกู ต้อง (K) ชัดเจน ตอบคาถามได้ชัดเจน ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้อยา่ ง - ตอบคาถามได้อย่าง ตอ่ เนือ่ งครบถ้วน ตอ่ เนอ่ื งครบถว้ น - ตอบคาถามได้ สัมพันธ์กับหวั ข้อที่ กาหนด ๒. นักเรยี นสามารถ - วเิ คราะหโ์ ครงเร่อื ง - วเิ คราะห์โครงเรื่อง - วเิ คราะห์โครงเรื่อง - วิเคราะห์โครง จับใจความจากเรื่อง ฉาก และแกน่ เร่ืองได้ ฉาก และแก่นเรื่องได้ และฉาก ได้ เรือ่ งและฉากได้ ทอ่ี า่ นได้ (P) ถูกต้อง ถกู ต้อง วเิ คราะหต์ ัว - แตย่ ังวิเคราะห์ - แตย่ งั วิเคราะห์ - วิเคราะหต์ ัวละครทุก ละครทุกตวั ได้ถูกต้อง แกน่ เร่อื งไม่ตรงนกั โครงเรอื่ งและ ตวั ได้ละเอยี ดทกุ แง่มุม - ยกตัวอยา่ งประกอบ วเิ คราะห์แก่นเรอ่ื ง - ยกตัวอยา่ ง ชัดเจน ไม่ชดั เจน ประกอบชัดเจน - แต่วิเคราะห์เฉพาะ ลักษณะนิสยั ทีเ่ ดน่ ชัด เท่านัน ๓. นักเรยี นมมี ารยาท - อา่ นในใจ ไม่อ่าน - อ่านในใจ ไม่อา่ น - อ่านในใจ สง่ เสียง - อ่านในใจเปน็ ในการอ่าน (A) เสยี งดังรบกวนผ้อู นื่ เสียงดงั รบกวนผ้อู ่นื ดงั รบกวนผู้อนื่ บางครงั - หยิบจบั หรือเปิด - นั่งอ่านในทา่ ทาง เลก็ นอ้ ย - แต่ส่งเสยี งดัง หนงั สอื อย่างเบามือ สบาย ตวั ตรง ทา่ ทาง - นง่ั อ่านในทา่ ทาง รบกวนผ้อู นื่ ไม่ค่อย สภุ าพ สบาย ของตวั เอง อย่กู บั ที่
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๑๗ ชวั่ โมง กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๑ ชว่ั โมง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่ือง การอา่ นเพื่อพฒั นาชีวิต แผนการเรยี นร้ทู ่ี ๔ เรือ่ ง การอ่านจับใจความสาคญั ผสู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิดเพื่อนาไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปัญหาในการ ดาเนนิ ชีวติ และมนี ิสยั รกั การอ่าน ๒.ตวั ชีว้ ัด ท ๑.๑ ม. ๓/๓ ระบุใจความสาคญั และรายละเอียดของข้อมูลท่ีสนับสนุนจากเรอ่ื งท่อี า่ น ๓. สาระสาคัญ การอ่านเพ่ือจบั ใจความสาคัญ เปน็ พืนฐานทจ่ี าเปน็ ในการศึกษาหาความรู้ จงึ ควรฝกึ ฝนให้เกดิ ความชานาญจนสามารถจับใจความสาคัญในงานเขียนทุกประเภท ๔. จดุ ประสงค์การเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั ๑. นักเรียนบอกหลกั การอา่ นจบั ใจความจากเร่ืองที่อ่านได้ถกู ต้อง (K) ๒. นกั เรยี นสามารถจบั ใจความจากเรือ่ งที่อา่ นได้ถูกต้อง (P) ๓. นกั เรยี นมมี ารยาทในการอ่าน (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ ๑. การอ่านจบั ใจความ - บทความ, เพลง ๖. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั ที่ ๑ ขน้ั นาเข้าสบู่ ทเรยี น ๑. ครูสนทนาร่วมกันกบั นกั เรียนถงึ การเรยี นในชัว่ โมงท่ีแล้ว ๒. นักเรียนชว่ ยกันอา่ นบทความที่ครูกาหนดในส่ือ PowerPoint ๒ บทความ พร้อมเฉลยและอธิบาย เพ่ิมเติม บทความที่ ๑ “อโรคยา ปรมา ลาภา” การไมม่ โี รคเปน็ ลาภอันประเสรฐิ การมีสุขภาพดี ไม่มีโรคจึงเป็นความสขุ ซ่งึ ความสขุ นีประกอบด้วย สุขกาย สุขใจ และสุขทางสังคม
โดยครตู งั คาถามดงั นี ๑. บทความนกี ลา่ วถงึ เร่ืองใด เฉลย สขุ ภาพดีไม่มีโรคภยั ๒. นักเรียนคิดว่า คาว่า “อโรคยา ปรมา ลาภา” หมายถึงอะไร เฉลย การไม่มโี รคเปน็ ลาภอันประเสรฐิ ๓. นกั เรยี นคดิ วา่ ระหว่างการมสี ขุ ภาพดีกบั การร่ารวยเงนิ ทองสง่ิ ใดเปน็ ความสขุ ที่แท้จริง เพราะเหตุใด เฉลย อยูใ่ นดลุ พินจิ ของครผู สู้ อน ๔. ให้นกั เรยี นสรปุ ใจความสาคญั ของบทความนี เฉลย การมสี ขุ ภาพดีทาให้มีความสุข บทความท่ี ๒ ฝรง่ั กนิ ฝรง่ั ฝร่ังติดคอ ฝรง่ั ไปหาหมอฝรง่ั หมอฝรง่ั บอกฝรั่งว่า เม็ดฝรง่ั ติดคอฝรง่ั ฝร่งั บอกหมอฝร่ังใหเ้ อาเม็ดฝร่ังออกจากคอ ฝรัง่ หมอฝร่งั ทาให้ฝรั่งไม่ได้ฝรั่งตายเพราะเม็ดฝรั่ง ๑. บทความนกี ล่าวถึงเร่ืองใด เฉลย ฝรั่งคนหนงึ่ ๒. นกั เรยี นคดิ วา่ คาวา่ “ฝร่งั ” หมายถึงอะไรบ้าง เฉลย คน,ผลไม,้ หมอ ๓. ใหน้ ักเรียนสรปุ ใจความสาคัญของบทความนี เฉลย ฝรง่ั กินฝร่งั แลว้ เมด็ ฝร่ังตดิ คอ ๓. ครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรชู้ ดั เจนว่า เม่ือสนิ สดุ การเรียนในครงั นสี ามารถจบั ใจความสาคญั ได้ ขั้นที่ ๒ ขน้ั สอน ๑. นักเรยี นแบ่งกลมุ่ กลุ่มละ ๔-๕ คน จากชัว่ โมงท่แี ล้ว พรอ้ มทบทวนความรู้เรอื่ ง หลกั การอา่ นจบั ใจความอีกครงั หรืออาจให้นักเรียนดใู บความรู้ท่ีครแู จกให้ชวั่ โมงทแ่ี ล้วประกอบด้วย และชีแจงขนั ตอนในการ ทากิจกรรมดงั นี ๒. ใหน้ ักเรียนทาแบบฝกึ หัดท่ี ๔ เรอ่ื ง การอ่านจบั ใจความสาคัญบทความ ๓. นักเรียนฟังเพลง เพลง รปู ท่ีมีทกุ บา้ น ศิลปนิ ธงไชย แมคอินไตย์ และให้นกั เรยี นทาแบบฝึกหัดที่ ๕ เรื่อง การอ่านจับใจความบทเพลง ๔. ครสู มุ่ ตัวแทนนกั เรียน ๒ กลมุ่ เพอื่ นาเสนอผลงานของกล่มุ ตวั เอง หน้าชนั เรยี น โดยครูเปน็ ผู้ ตรวจสอบความถูกต้องอีกครังหนงึ่ เพื่ออธบิ ายเพ่ิมเตมิ เพ่ือใหน้ ักเรยี นเข้าใจได้ถูกต้องสมบรู ณ์ พร้อมทงั สังเกต พฤติกรรมใฝเ่ รยี นร้ขู องนักเรียน
ข้นั ท่ี ๓ ขัน้ สรปุ ๑. นกั เรียนและครชู ว่ ยกนั สรุปเร่อื ง การอา่ นจับใจความสาคญั โดยครูคอยชีแนะตรวจสอบความคดิ รวบยอดทถี่ ูกต้องถา้ สรปุ ผดิ ให้คาแนะนาเพ่มิ เติม พร้อมทังสังเกตพฤติกรรมการให้เหตผุ ลของนักเรยี น โดยการ ตังคาถามกระตนุ้ ความคิดของนกั เรยี น - การอ่านจบั ใจความสาคัญคืออะไร (พิจารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยให้อย่ใู นดุลยพินจิ ของครผู ้สู อน) - หลกั การอ่านจับใจความสาคัญมีอะไรบา้ ง (พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยให้อยู่ในดลุ ยพินจิ ของครผู ู้สอน) ๒. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นไดซ้ ักถามขอ้ สงสัย ๗. สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ ๑. สื่อ PowerPoint เรอ่ื ง การอ่านจบั ใจความสาคัญ ๒. แบบฝกึ หดั ท่ี ๔ เร่อื ง การอ่านจับใจความสาคญั บทความ ๓. แบบฝึกหดั ที่ ๕ เรือ่ ง การอา่ นจบั ใจความบทเพลง ๔. เพลง รปู ท่ีมที ุกบ้าน ศิลปิน ธงไชย แมคอินไตย์ ๘. การวดั ผลและประเมินผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธีการวัด เคร่ืองมือวัด เกณฑ์การประเมิน ๑.นกั เรียนบอกหลักการ สงั เกตการตอบคาถาม แบบสังเกตการตอบ ทาคะแนนผ่านตังแต่ ๓ อา่ นจับใจความจากเร่ืองที่ คาถาม ระดับขึนไปถือวา่ ผา่ น อา่ นได้ถกู ต้อง (K) ตรวจแบบฝกึ หัด แบบประเมินแบบฝกึ หัด ทาคะแนนผา่ นตงั แต่ ๓ ๒. นกั เรยี นสามารถจับ สงั เกตการมีมารยาท ระดับขนึ ไปถือว่าผา่ น ใจความจากเร่ืองท่ีอ่านได้ ในการอ่าน ถูกต้อง (P) แบบสังเกตการมมี ารยาท ทาคะแนนผ่านตังแต่ ๓ ๓.นักเรียนมมี ารยาทในการ อ่าน (A) ในการอ่าน ระดับขนึ ไปถือว่าผ่าน
เกณฑ์การประเมินผล (รบู ริกส)์ ระดบั คุณภาพ ประเด็นการประเมนิ (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ ๑.นกั เรียนบอก - ตอบคาถามได้ถกู ต้อง - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ หลกั การอ่านจบั ชดั เจน แสดงเหตผุ ลใน ถูกต้อง ถกู ต้อง - ไม่แสดงเหตผุ ล ใจความจากเร่ืองท่ี การตอบคาถามได้ - แสดงเหตผุ ลในการ - แสดงเหตุผลในการ ในการตอบ อ่านได้ถกู ต้อง (K) ชดั เจน ตอบคาถามไดช้ ัดเจน ตอบคาถามได้ คาถาม - ตอบคาถามได้อย่าง - ตอบคาถามได้อย่าง ต่อเนอ่ื งครบถว้ น ต่อเนอื่ งครบถว้ น - ตอบคาถามได้สัมพันธ์ กบั หัวขอ้ ที่กาหนด ๒. นกั เรียนสามารถ - วิเคราะห์โครงเรอ่ื งฉาก - วิเคราะห์โครงเรอ่ื ง - วเิ คราะห์โครงเรอ่ื ง - วิเคราะหโ์ ครง จบั ใจความจากเรื่อง และแก่นเร่ืองได้ถูกต้อง ฉาก และแกน่ เรื่องได้ และฉาก ได้ เรอ่ื งและฉากได้ ที่อ่านได้ (P) - วิเคราะห์ตัวละครทุกตวั ถกู ต้อง วเิ คราะหต์ ัว - แตย่ ังวเิ คราะห์ - แต่ยังวเิ คราะห์ ได้ละเอยี ดทุกแง่มุม ละครทุกตวั ไดถ้ ูกต้อง แกน่ เรอ่ื งไม่ตรงนัก โครงเร่ืองและ - ยกตัวอย่าง - ยกตัวอยา่ งประกอบ วเิ คราะห์แก่นเรอื่ ง ประกอบชัดเจน ชดั เจน ไมช่ ดั เจน - แต่วเิ คราะหเ์ ฉพาะ ลกั ษณะนิสยั ที่เด่นชดั เทา่ นนั ๓. นักเรียนมีมารยาท - อา่ นในใจ ไม่อา่ นเสยี ง - อา่ นในใจ ไม่อ่าน - อ่านในใจ สง่ เสียง - อ่านในใจเป็น ในการอ่าน (A) ดงั รบกวนผูอ้ ืน่ เสยี งดังรบกวนผู้อ่นื ดังรบกวนผูอ้ ืน่ บางครงั - หยบิ จับ หรอื เปิด - นัง่ อา่ นในท่าทาง เล็กนอ้ ย - แตส่ ่งเสยี งดงั หนงั สอื อย่างเบามือ สบาย ตวั ตรง ทา่ ทาง - นง่ั อ่านในท่าทาง รบกวนผอู้ น่ื ไม่ สุภาพ สบาย ของตวั เอง ค่อยอยู่กบั ที่
แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ ๖ ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๑๗ ช่วั โมง กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลา ๑ ช่วั โมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่ือง การอา่ นเพอ่ื พัฒนาชีวิต แผนการเรียนรูท้ ่ี ๕ เรอ่ื ง การอ่านจับใจความจากเร่ืองท่ีอา่ น ผสู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคดิ เพ่อื นาไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปัญหาในการ ดาเนินชีวิต และมีนิสยั รกั การอ่าน ๒.ตวั ชีว้ ัด ท ๑.๑ ม. ๓/๓ ระบุใจความสาคัญและรายละเอยี ดของข้อมูลท่สี นบั สนนุ จากเร่ืองที่อ่าน ๓. สาระสาคัญ การอา่ นเพื่อจบั ใจความสาคญั เปน็ พนื ฐานทีจ่ าเป็นในการศึกษาหาความรู้ จึงควรฝกึ ฝนให้เกดิ ความชานาญจนสามารถจบั ใจความสาคัญในงานเขยี นทุกประเภท ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูส้ ตู่ ัวชว้ี ดั ๑. นักเรียนอธิบายหลกั การอ่านจบั ใจความจากเร่อื งที่อ่านไดถ้ กู ต้อง (K) ๒. นักเรยี นสามารถจับใจความจากเรือ่ งท่ีอ่านได้ถกู ต้อง (P) ๓. นักเรียนมีมารยาทในการอ่าน (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ ๑. การอ่านจับใจความ ๖. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขนั้ ที่ ๑ ขัน้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น ๑. ครสู นทนารว่ มกันกบั นกั เรียนถึงการเรียนในชว่ั โมงที่แลว้ ๒. ถามนักเรยี นว่า “คากล่าวทคี่ นไทยท่วั ไปมักพดู กันจนติดปาก เมอื่ ทาอะไรไปแล้วไมไ่ ดด้ ังประสงค์ หรือเมอื่ มีใครทาไมด่ ตี ่อเรา คือคาว่าอะไร” (คาตอบคือคาวา่ “ไมเ่ ป็นไร”) ๓. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรยี นรู้ ให้นกั เรียนทราบ และเชื่อมโยงเข้าส่บู ทเรยี น เร่อื ง อะไรๆ กไ็ มเ่ ป็นไร ขั้นที่ ๒ ข้นั สอน ๑. ครูและนักเรียนสนทนาเรื่อง หลักการอา่ นจับใจความสาคัญ เพื่อเป็นการทบทวนความรู้จากการ เรียนช่วั โมงที่ผา่ นมา ครสู งั เกตการตอบคาถามของนักเรยี น เพอ่ื ประเมนิ ความรู้ของนักเรียน
๒. ให้นักเรยี นอ่านในใจ เร่อื ง อะไร ๆ ก็ “ไม่เปน็ ไร” จากหนงั สอื วิวธิ ภาษา หนา้ ๑ – ๓ แล้วให้ นกั เรยี นจบั ใจความสาคญั ของเรือ่ ง ๓. นักเรียนและครูรว่ มกนั สนทนา ใจความสาคัญท่ีปรากฏในเร่ือง อะไร ๆ ก็ “ไม่เปน็ ไร” ๔. นกั เรียนทาแบบฝกึ หดั ท่ี ๖ เรื่อง อะไร ๆ ก็ “ ไม่เป็นไร ” ข้ันที่ ๓ ข้นั สรปุ ๑. นักเรยี นและครูชว่ ยกันสรปุ เร่ืององค์ความรู้ ดงั นี - ขอ้ คิดท่ีไดจ้ ากเรือ่ ง อะไร ๆ ก็ “ไม่เป็นไร” - หลักการอา่ นจบั ใจความสาคญั จากเรื่องที่อ่านเป็นอย่างไร ๒. เปิดโอกาสให้นักเรียนไดซ้ ักถามขอ้ สงสัย ๗. สอ่ื และแหล่งการเรยี นรู้ ๑. หนงั สือเรยี นวิวธิ ภาษา ชนั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ๒. แบบฝึกหดั ที่ ๖ เรอื่ ง อะไร ๆ ก็ “ไม่เปน็ ไร” ๓. ส่ือ PowerPoint เรื่อง การอ่านจับใจความสาคัญ ๘. การวัดผลและประเมนิ ผล วธิ กี ารวดั เครื่องมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ แบบสังเกตการตอบ ทาคะแนนผ่านตงั แต่ ๓ ๑. นักเรียนอธิบาย สงั เกตการตอบคาถาม คาถาม ระดับขึนไปถือว่าผา่ น หลกั การอ่านจบั ใจความ จากเรอื่ งทอ่ี ่านได้ถกู ต้อง ตรวจผลงานนักเรยี น แบบประเมนิ ตรวจผลงาน ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ (K) สังเกตการมมี ารยาท นกั เรียน ระดบั ขนึ ไปถือวา่ ผ่าน ๒. นักเรยี นสามารถจับ ในการอ่าน ใจความจากเรื่องท่ีอา่ นได้ แบบสงั เกตการมีมารยาท ทาคะแนนผา่ นตงั แต่ ๓ ถูกต้อง (P) ในการอ่าน ระดบั ขนึ ไปถือว่าผา่ น ๓.นักเรยี นมมี ารยาทในการ อา่ น (A)
เกณฑ์การประเมินผล (รบู ริกส)์ ระดบั คุณภาพ ประเด็นการประเมนิ (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ ๑.นกั เรียนบอก - ตอบคาถามได้ถกู ต้อง - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ หลกั การอ่านจบั ชดั เจน แสดงเหตผุ ลใน ถูกต้อง ถกู ต้อง - ไม่แสดงเหตผุ ล ใจความจากเร่ืองท่ี การตอบคาถามได้ - แสดงเหตผุ ลในการ - แสดงเหตุผลในการ ในการตอบ อ่านได้ถกู ต้อง (K) ชดั เจน ตอบคาถามได้ชัดเจน ตอบคาถามได้ คาถาม - ตอบคาถามได้อย่าง - ตอบคาถามได้อย่าง ต่อเนอ่ื งครบถว้ น ต่อเนือ่ งครบถว้ น - ตอบคาถามได้สัมพันธ์ กบั หัวขอ้ ที่กาหนด ๒. นกั เรียนสามารถ - วิเคราะห์โครงเรอ่ื งฉาก - วิเคราะห์โครงเรอ่ื ง - วเิ คราะห์โครงเรอ่ื ง - วิเคราะหโ์ ครง จบั ใจความจากเรื่อง และแก่นเร่ืองได้ถูกต้อง ฉาก และแก่นเรื่องได้ และฉาก ได้ เรอ่ื งและฉากได้ ที่อ่านได้ (P) - วิเคราะห์ตัวละครทุกตวั ถกู ต้อง วเิ คราะหต์ ัว - แตย่ ังวเิ คราะห์ - แต่ยังวเิ คราะห์ ได้ละเอยี ดทุกแง่มุม ละครทุกตัวได้ถูกต้อง แกน่ เรอ่ื งไม่ตรงนัก โครงเร่ืองและ - ยกตัวอย่าง - ยกตวั อย่างประกอบ วเิ คราะห์แก่นเรอื่ ง ประกอบชัดเจน ชดั เจน ไมช่ ดั เจน - แต่วิเคราะหเ์ ฉพาะ ลกั ษณะนสิ ัยทเี่ ด่นชดั เทา่ นัน ๓. นักเรียนมีมารยาท - อา่ นในใจ ไม่อ่านเสยี ง - อ่านในใจ ไม่อ่าน - อ่านในใจ สง่ เสียง - อ่านในใจเป็น ในการอ่าน (A) ดงั รบกวนผูอ้ ืน่ เสียงดังรบกวนผู้อ่นื ดังรบกวนผูอ้ ืน่ บางครงั - หยบิ จับ หรอื เปิด - นง่ั อา่ นในท่าทาง เล็กนอ้ ย - แตส่ ง่ เสียงดงั หนงั สอื อย่างเบามือ สบาย ตัวตรง ทา่ ทาง - นง่ั อ่านในท่าทาง รบกวนผอู้ น่ื ไม่ สุภาพ สบาย ของตวั เอง ค่อยอยู่กบั ที่
แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๗ ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๑๗ ชวั่ โมง กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ เวลา ๑ ชวั่ โมง หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑ เร่ือง การอา่ นเพื่อพฒั นาชีวิต แผนการเรียนรทู้ ี่ ๖ เรื่อง สานวนชวนคดิ ผูส้ อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลยี่ นแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัตขิ องชาติ ๒.ตวั ชว้ี ดั ท ๔.๑ ม.๓/๓ วิเคราะห์ระดับภาษา ๓. สาระสาคัญ สานวน คาพงั เพย และสภุ าษิตท่ใี ช้ในชีวติ ประจาวนั ของสงั คมไทย แสดงให้เหน็ วา่ คนไทยเปน็ คนช่าง สงั เกตและหลีกเลีย่ งการพดู ตรงๆ ดงั นนั การใชส้ านวนควรใช้ใหถ้ กู ต้องและตรงกับความหมายของสานวน นันๆ ๔. จุดประสงคก์ ารเรยี นรูส้ ตู่ วั ช้ีวดั ๑. นักเรียนบอกความหมายของสานวนทก่ี าหนดใหไ้ ด้ถกู ต้อง (K) ๒. นกั เรยี นสามารถนาสานวนทีก่ าหนดให้มาแต่งประโยคให้ถูกต้องตามบริบทได้(P) ๓. นกั เรียนมีความสนใจใฝ่เรียนรู้ (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ ๑. สานวนและความหมาย ๖. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั ที่ ๑ ข้ันนาเข้าสู่บทเรยี น ๑. ครกู ลา่ วทกั ทาย สรา้ งบรรยากาศในห้องเรยี นเพื่อเตรยี มความพร้อมก่อนเรม่ิ การเรยี นการสอน ๒. ครนู ารูปภาพสานวนต่อไปนมี าให้นกั เรียนทาย (จบั ปลาสองมือ จบั ปใู ส่กระด้ง จับแพะ ชนแกะ) พร้อมทงั สนทนากบั นักเรียน ว่ารปู ภาพนีหมายถงึ สานวนใด และมคี วามหมายว่าอย่างไร ๓. ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ ใหน้ ักเรยี นทราบ และเช่ือมโยงเข้าสบู่ ทเรยี น ข้นั ท่ี ๒ ขัน้ สอน ๑. นกั เรยี นศกึ ษาจากใบความรเู้ รอื่ ง สานวน ที่ครูแจกให้ ๒. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กลมุ่ ละ ๔-๕ คน ใหแ้ ต่ละกลมุ่ หาสานวนท่ีขึนต้นด้วยคาต่อไปนี พร้อมทงั บอก ความหมายของสานวนนัน และใชส้ านวนนันๆ มาแต่งประโยค ( แบบฝกึ หดั ท่ี ๗) ดงั ตวั อยา่ งต่อไปนี
จับปลาสองมือ หมายถงึ จะเอาให้ได้ทัง ๒ อย่าง, เสยี งทา ๒ อย่างพร้อมๆกนั ซ่ึงอาจไม่ สาเร็จทัง ๒ อยา่ ง ตวั อยา่ ง ทเ่ี ขาโดนแฟนบอกเลิกก็สมควรแล้ว ทาเปน็ จบั ปลาสองมือ คบ หญงิ อื่นไปดว้ ยสุดท้ายก็ไม่ได้สักคน จับแพะชนแกะ หมายถึง ทาอย่างขอไปที ไม่ได้อย่างนีกเ็ อาอย่างนันเข้าแทนเพอ่ื ให้ลลุ ่วงไป ตวั อยา่ ง คนเขียนข่าวจากสานักพมิ พ์ ก.ไก่ ชอบเขยี นแบบจับแพะชนแกะ เขยี นแบบมั่วๆ ไม่ตรวจสอบทาให้ข่าวไม่นา่ เชื่อถอื กลมุ่ ที่ ๑ หาสานวนที่ขนึ ต้นด้วยคาวา่ กนิ กล่มุ ท่ี ๒ หาสานวนทข่ี นึ ต้นด้วยคาว่า เข้า กลมุ่ ท่ี ๓ หาสานวนทข่ี นึ ตน้ ด้วยคาวา่ ตี กลุ่มที่ ๔ หาสานวนท่ขี ึนต้นด้วยคาวา่ นา กลมุ่ ท่ี ๕ หาสานวนที่ขึนต้นด้วยคาว่า ไม่ กลมุ่ ที่ ๖ หาสานวนทข่ี นึ ต้นด้วยคาวา่ รู้ ๓. ให้แต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนกลุ่มออกมานาเสนอผลงานของกลมุ่ ข้ันท่ี ๓ ข้ันสรุป ๑. ครูและนกั เรยี นสรุปความรูท้ ีไ่ ดเ้ รียนในช่ัวโมงนี - สานวน หมายถึงอะไร - หลกั การใชส้ านวน คอื อะไร ยกตัวอย่าง ๒-๓ สานวน ๒. เปดิ โอกาสให้นกั เรียนได้ซักถามขอ้ สงสยั ๗. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. รปู ภาพสานวน ๒. ใบความรเู้ รื่อง สานวน ๓. สอื่ PowerPoint เรอ่ื ง สานวน ๔. แบบฝึกหดั ท่ี ๗ เร่ือง สานวนชวนคิด ๘. การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวัด เครื่องมือวดั เกณฑ์การประเมนิ ตรวจผลงานนักเรยี น ๑. นักเรียนบอก ตรวจผลงานนกั เรียน แบบประเมนิ ตรวจผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ขนึ ไป ความหมายของสานวนท่ี นกั เรียน กาหนดใหไ้ ด้ถกู ตอ้ ง (K) สงั เกตความใฝเ่ รยี นรู้ แบบประเมินตรวจผลงาน ระดับคุณภาพ ๒ ขนึ ไป ๒. นักเรยี นสามารถนา นกั เรยี น สานวนทก่ี าหนดใหม้ าแต่ง ประโยคให้ถูกตอ้ งตาม แบบสงั เกตสงั เกตความใฝ่ ระดบั คุณภาพ ๒ ขึนไป บรบิ ทได้(P) เรยี นรู้ ๓. นักเรยี นมีความสนใจใฝ่ เรยี นรู้ (A)
เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู ริกส์) ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ การประเมิน (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ ๑. นกั เรียนบอก นกั เรยี นตอบ ความหมายของ นกั เรียนตอบคาถามได้ นักเรียนตอบคาถาม นักเรยี นตอบ คาถามได้ ไม่แสดง สานวนท่กี าหนดให้ เหตผุ ลในการตอบ ได้ถูกตอ้ ง (K) ถกู ต้องชดั เจน แสดง ได้ถูกต้อง คาถามได้ถูกต้อง คาถาม ๒. นักเรียนสามารถ เหตผุ ลในการตอบ แสดงเหตผุ ลในการ แสดงเหตุผลในการ นักเรยี นนาสานวน นาสานวนท่ี มาแต่งไดไ้ มต่ รงตาม กาหนดใหม้ าแตง่ คาถามไดช้ ดั เจน ตอบ ตอบคาถามได้ชัดเจน ตอบคาถามได้ บริบทของสานวน ประโยคใหถ้ ูกตอ้ ง ตามบรบิ ทได้(P) คาถามได้อย่างต่อเนือ่ ง ตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง ไมต่ ังใจเรยี น ไม่ ๓. นกั เรยี นมคี วาม สนใจร่วมกิจกรรม สนใจใฝ่เรียนรู้ (A) ครบถว้ น ตอ่ เนื่องครบถ้วน มักจะชวนเพ่ือนคยุ เลน่ อย่เู สมอ ตอบคาถามไดส้ มั พนั ธ์ กับหวั ข้อท่ีกาหนด นักเรียนนาสานวนมาแต่ง นกั เรยี นนาสานวนมา นกั เรียนนาสานวน ไดถ้ ูกตอ้ งทงั หมด ตาม แตง่ ได้ถูกต้องตรงตาม มาแต่งถูกต้องตาม บริบทของสานวน บริบทของสานวน บรบิ ทของสานวน บา้ ง มีความตังใจใฝ่รดู้ ีมาก มีความตงั ใจดี ถาม มคี วามตงั ใจดี ถาม จะคอยถามเมอื่ ไม่เข้าใจ บา้ งเปน็ บางครัง บา้ งเปน็ บางครัง รว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ ร่วมกจิ กรรมดี ร่วมกจิ กรรมดี คยุ เปน็ อย่างดี เลน่ กับเพื่อนบ้าง
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๘ ภาคเรียนท่ี ๑ จานวน ๑๗ ชัว่ โมง กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ เวลา ๑ ชว่ั โมง หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ เร่ือง การอา่ นเพอื่ พัฒนาชีวติ แผนการเรียนรทู้ ่ี ๗ เรอื่ ง หลักการอา่ นวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และประเมนิ เรอ่ื งท่อี า่ น ผ้สู อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสรา้ งความรู้และความคดิ เพอ่ื นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการ ดาเนินชีวติ และมีนิสยั รักการอ่าน ๒.ตวั ชว้ี ดั ท ๑.๑ ม. ๓/๕ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และประเมินเรื่องท่ีอ่านโดยใช้กลวธิ ีการเปรียบเทียบ เพ่อื ให้ผู้อา่ น เขา้ ใจได้ดขี ึน ๓. สาระสาคัญ การอา่ นเพื่อวเิ คราะห์วจิ ารณเ์ ปน็ การอ่านที่ตอ้ งใช้ทกั ษะหลายด้าน เพอื่ วเิ คราะหว์ ิจารณ์และประเมนิ ค่าเร่ืองท่อี ่าน ทงั นคี วรมีการพจิ ารณาเรื่องท่ีอา่ นอย่างละเอยี ด มีเหตุผลในการประเมิน และนาความรู้ ความคิดไปใช้ในการดาเนินชวี ติ ได้ ๔. จุดประสงคก์ ารเรยี นรูส้ ตู่ วั ช้วี ัด ๑. นกั เรยี นอธิบายหลกั การอ่านวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ เรื่องทอี่ ่านได้ถูกต้อง (K) ๒. นกั เรยี นเขยี นหลักการอา่ นวเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมินเร่อื งท่ีอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง (P) ๓. นักเรียนมีมารยาทในการอ่าน (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ ๑. อธิบายความหมายของการวิเคราะห์ การวจิ ารณ์ ประเมินค่า ๒. มคี วามรคู้ วามเข้าใจและมีทักษะการอ่านวเิ คราะห์ การวจิ ารณ์ ประเมินคา่ ๖. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ ที่ ๑ ขัน้ นาเขา้ ส่บู ทเรยี น ๑. ครกู ลา่ วทักทายนักเรยี นพร้อมดูวดี ที ัศนเ์ รอื่ ง ความรักทีไ่ มเ่ คยมองเหน็ (AIA) และร่วมกนั แสดง ความคิดเห็นจากเรอื่ งทด่ี ู ๒. ครแู จง้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ใหน้ กั เรียนทราบ และเช่ือมโยงเข้าสู่บทเรียน ข้นั ที่ ๒ ขั้นสอน
๑. ครูให้นักเรยี นช่วยกนั ยกตัวอยา่ งงานเขียนเร่อื งทีน่ ักเรยี นช่นื ชอบ แลว้ ใหน้ กั เรียนแสดงความ คิดเหน็ ในประเดน็ ต่อไปนี - เพราะเหตใุ ด นักเรยี นจงึ ชนื่ ชอบงานเขยี นเร่ืองดังกลา่ ว - งานเขยี นเร่ืองดังกล่าวมีจุดเดน่ และจดุ ด้อยอยา่ งไรบ้าง ๒. นักเรียนศึกษาเรื่อง การอ่านวเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ เรอื่ งที่อ่าน จากใบความรู้ทค่ี รูแจกให้ พร้อมยกตัวอยา่ งประกอบเห็นภาพชัดเจน - ความหมาย - ขันตอนการวิเคราะห์วิจารณ์ - หลกั การวเิ คราะห์วิจารณ์ ๓. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด • การวิจารณห์ นังสอื เปน็ ผลดีอยา่ งไรตอ่ ผู้เขียนหนังสือ (พิจารณาตามคาตอบของนกั เรียน โดยใหอ้ ยู่ในดลุ ยพนิ จิ ของครูผ้สู อน) ๔. นักเรยี นสรปุ ความรู้เรื่อง การอา่ นวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมินเร่อื งทอี่ ่าน โดยใหเ้ ขยี นเป็น แผนผงั ความคิด ออกแบบตามอธั ยาศยั (แบบฝึกหัดท่ี ๘) ขนั้ ที่ ๓ ขนั้ สรุป ๑. ให้นกั เรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ เร่ือง การวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินค่าของเรื่องที่อา่ น เป็นพนื ฐานท่ีจาเป็นในการศึกษาหาความรู้ จงึ ควรฝกึ ฝนใหเ้ กิดความชานาญจนสามารถจับใจความสาคัญใน งานเขยี นทุกประเภท ๒. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นไดซ้ ักถามขอ้ สงสยั ๗. สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ ๑. วิดที ัศน์ เรอื่ ง .................... ๒. แบบฝึกหัดท่ี ๘ เรือ่ ง การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมินคา่ เรือ่ งท่ีอ่าน ๓. สือ่ PowerPoint เรือ่ ง การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมนิ คา่ เร่ืองท่ีอ่าน ๔. ใบความรเู้ รือ่ ง การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมนิ ค่าเรือ่ งที่อ่าน
๘. การวดั ผลและประเมินผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวดั เคร่อื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมิน ตรวจชนิ งาน แบบประเมนิ ชินงาน ๑. นกั เรยี นอธิบายหลักการอ่าน ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมิน ตรวจชนิ งาน ระดบั ขึนไปถือวา่ ผา่ น เรอื่ งท่ีอา่ นได้ถูกต้อง (K) สงั เกตการมีมารยาท แบบประเมินชินงาน ทาคะแนนผ่านตงั แต่ ๓ ๒. นักเรียนเขียนหลกั การอ่าน ในการอ่าน ระดับขึนไปถือว่าผา่ น วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และประเมิน แบบสังเกตมีมารยาท เร่ืองท่ีอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง (P) ในการอ่าน ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ ๓. นกั เรยี นมมี ารยาทในการ ระดบั ขนึ ไปถือว่าผา่ น อา่ น(A)
เกณฑก์ ารประเมินผล (รูบรกิ ส์) ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดับคุณภาพ (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ ๑. นักเรียนอธบิ าย - อธบิ ายหลักการ - อธิบายหลกั การ - อธบิ าย - อธบิ าย หลกั การอา่ น อา่ นวเิ คราะห์ อ่านวิเคราะห์ หลกั การอ่าน หลักการอ่าน วิเคราะห์ วจิ ารณ์ วจิ ารณ์ และประเมิน วจิ ารณ์ และ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ วิเคราะห์ และประเมินคา่ เร่ือง เรื่องท่ีอ่านได้ถกู ต้อง ประเมนิ เรื่องที่อ่าน และประเมนิ เร่ือง วจิ ารณ์ และ ท่อี ่านได้ถูกต้อง (K) สมบูรณ์ ไดเ้ ปน็ ส่วนใหญ่ ท่ีอา่ นได้ไมค่ ่อย ประเมินเร่ืองที่ ถูกต้อง อา่ นไม่ได้ ๒. นักเรยี นเขยี น - เขยี นหลักอ่าน - เขยี นหลักอ่าน - เขียนหลกั อา่ น - เขียนหลักอา่ น หลักการอา่ น วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ วเิ คราะห์ วิเคราะห์ วิจารณ์ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ เรือ่ ง วิจารณ์ และ และประเมนิ ค่าเร่ือง ทอ่ี ่านได้ ประเมินเรื่องที่ ทอี่ ่านได้ถูกตอ้ ง (P) และประเมนิ เรื่องที่ และประเมนิ เรอื่ งที่ - เสนอแนวคดิ อ่านไมไ่ ด้ แปลกใหม่ - ทางานเสรจ็ ๓. นักเรียนมี อ่านได้ถูกต้อง มี อา่ นได้ นา่ สนใจและ ไม่ตรงตามเวลา มารยาทในการอ่าน สร้างทางเลอื กได้ ท่ีกาหนด (A) ความคดิ ริเรมิ่ - สะอาดเรียบรอ้ ย หลายทาง - อา่ นในใจเป็น สร้างสรรค์ - ทางานเสร็จตาม - อา่ นในใจ สง่ บางครัง เสยี งดงั รบกวน - แต่ส่งเสียงดงั - สะอาดเรียบรอ้ ย เวลาทกี่ าหนด ผู้อ่ืนเลก็ นอ้ ย รบกวนผ้อู ืน่ ไม่ - น่งั อา่ นใน คอ่ ยอยกู่ บั ที่ - ทางานเสร็จตาม - เสนอแนวคดิ ทา่ ทางสบาย ของตวั เอง เวลาที่กาหนด แปลกใหม่ น่าสนใจ - เสนอแนวคดิ แปลก และสร้างทางเลือก ใหม่ น่าสนใจและสร้าง ไดห้ ลายทาง ทางเลอื กได้หลายทาง - อ่านในใจ ไม่อ่าน - อา่ นในใจ ไม่อา่ น เสยี งดงั รบกวนผอู้ ่ืน เสียงดงั รบกวนผูอ้ ่นื - หยบิ จบั หรอื เปดิ - น่ังอา่ นในทา่ ทาง หนงั สืออยา่ งเบามือ สบาย ตัวตรง - น่ังอ่านในทา่ ทาง ทา่ ทางสภุ าพ สบาย ตวั ตรง ท่าทาง สภุ าพ
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๙ ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๗ ชัว่ โมง กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๓ เวลา ๑ ชัว่ โมง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๑ เร่ือง การอา่ นเพื่อพฒั นาชีวติ แผนการเรียนรู้ท่ี ๘ เรอื่ ง วจิ ารณเ์ ปน็ เหน็ คุณคา่ ผู้สอน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความรแู้ ละความคดิ เพอื่ นาไปใชต้ ดั สนิ ใจ แก้ปัญหาในการ ดาเนนิ ชวี ิต และมีนิสยั รกั การอา่ น ๒.ตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ม. ๓/๕ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมนิ เร่ืองท่ีอ่านโดยใชก้ ลวธิ ีการเปรยี บเทยี บ เพ่อื ให้ผู้อา่ น เข้าใจได้ดีขนึ ๓. สาระสาคญั การอา่ นเพื่อวิเคราะหว์ ิจารณเ์ ปน็ การอ่านที่ต้องใชท้ กั ษะหลายด้าน เพอ่ื วเิ คราะห์วจิ ารณ์และประเมิน คา่ เรื่องท่ีอา่ น ทงั นีควรมีการพิจารณาเร่ืองท่ีอา่ นอยา่ งละเอยี ด มเี หตุผลในการประเมนิ และนาความรู้ ความคิดไปใช้ในการดาเนนิ ชีวิตได้ ๔. จดุ ประสงค์การเรยี นรสู้ ่ตู วั ชวี้ ดั ๑. นักเรียนอธิบายหลักการอ่านวเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมินเรื่องท่อี า่ นได้ถูกต้อง (K) ๒. นกั เรยี นเขียนหลกั การอา่ นวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินเร่อื งท่ีอา่ นไดถ้ ูกต้อง (P) ๓. นกั เรยี นมมี ารยาทในการอ่าน (A) ๕. สาระการเรียนรู้ หลักการอ่านวเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมินค่าเรื่องท่อี า่ น ๖. กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นที่ ๑ ขนั้ นาเข้าสูบ่ ทเรียน ๑. ครกู ลา่ วทกั ทายนกั เรยี นพร้อมทบทวนเรือ่ งหลักการวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินค่า พร้อมให้ นักเรยี นการวเิ คราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ คา่ ๒ ภาพดงั ต่อไปนี
๒. ครแู จง้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ให้นกั เรยี นทราบ และเช่ือมโยงเขา้ สู่บทเรยี น ขั้นที่ ๒ ข้ันสอน ๑. ครูยกตวั อยา่ งเรอื่ งการวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ประเมินคา่ ของเรื่องสัน ให้นักเรียนสงั เกต และเข้าใจ โดยใหน้ ักเรยี นมีสว่ นร่วมดว้ ยในการวจิ ารณเ์ รอื่ งสนั ในครังนี และอธบิ ายประเดน็ ต่างๆ ดังนี ๑) รปู แบบ ๒) เนือเรื่อง ๓) ฉาก ๔) ตวั ละคร ๕) การดาเนนิ เรอื่ ง ๖) คณุ คา่ ๒. นกั เรียนตอบคาถามกระตุ้นความคิด • ถา้ นักเรยี นต้องการเป็นนักวจิ ารณ์ทด่ี คี วรปฏิบตั อิ ย่างไร (พจิ ารณาตามคาตอบของนกั เรยี น โดยให้อยูใ่ นดุลยพินิจของครูผู้สอน) ๓. นักเรียนอ่านเรื่องสันที่ตนเองสนใจคนละ ๑ เรื่อง โดยนาเร่อื งสันดังกล่าวมาวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และ ประเมินค่าตามประเดน็ ที่ครูกลา่ วไปขา้ งต้น (แบบฝกึ หดั ที่ ๙) ขั้นท่ี ๓ ขนั้ สรุป ๑. ใหน้ ักเรียนและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้ เรื่อง การอา่ นเพ่ือวิเคราะห์วิจารณ์เปน็ การอ่านทีต่ อ้ งใช้ ทักษะหลายดา้ น เพื่อวเิ คราะห์วิจารณ์และประเมินคา่ เร่ืองทอี่ ่าน ทงั นีควรมีการพิจารณาเรื่องที่อ่านอย่าง ละเอียด มีเหตผุ ลในการประเมนิ และนาความรู้ ความคดิ ไปใชใ้ นการดาเนินชวี ิตได้ ๒. เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นไดซ้ ักถามขอ้ สงสยั ๗. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. รปู ภาพ ๒. แบบฝกึ หดั ท่ี ๙ เร่ือง วิจารณเ์ ปน็ เห็นคุณคา่ ๓. สื่อ PowerPoint ตวั อย่างการวเิ คราะห์ วจิ ารณ์
๘. การวดั ผลและประเมินผล จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวดั เคร่อื งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมิน ตรวจชนิ งาน แบบประเมนิ ชินงาน ๑. นกั เรยี นอธิบายหลักการอ่าน ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และประเมิน ตรวจชนิ งาน ระดบั ขึนไปถือวา่ ผา่ น เรอื่ งท่ีอา่ นได้ถูกต้อง (K) สงั เกตการมีมารยาท แบบประเมินชินงาน ทาคะแนนผ่านตงั แต่ ๓ ๒. นักเรียนเขียนหลกั การอ่าน ในการอ่าน ระดับขึนไปถือว่าผา่ น วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และประเมิน แบบสังเกตมีมารยาท เร่ืองท่ีอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง (P) ในการอ่าน ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ ๓. นกั เรยี นมมี ารยาทในการ ระดบั ขนึ ไปถือว่าผา่ น อา่ น(A)
เกณฑก์ ารประเมินผล (รูบรกิ ส์) ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ (๑) ปรับปรงุ (๓) ดี (๒) พอใช้ ๑. นักเรียนอธบิ าย - อธบิ ายหลกั การ - อธิบายหลกั การ - อธิบายหลักการ - อธบิ าย หลกั การอา่ น อา่ นวเิ คราะห์ อา่ นวเิ คราะห์ อ่านวเิ คราะห์ หลักการอา่ น วิเคราะห์ วจิ ารณ์ วจิ ารณ์ และประเมิน วิจารณ์ และ วิจารณ์ และ วิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมินคา่ เร่ือง เรื่องท่ีอ่านไดถ้ ูกตอ้ ง ประเมินเร่ืองที่อ่าน ประเมินเรื่องที่อ่าน และประเมินเรือ่ ง ท่อี ่านได้ถูกต้อง (K) สมบูรณ์ ไดเ้ ปน็ สว่ นใหญ่ ไดไ้ มค่ ่อยถูกตอ้ ง ที่อา่ นไม่ได้ ๒. นักเรยี นเขยี น - เขยี นหลกั อา่ น - เขยี นหลกั อา่ น - เขียนหลักอ่าน - เขยี นหลกั อ่าน หลักการอา่ น วเิ คราะห์ วิจารณ์ วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ วิเคราะห์ วิจารณ์ วิเคราะห์ วิจารณ์ วิเคราะห์ วจิ ารณ์ และประเมนิ เรอื่ งที่ และประเมินเรอื่ ง และประเมนิ ค่าเร่ือง อ่านได้ ที่อา่ นไมไ่ ด้ ทอี่ ่านได้ถูกตอ้ ง (P) และประเมนิ เร่ืองที่ และประเมนิ เรื่องท่ี - เสนอแนวคดิ - ทางานเสรจ็ ไม่ แปลกใหม่ น่าสนใจ ตรงตามเวลาที่ ๓. นักเรียนมี อ่านได้ถกู ต้อง มี อ่านได้ และสร้างทางเลือก กาหนด มารยาทในการอ่าน ได้หลายทาง (A) ความคดิ ริเริม่ - สะอาดเรียบร้อย - อา่ นในใจเป็น - อ่านในใจ สง่ เสียง บางครงั สร้างสรรค์ - ทางานเสรจ็ ตาม ดังรบกวนผูอ้ ื่น - แต่ส่งเสยี งดัง เล็กน้อย รบกวนผู้อน่ื ไม่ - สะอาดเรยี บรอ้ ย เวลาที่กาหนด - นัง่ อา่ นในท่าทาง ค่อยอยู่กบั ท่ี สบาย ของตวั เอง - ทางานเสรจ็ ตาม - เสนอแนวคดิ เวลาที่กาหนด แปลกใหม่ นา่ สนใจ - เสนอแนวคิดแปลก และสร้างทางเลือก ใหม่ น่าสนใจและสรา้ ง ได้หลายทาง ทางเลอื กไดห้ ลายทาง - อ่านในใจ ไม่อา่ น - อ่านในใจ ไม่อ่าน เสยี งดงั รบกวนผ้อู ่นื เสยี งดงั รบกวนผู้อน่ื - หยบิ จับ หรือเปิด - นง่ั อ่านในทา่ ทาง หนงั สืออย่างเบามือ สบาย ตวั ตรง - น่ังอ่านในทา่ ทาง ท่าทางสุภาพ สบาย ตวั ตรง ท่าทาง สภุ าพ
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑๐ ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๗ ช่ัวโมง กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๓ เวลา ๑ ชว่ั โมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เร่ือง การอ่านเพ่ือพฒั นาชีวติ แผนการเรียนรู้ท่ี ๙ เรอื่ ง การแสดงความคิดเหน็ โตแ้ ยง้ ผู้สอน นางสาวจริ าพร กุลให้ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคิดเพอื่ นาไปใช้ตดั สินใจ แก้ปญั หาในการ ดาเนนิ ชวี ิต และมนี ิสยั รกั การอ่าน ๒.ตัวชวี้ ัด ท ๑.๑ ม. ๓/๘ วิเคราะหเ์ พื่อแสดงความคิดเหน็ โต้แย้งเกีย่ วกับเร่ืองท่ีอ่าน ๓. สาระสาคัญ การอา่ นจับใจความจากข่าวและเหตุการณ์สาคญั ผ้เู รียนต้องวิจารณ์ความสมเหตุสมผล การลาดับ ความและความเป็นไปได้ของเร่อื ง วิเคราะห์เพอื่ แสดงความคดิ เห็นโตแ้ ย้งเกยี่ วกับเร่อื งท่ีอา่ น ๔. จุดประสงคก์ ารเรียนร้สู ู่ตวั ช้ีวัด ๑. นักเรยี นอธิบายหลกั การแสดงความคดิ เห็นโต้แยง้ เกีย่ วกบั เรื่องทีอ่ า่ นได้ถูกต้อง (K) ๒. นกั เรยี นเขยี นแสดงความคิดเห็นโต้แย้งเกีย่ วกบั เร่ืองท่ีอ่านได้(P) ๓. นักเรียนมมี ารยาทในการอ่าน (A) ๕. สาระการเรียนรู้ การแสดงความคดิ เห็นโตแ้ ยง้ ๖. กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั ที่ ๑ ขั้นนาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๑. ครกู ลา่ วทักทายนกั เรยี น จากนันใหน้ กั เรียนนั่งสมาธิ ๕ นาที ๒. นักเรียนดูวดี ที ศั น์ เกีย่ วกบั การพยากรณ์อากาศ ของเดือนพฤษภาคม ๒๕๖๐ แล้วใหน้ กั เรยี น สังเกตรับรู้ และพิจารณาคา ข้อความจากเรอ่ื ง จากนันร่วมกันสรปุ ใจความสาคญั ๓. ครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ใหน้ ักเรียนทราบ และเช่ือมโยงเข้าสบู่ ทเรียน ขนั้ ท่ี ๒ ข้ันสอน ๑. นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลุ่มละ ๔ – ๕ คน จากนันครแู จกใบความรู้เรื่อง การเขียนโต้แย้ง ให้ นักเรียนช่วยกนั ศกึ ษา พร้อมครูอธิบายและยกตวั อย่างประกอบเพอื่ ให้นกั เรยี นเข้ามากยิ่งขึน ๒. นักเรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคดิ การโตแ้ ย้งเปน็ ผลดีหรอื ผลเสยี อยา่ งไรต่องานเขียน
(พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ย่ใู นดลุ ยพนิ ิจของครผู ้สู อน) ๓. ครูอธบิ ายให้นกั เรียนเข้าใจว่า การแสดงความคิดเห็นของแตล่ ะบุคคลมคี วามแตกต่างกันตาม พืนความร้แู ละประสบการณ์ซ่ึงสามารถฝึกฝนได้ แล้วครแู นะนาใหน้ กั เรียนฝึกฝนอย่างสม่าเสมอโดยเรม่ิ ต้น จากการอา่ น ๔. นักเรยี นอา่ นเร่อื งสันเร่ือง มดี ประจาตัว ของชาติ กอบจติ ติ จากนันครสู ุ่มเรียกนกั เรยี น ๒-๓ กลมุ่ ออกมาแสดงความคิดเห็นหน้าชนั เรียน แล้วใหน้ กั เรยี นท่มี ีความคดิ เหน็ แตกตา่ งกนั อภปิ รายเพ่ิมเตมิ ๕. นักเรียนแต่ละคนแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น ฟังความคิดเห็นที่แตกต่างจากความเห็นของตน ได้ฟังและตอบคาถามตามความคิดเหน็ ท่ีแตกต่างกัน เนน้ การปรบั เปลยี่ นความคดิ อยา่ งมเี หตุผลไมใ่ ช้อารมณ์ หรอื ถอื ความคิดของตนเปน็ ใหญ่ ๖. นักเรียนทาแบบฝกึ หดั เร่ือง “หลกั การเขียนโต้แยง้ ” (แบบฝกึ หดั ที่ ๑๐) โดยใชเ้ วลาทาประมาณ ๑๐ นาที จากนันส่งครูตรวจ ขัน้ ท่ี ๓ ข้นั สรุป ๑. ให้นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสรุปความรู้ เรื่อง การแสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้ - หลักการ ขันตอน และข้อควรคานึงในการอา่ นเพือ่ แสดงความคดิ เห็นโตแ้ ย้งมอี ะไรบ้าง ๒. เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นไดซ้ ักถามขอ้ สงสัย ๗. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. วดิ ที ศั น์พยากรณ์อากาศ ๒. แบบฝกึ หัดที่ ๑๐ เร่ือง การแสดงความคดิ เห็นโต้แย้ง ๓. สอ่ื PowerPoint เร่อื ง การแสดงความคดิ เห็นโตแ้ ย้ง ๔. เนอื เรอ่ื ง มดี ประจาตวั ๘. การวัดผลและประเมนิ ผล วิธีการวดั เครื่องมือวัด เกณฑก์ ารประเมนิ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ตรวจผลงาน แบบประเมินผลงาน ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ ระดับขนึ ไปถือว่าผา่ น ๑.นักเรียนอธบิ ายหลกั การ ตรวจผลงาน แสดงความคดิ เห็นโต้แย้ง สังเกตการมีมารยาท แบบประเมินผลงาน ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ เก่ียวกับเร่อื งทีอ่ ่านได้ถูกต้อง ระดับขนึ ไปถือวา่ ผา่ น (K) ในการอ่าน แบบสงั เกตมีมารยาท ๓. นกั เรยี นวิเคราะห์เพ่ือแสดง ในการอ่าน ทาคะแนนผ่านตงั แต่ ๓ ความคิดเห็นโตแ้ ยง้ เกยี่ วกบั ระดบั ขนึ ไปถือวา่ ผ่าน เร่ืองที่อา่ นได(้ P) ๓. นักเรียนมมี ารยาทในการ อา่ น(A)
เกณฑก์ ารประเมินผล (รบู รกิ ส์) ประเด็นการประเมนิ (๔) ดีมาก ระดับคณุ ภาพ (๑) ปรับปรงุ (๓) ดี (๒) พอใช้ - ตอบคาถามได้ ๑.นกั เรียนอธบิ าย - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ - ไมแ่ สดงเหตุผล หลกั การแสดงความ ถกู ต้องชัดเจน ถกู ต้อง ถูกต้อง ในการตอบคาถาม คิดเหน็ โต้แยง้ - แสดงเหตุผลในการ - แสดงเหตุผลใน - แสดงเหตุผลใน เกยี่ วกบั เรื่องที่อ่านได้ ตอบคาถามได้ชัดเจน การตอบคาถามได้ การตอบคาถามได้ - วเิ คราะห์และ ถกู ต้อง (K) - ตอบคาถามได้อย่าง ชดั เจน แสดงความคิดเห็น ต่อเนื่องครบถว้ น - ตอบคาถามได้ โตแ้ ย้งไดต้ รง ๓. นักเรยี นวิเคราะห์ - ตอบคาถามได้ อยา่ งต่อเน่อื ง ประเด็น เพอ่ื แสดงความ สมั พนั ธ์กบั หัวข้อที่ ครบถ้วน คดิ เห็นโต้แย้ง กาหนด - อา่ นในใจเปน็ เกี่ยวกับเร่อื งทอ่ี ่านได้ - วิเคราะห์และแสดง - วเิ คราะหแ์ ละ บางครัง (P) - วิเคราะหเ์ พื่อแสดง ความคดิ เหน็ โต้แยง้ แสดงความคดิ เห็น - แต่ส่งเสยี งดัง ๓. นกั เรียนมมี ารยาท ความคิดเห็นโต้แย้ง ได้ตรงประเดน็ ท่ี โต้แย้งได้ตรง รบกวนผอู้ น่ื ไม่ ในการอ่าน(A) เกย่ี วกบั เรื่องท่อี ่านได้ กาหนดสมเหตสุ มผล ประเดน็ ท่ีกาหนด คอ่ ยอยกู่ ับท่ี อยา่ งสมเหตุสมผล และสรา้ งสรรค์ สมเหตุสมผล - อ่านในใจ ไม่อ่าน - อ่านในใจ ส่ง - อ่านในใจ ไม่อ่าน เสยี งดังรบกวนผอู้ ่ืน เสยี งดังรบกวน เสียงดงั รบกวนผูอ้ น่ื - นั่งอ่านในท่าทาง ผู้อื่นเล็กน้อย - หยบิ จบั หรอื เปิด สบาย ตัวตรง - น่ังอ่านในท่าทาง หนงั สืออยา่ งเบามือ ทา่ ทางสภุ าพ สบาย ของตวั เอง - นง่ั อา่ นในทา่ ทาง สบาย ตวั ตรง ท่าทาง สภุ าพ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๑ ภาคเรียนท่ี ๑ จานวน ๑๗ ช่ัวโมง กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๑ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๑ เรื่อง การอ่านเพื่อพฒั นาชีวิต แผนการเรียนรู้ที่ ๑๐ เร่ือง การแสดงความคิดเหน็ จากการอ่าน ผู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคดิ เพ่ือนาไปใช้ตดั สินใจ แก้ปัญหาใน การดาเนนิ ชีวติ และมนี ิสัยรักการอา่ น ๒.ตวั ชวี้ ัด ท ๑.๑ ม. ๓/๘ วิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้ เกี่ยวกับเร่ืองท่ีอา่ น ๓. สาระสาคญั การอา่ นจบั ใจความจากขา่ วและเหตุการณส์ าคญั ผูเ้ รียนตอ้ งวิจารณ์ความสมเหตสุ มผล การลาดับ ความและความเปน็ ไปได้ของเรือ่ ง วเิ คราะห์เพอื่ แสดงความคดิ เหน็ โตแ้ ย้งเกี่ยวกบั เรอ่ื งท่ีอ่าน ๔. จดุ ประสงค์การเรยี นร้สู ่ตู วั ช้ีวัด ๑. นักเรยี นอธิบายหลักการแสดงความคิดเหน็ โต้แย้งเก่ียวกับเรื่องทอี่ า่ นได้ถูกต้อง (K) ๒. นกั เรียนเขยี นแสดงความคิดเหน็ โตแ้ ยง้ เก่ียวกับเร่ืองท่ีอา่ นได(้ P) ๓. นักเรียนมมี ารยาทในการอ่าน (A) ๕. สาระการเรียนรู้ การแสดงความคิดเห็นโต้แยง้ ๖. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ที่ ๑ ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรียน ๑. ครกู ลา่ วทักทายนักเรียน และทากิจกรรมเพ่อื เตรยี มความพร้อมก่อนเข้าส่บู ทเรียน ๒. ครูให้นักเรียนดูรูปภาพการโฆษณาขายครีม ท่ีครูฉายในสอื่ power point และให้นักเรียนแสดง ความคดิ เหน็ รว่ มกนั ๓. ครูแจง้ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ให้นกั เรยี นทราบ และเช่ือมโยงเข้าสบู่ ทเรียน ขัน้ ท่ี ๒ ขนั้ สอน ๑. ครทู บทวนความรู้เรอ่ื ง หลกั การแสดงความคิดเหน็ โต้แยง้ ในชว่ั โมงทผี่ ่านมา ครูสังเกตการตอบ คาถามของนักเรยี น เพอ่ื ประเมนิ ความรขู้ องนักเรยี น ๒. นกั เรียนอ่านเรอ่ื ง มองโฆษณาอย่างวรรณกรรม ในหนงั สอื เรียนภาษาไทย ววิ ิธภาษา ชัน มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ หนา้ ๑๒ –๑๔
๓. ใหน้ กั เรียนแสดงความคิดเหน็ จากเร่ืองวา่ เหน็ ด้วยหรือไม่ ที่เราควรมองโฆษณาอย่างวรรณกรรม (แบบฝกึ หัดที่ ๑๑) โฆษณาทาหนา้ ทเ่ี หมอื นวรรณกรรมในข้อใด /ลักษณะของโฆษณาที่ควรนับว่าเป็น วรรณกรรม ๔. ครสู ุ่มตวั อย่างนกั เรียน ๒-๓ คนออกมานาเสนอความคดิ เหน็ ของตวั เองให้เพ่ือนๆและครูฟัง ๕. นกั เรยี นแต่ละคนแลกเปล่ียนความคิดเหน็ ฟงั ความคิดเห็นท่ีแตกต่างจากความเห็นของตน ได้ ฟังและตอบคาถามตามความคิดเหน็ ทแี่ ตกตา่ งกนั เนน้ การปรับเปลยี่ นความคดิ อยา่ งมเี หตผุ ลไมใ่ ชอ้ ารมณ์หรอื ถือความคดิ ของตนเปน็ ใหญ่ ขั้นท่ี ๓ ขนั้ สรุป ๑. ให้นักเรียนและครรู ว่ มกนั สรปุ ความรู้ เรอ่ื ง การแสดงความคิดเห็นโตแ้ ยง้ - การรับฟงั ความคดิ เห็นของผู้อนื่ เป็นการทางานตามวิธใี ด (เปน็ การทางานตามหลัก ประชาธปิ ไตย) - ขอ้ คดิ จากเรอ่ื ง มองโฆษณาอย่างวรรณกรรม ๒. เปิดโอกาสให้นักเรยี นได้ซักถามขอ้ สงสยั ๗. สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ ๑. หนงั สือเรียนภาษาไทย วิวธิ ภาษา ชนั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๒. แบบฝึกหดั ที่ ๑๑ เรือ่ ง มองโฆษณาอย่างไรใหเ้ ป็นวรรณกรรม ๓. ส่ือ PowerPoint (รปู ภาพการเขียนคาโฆษณา) ๘. การวัดผลและประเมนิ ผล จุดประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีการวดั เคร่อื งมอื วดั เกณฑ์การประเมิน ๑.นกั เรียนอธิบายหลกั การ สงั เกตการตอบคาถาม แบบประเมนิ สังเกตการ ทาคะแนนผ่านตงั แต่ ๓ แสดงความคดิ เหน็ โต้แย้ง เก่ียวกับเร่อื งท่ีอ่านได้ถูกต้อง ตรวจผลงาน ตอบคาถาม ระดบั ขึนไปถือวา่ ผา่ น (K) สังเกตการมีมารยาท ๓. นักเรยี นวเิ คราะหเ์ พื่อแสดง แบบประเมนิ ผลงาน ทาคะแนนผ่านตงั แต่ ๓ ความคิดเห็นโต้แยง้ เกยี่ วกับ ในการอ่าน ระดับขึนไปถือวา่ ผา่ น เร่อื งท่ีอา่ นได้(P) แบบสังเกตมีมารยาท ๓. นักเรยี นมีมารยาทในการ ในการอ่าน ทาคะแนนผ่านตังแต่ ๓ อ่าน(A) ระดับขึนไปถือวา่ ผา่ น
เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู รกิ ส์) ประเด็นการประเมนิ (๔) ดีมาก ระดับคุณภาพ (๑) ปรับปรงุ (๓) ดี (๒) พอใช้ - ตอบคาถามได้ ๑.นักเรียนอธิบาย - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ - ไมแ่ สดงเหตุผล หลกั การแสดงความ ถกู ต้องชัดเจน ถกู ต้อง ถูกต้อง ในการตอบคาถาม คดิ เหน็ โตแ้ ย้ง - แสดงเหตุผลในการ - แสดงเหตผุ ลใน - แสดงเหตุผลใน เกย่ี วกับเรื่องที่อ่านได้ ตอบคาถามได้ชดั เจน การตอบคาถามได้ การตอบคาถามได้ - วเิ คราะห์และ ถูกต้อง (K) - ตอบคาถามได้อยา่ ง ชดั เจน แสดงความคิดเห็น ต่อเนื่องครบถว้ น - ตอบคาถามได้ โตแ้ ย้งไดต้ รง ๓. นกั เรยี นวเิ คราะห์ - ตอบคาถามได้ อย่างต่อเน่อื ง ประเด็น เพ่ือแสดงความ สมั พันธก์ บั หวั ข้อท่ี ครบถว้ น คิดเหน็ โต้แยง้ กาหนด - อา่ นในใจเปน็ เกีย่ วกับเรอื่ งท่ีอ่านได้ - วิเคราะห์และแสดง - วิเคราะหแ์ ละ บางครัง (P) - วเิ คราะห์เพอ่ื แสดง ความคดิ เหน็ โตแ้ ย้ง แสดงความคดิ เห็น - แต่ส่งเสยี งดัง ๓. นกั เรียนมมี ารยาท ความคดิ เหน็ โต้แยง้ ไดต้ รงประเดน็ ท่ี โตแ้ ย้งได้ตรง รบกวนผอู้ น่ื ไม่ ในการอ่าน(A) เก่ียวกบั เร่ืองที่อ่านได้ กาหนดสมเหตุสมผล ประเดน็ ท่ีกาหนด คอ่ ยอยกู่ ับท่ี อยา่ งสมเหตสุ มผล และสรา้ งสรรค์ สมเหตุสมผล - อ่านในใจ ไม่อา่ น - อ่านในใจ ส่ง - อ่านในใจ ไม่อา่ น เสียงดังรบกวนผูอ้ ่ืน เสียงดังรบกวน เสียงดงั รบกวนผูอ้ ่นื - นง่ั อา่ นในทา่ ทาง ผอู้ น่ื เล็กน้อย - หยบิ จับ หรือเปิด สบาย ตัวตรง - นง่ั อ่านในท่าทาง หนังสืออย่างเบามือ ท่าทางสภุ าพ สบาย ของตวั เอง - นง่ั อา่ นในทา่ ทาง สบาย ตัวตรง ท่าทาง สุภาพ
แผนการจดั การเรียนร้ทู ี่ ๑๒ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๓ ภาคเรยี นที่ ๑ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๑ เร่ือง การอ่านเพื่อพัฒนาชีวติ จานวน ๑๗ ช่วั โมง แผนการเรียนร้ทู ี่ ๑๑ เรื่อง แสดงความคิดเห็นจากเรือ่ งท่ีฟัง และดู เวลา ๑ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวจิราพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ การสรปุ ความจากการฟังและการดูสื่อจากเทคโนโลยีต่างๆ ต้องใช้ทักษะในการจับ ใจความสาคญั เร่ืองที่ฟงั และดู จับประเด็นสาคญั ของเรื่องทฟ่ี ังและดู แลว้ นามาจดบันทึกด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย กระชับ และชัดเจน ๒.ตวั ชว้ี ัด ท ๓.๑ ม. ๓/๑ แสดงความคิดเห็นและประเมินเรอ่ื งจากการฟงั และการดู ๓. สาระสาคัญ การสรุปความจากการฟงั และการดูสื่อจากเทคโนโลยตี า่ งๆ ตอ้ งใชท้ ักษะในการจบั ใจความสาคัญเรื่อง ท่ีฟงั และดู จบั ประเดน็ สาคญั ของเร่ืองที่ฟังและดู แลว้ นามาจดบนั ทึกด้วยภาษาท่ีเข้าใจง่าย กระชบั และ ชัดเจน ๔. จุดประสงคก์ ารเรียนร้สู ่ตู ัวชว้ี ัด ๑. นกั เรยี นบอกหลักการการสรุปความจากการฟงั และการดูได้ถูกต้อง (K) ๒. นักเรียนสามารถสรุปความ และประเมินเร่อื งจากการฟัง และการดูได้ถูกต้อง P) ๓. นักเรียนมีความรับผดิ ชอบในงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย (A) ๕. สาระการเรียนรู้ การแสดงความคิดเห็นและประเมนิ เรื่องจากการฟัง และการดู ๖. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นท่ี ๑ ขั้นนาเข้าส่บู ทเรยี น ๑. ครูกลา่ วทกั ทายนักเรยี น และทากจิ กรรมเพือ่ เตรียมความพร้อมก่อนเขา้ สูบ่ ทเรยี น ๒. ครูนาสนทนาถึงการรับข่าวสาร ข่าวบนั เทงิ ต่างๆ จากการฟงั และการดู สอื่ ที่มีช่องทางหลากหลาย เช่น โทรทศั น์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ ๓. ครแู จง้ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ใหน้ ักเรียนทราบ และเชื่อมโยงเขา้ สูบ่ ทเรียน ขน้ั ที่ ๒ ข้ันสอน ๑. ใหน้ ักเรยี นช่วยกนั เสนอแนะ วิธสี รปุ ความจากการฟังและการพดู ที่ครูแจกให้ นักเรยี นศกึ ษาใบ ความรู้ ๒. ให้นักเรียนชมวดี ิทศั น์โฆษณาจากเร่อื ง .........
๓. ครูเสนอแนะหลักการวิเคราะหว์ จิ ารณ์และประเมินคา่ เร่ืองท่ีฟัง และดอู ย่างง่ายๆ โดยใช้เทคนคิ PMI ซงึ่ ชว่ ยกระตุ้นการคิดหลายๆ แง่มุม ทังแงบ่ วก แง่ลบ เพอ่ื นาไปสู่การตัดสนิ ใจที่รอบคอบ เชน่ P Plus การคดิ ในแง่บวกถงึ เหตุผลในการกระทาของตวั ละคร สถานการณ์ ผลประโยชน์ คณุ คา่ M Minus การคดิ ในแง่ลบ ความไม่ดี โทษของสิ่งนัน ความไมเ่ ป็นประโยชน์ ความคิดดา้ นลบ I Interesting การศึกษาความคิดทังสองด้าน แล้วนามาศกึ ษาวเิ คราะห์ ประมวลความคิดทงั สอง ดา้ น แลว้ นามาวิเคราะห์ สรปุ ตดั สินใจ ๔. ให้นกั เรยี นเขยี นสรปุ สาระสาคัญของเรื่องทฟี่ ังและดู วิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมนิ ค่า ลงใน แบบฝึกหัดท่ี ๑๒ เรื่อง การแสดงความคิดเห็นจากการฟงั การดู ๕. ครสู ุ่มตวั แทนนักเรียน ๒-๓ คน ออกมานาเสนอผลงานของตวั เองใหเ้ พ่ือนๆฟัง ครูให้ ข้อเสนอแนะเพม่ิ เตมิ เป ขนั้ ท่ี ๓ ข้นั สรปุ ๑. ใหน้ ักเรียนและครรู ่วมกนั สรุปความรู้ เรอ่ื ง การแสดงความคดิ เห็นจากการฟัง การดู - การรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อื่นเป็นการทางานตามวิธีใด (เป็นการทางานตามหลัก ประชาธิปไตย) - ขอ้ คดิ จากเร่ือง มองโฆษณาอยา่ งวรรณกรรม ๒. เปิดโอกาสให้นกั เรียนไดซ้ ักถามขอ้ สงสยั ๗. สอ่ื และแหล่งการเรียนรู้ ๑. วดิ ีทศั นเ์ ร่ือง ...... ๒. แบบฝึกหดั ที่ ๑๒ เรอ่ื ง การแสดงความคิดเห็นจากการฟัง การดู ๓. ใบความรู้ เรอ่ื ง การแสดงความคดิ เหน็ จากการฟงั การดู ๘. การวัดผลและประเมนิ ผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวัด เคร่ืองมือวัด เกณฑ์การประเมนิ ๑. นักเรียนบอกหลกั การการ สงั เกตการตอบคาถาม แบบประเมนิ สังเกตการ ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ สรปุ ความจากการฟงั และการดู ตอบคาถาม ระดบั ขนึ ไปถือวา่ ผา่ น ได้ถูกต้อง (K) ตรวจผลงาน แบบประเมนิ ผลงาน ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ ๒. นักเรยี นสามารถสรุปความ สงั เกตการมีความ ระดับขึนไปถือว่าผ่าน และประเมนิ เรอื่ งจากการฟงั รบั ผิดชอบในงานท่ีได้รบั แบบสังเกตมีความ และการดูได้ถูกต้อง P) รับผดิ ชอบในงานที่ได้รบั ทาคะแนนผา่ นตงั แต่ ๓ ๓. นกั เรียนมีความรบั ผดิ ชอบใน มอบหมาย ระดับขึนไปถือวา่ ผา่ น งานทีไ่ ด้รับมอบหมาย มอบหมาย (A)
เกณฑก์ ารประเมนิ ผล (รูบริกส)์ ประเด็นการประเมิน (๔) ดีมาก ระดับคุณภาพ (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง ๑. นกั เรยี นบอก - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ หลักการการสรุป ถูกต้องชดั เจน ถกู ต้อง ถกู ต้อง - ไมแ่ สดง ความจากการฟังและ - แสดงเหตผุ ลในการ - แสดงเหตผุ ลใน - แสดงเหตผุ ลใน เหตผุ ลในการ การดไู ด้ถูกต้อง (K) ตอบคาถามได้ชดั เจน การตอบคาถามได้ การตอบคาถาม ตอบคาถาม - ตอบคาถามได้อยา่ ง ชัดเจน ได้ ตอ่ เนอื่ งครบถ้วน - ตอบคาถามได้ - ตอบคาถามได้ อยา่ งต่อเนื่อง สัมพันธ์กับหวั ข้อท่ี ครบถว้ น กาหนด ๒. นักเรยี นสามารถ - วิเคราะห์สรุปความ - วิเคราะห์สรปุ ความ -วเิ คราะห์สรุป - วิเคราะห์สรปุ สรุปความ และ ประเมนิ เร่ืองจากการ ประเมนิ เร่ืองจากการ ความ ประเมนิ ความ ประเมนิ ประเมนิ เร่ืองจากการ ฟงั และดู ไดอ้ ย่าง ฟัง และดู ได้ตรง เรอื่ งจากการฟัง เรอื่ งจากการฟัง ฟัง และการดไู ด้ สมเหตุสมผลและ ประเด็นท่ีกาหนด และดู ตรง และดไู ด้ตรง ถูกต้อง P) สรา้ งสรรค์ สมเหตุสมผล ประเด็นที่กาหนด ประเด็นบา้ ง ๓. นกั เรยี นมคี วาม มคี วามรับผิดชอบใน มีความรบั ผดิ ชอบ ไม่ค่อยมีความ ไมม่ ีความ รบั ผิดชอบในงานที่ งานทีไ่ ด้รบั ในงานท่ีไดร้ ับ รับผดิ ชอบใน รบั ผดิ ชอบใน ได้รับมอบหมาย มอบหมายทกุ ครัง มอบหมายบางครัง งานทไี่ ด้รับ งานที่ได้รบั (A) มอบหมาย มอบหมาย
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๑๓ ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๗ ชวั่ โมง กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๓ เวลา ๑ ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ ๑ เรื่อง การอ่านเพอื่ พัฒนาชีวติ แผนการเรียนร้ทู ี่ ๑๒ เร่ือง การอา่ นประเมนิ คุณค่า ผสู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคิดเพอ่ื นาไปใชต้ ดั สินใจ แกป้ ัญหาในการ ดาเนนิ ชวี ิตและมีนสิ ยั รกั การอ่าน ๒.ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ม.๓/๖ ประเมินความถูกต้องของขอ้ มูลท่ีใช้สนับสนนุ ในเรื่องท่ีอ่าน ๓. สาระสาคัญ การอ่านจบั ใจความจากงานเขียนเชงิ สร้างสรรค์ ผูเ้ รียนตอ้ งประเมนิ ความถกู ตอ้ งของข้อมูลที่ใช้ สนับสนนุ ในเร่อื งที่อ่าน ๔. จุดประสงค์การเรยี นรูส้ ู่ตัวชวี้ ัด ๑. นักเรยี นสามารถตอบคาถามเก่ียวกบั งานเขยี นเชิงสร้างสรรคไ์ ด้ถูกต้อง (K) ๒. นักเรยี นสามารถประเมนิ ความถกู ต้องของข้อมลู ทใี่ ชส้ นบั สนุนในเร่ืองที่อา่ นได้ (P) ๓. นักเรยี นมีความใฝเ่ รยี นรู้ (A) ๕. สาระการเรียนรู้ การอ่านประเมินคุณคา่ จากงานเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์ ๖. กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ ขนั้ ท่ี ๑ ข้ันนาเขา้ ส่บู ทเรียน ๑. ครกู ล่าวทกั ทายนักเรยี น และเช็คชื่อสร้างสรรค์ ในหวั ข้อ เรมิ่ จากจุดเลก็ ๆ โดยครจู ะเริ่มวาด รปู ภาพวงกลม ๑ วง และใหน้ ักเรียนออกมาวาดรปู ต่อจากครทู ีละคน ใหเ้ วลาคนละ ๕ วนิ าที วาดไปจนถงึ นักเรียนคนสุดทา้ ย ครแู ละนักเรียนช่วยกนั พิจารณาว่าคือรูปอะไร ๓. ครแู จ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ให้นกั เรยี นทราบ และเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน ขัน้ ที่ ๒ ข้ันสอน ๑. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กล่มุ ละ ๔-๕ คน แล้วให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ เร่อื ง การเขยี น เชิงสร้างสรรค์ และเรอ่ื ง การอา่ นประเมนิ คุณค่า ท่ีครูแจกให้ ๒. ครสู นทนากับนักเรยี นเรอื่ ง การเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์ และการใชข้ ้อมูลประกอบการเขียน ๓. นกั เรียนตอบคาถามกระตุน้ ความคิด ผู้ทีจ่ ะเขียนงานเขยี นเชงิ สร้างสรรค์ตอ้ งมคี ุณลกั ษณะ อย่างไร (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรียน โดยให้อยใู่ นดลุ ยพินจิ ของครูผ้สู อน)
๔. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ทาแบบฝกึ หดั ท่ี ๑๓ เรอื่ ง การอ่านประเมินคุณคา่ งานเขยี นเชิงสรา้ งสรรค์ โดยให้ สมาชิกในแต่ละกลุ่มจับคกู่ นั เป็น ๒ คู่ แล้วให้แต่ละค่ปู ฏิบัติกิจกรรม ดังนี - สมาชิกคนท่ี ๑ อ่านโจทย์คาถาม และเขียนคาตอบ - สมาชิกคนที่ ๒ เป็นฝ่ายสังเกต ตรวจสอบคาตอบ ให้สมาชกิ แต่ละคู่เปลีย่ นบทบาทกันในคาถามข้อต่อไป ๕. นกั เรยี นรวมกลุม่ เดมิ (๔ คน) ใหแ้ ต่ละคู่นาคาตอบของคตู่ นเองมานาเสนอให้เพื่อนอกี คหู่ นึ่งฟัง เพอ่ื ชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกต้อง ๖. นกั เรียนตอบคาถามกระตนุ้ ความคิด ข้อ ๑ – ๒ ๑) ใครจะเปน็ ผตู้ ดั สินว่า เรือ่ งใดมคี ุณคา่ หรือไม่มีคุณคา่ ไดด้ ีท่สี ดุ (ผอู้ า่ น) ๒) การประเมินคณุ ค่างานเขยี น ผู้ประเมนิ จะต้องมีความรู้ความเช่ยี วชาญในเร่ืองนนั หรือไม่ เพราะเหตุใด (พจิ ารณาตามคาตอบของนักเรยี น โดยให้อย่ใู นดุลยพนิ จิ ของครผู ้สู อน) ๗. นักเรียนแต่ละกล่มุ สง่ ตัวแทนออกมานาเสนอผลงาน หน้าชันเรียน ขัน้ ที่ ๓ ขน้ั สรุป ๑. ใหน้ กั เรยี นและครูร่วมกนั สรปุ ความรู้ เรอื่ ง การอ่านประเมินคุณค่า - การเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ หมายถงึ อะไร - หลกั ในการประเมนิ คา่ งานเขียนควรคานงึ ถึงอะไร ๒. เปิดโอกาสให้นกั เรียนไดซ้ ักถามข้อสงสัย ๗. สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ ๑. สื่อ Power Point เร่ือง การอา่ นประเมินคุณค่างานเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ ๒. แบบฝึกหัดที่ ๑๓ เรอื่ ง การอ่านประเมนิ คุณคา่ งานเขียนเชงิ สรา้ งสรรค์ ๓. ใบความรู้ เรือ่ ง การเขยี นเชงิ สร้างสรรค์ และการอ่านประเมนิ คุณคา่ ๘. การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วิธกี ารวดั เคร่ืองมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ สงั เกตการตอบคาถาม แบบประเมินสงั เกตการ ๑. นักเรียนสามารถตอบคาถาม ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ เกยี่ วกบั งานเขยี นเชงิ สรา้ งสรรค์ ตรวจผลงาน ตอบคาถาม ระดบั ขึนไปถือว่าผา่ น ได้ถูกตอ้ ง (K) สังเกตพฤติกรรมเรอื่ ง แบบประเมนิ ผลงาน ทาคะแนนผ่านตงั แต่ ๓ ๒. นกั เรียนสามารถประเมิน ความใฝ่เรยี นรู้ ระดบั ขนึ ไปถือว่าผา่ น ความถกู ต้องของข้อมลู ท่ีใช้ แบบสังเกตพฤติกรรม สนบั สนนุ ในเรอ่ื งท่ีอ่านได้ (P) เร่ือง ความใฝ่เรยี นรู้ ทาคะแนนผ่านตังแต่ ๓ ๓. นักเรยี นมีความใฝ่เรยี นรู้ (A) ระดับขึนไปถือว่าผา่ น
เกณฑ์การประเมนิ ผล (รูบรกิ ส์) ประเดน็ การประเมนิ (๔) ดีมาก ระดับคุณภาพ (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ ๑. นักเรยี นสามารถ สามารถตอบคาถาม สามารถตอบคาถาม สามารถตอบ สามารถตอบ ตอบคาถามเกยี่ วกับ เกยี่ วกบั งานเขียนเชงิ เกี่ยวกบั งานเขียน คาถามเก่ียวกับ คาถามเกี่ยวกบั งานเขียนเชงิ สร้างสรรคจ์ าก เชงิ สรา้ งสรรค์จาก งานเขียนเชงิ งานเขยี นเชิง สร้างสรรคไ์ ด้ถูกตอ้ ง แบบฝึกหัด เร่อื ง การ แบบฝกึ หดั เรอ่ื ง สร้างสรรคจ์ าก สรา้ งสรรค์จาก (K) เขียนเชิงสรา้ งสรรค์ การเขียนเชิง แบบฝกึ หดั เรอ่ื ง แบบฝึกหดั เร่ือง ไดถ้ ูกตอ้ ง ๔ ข้อ สรา้ งสรรค์ ได้ การเขียนเชงิ การเขียนเชิง ถกู ต้อง ๓ ขอ้ สรา้ งสรรค์ ได้ สร้างสรรค์ ได้ ถกู ต้อง ๒ ขอ้ ถกู ต้อง ๑ ขอ้ ๒. นกั เรยี นสามารถ -ข้อมูลทีน่ ามาใช้ -ขอ้ มลู ทนี่ ามาใช้ -ข้อมูลท่นี ามาใช้ -ขอ้ มูลทนี่ ามาใช้ ประเมินความถูกต้อง เขียนสนบั สนนุ เร่ืองท่ี เขยี นสนบั สนุนเรอ่ื ง เขียนสนบั สนุน เขียนสนับสนุน ของขอ้ มลู ท่ีใช้ อ่านผา่ นการประเมนิ ที่อา่ นผา่ นการ เรื่องที่อ่านผา่ น เรือ่ งที่อ่าน สนับสนุนในเรื่องท่ี ความถูกตอ้ ง เชื่อถือ ประเมนิ ความ การประเมิน ไมผ่ า่ นการ อ่านได้ (P) ได้ ถกู ต้อง เช่ือถือได้ ความถูกต้อง ประเมนิ ความ เปน็ สว่ นใหญ่ เช่อื ถือได้ ถกู ต้อง เปน็ บางสว่ น ไมน่ า่ เชอื่ ถือ ๓. นักเรียนมคี วามใฝ่ นกั เรียนตงั ใจและ นักเรยี นตงั ใจและ นกั เรยี นตงั ใจ นักเรียนไมต่ ังใจ เรยี นรู้ (A) สนใจเรยี นเนือหาที่ สนใจเรยี นเนอื หาท่ี และสนใจเรยี น และสนใจเรยี น ครสู อนซกั ถามทุก ครสู อนและสง่ งานท่ี เนือหาท่ีครสู อน เนอื หาทคี่ รสู อน ครังเม่ือไมเ่ ขา้ ใจ ไดร้ ับหมอบหมาย เปน็ บางครงั และ และไม่ส่งงานท่ี เนือหาและสง่ งานที่ ตรงตามกาหนด สง่ งานทไี่ ดร้ ับ ไดร้ บั หมอบ ไดร้ ับหมอบหมาย หมอบหมาย หมายตรงตาม ตรงตามกาหนด กาหนด
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑๔ ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๗ ชว่ั โมง กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ เวลา ๑ ชวั่ โมง หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรื่อง การอ่านเพ่ือพัฒนาชีวติ แผนการเรยี นรทู้ ่ี ๑๓ เรื่อง แผนภาพความคดิ พชิ ติ เน้อื หา ผู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสรา้ งความร้แู ละความคิดเพือ่ นาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ัญหาในการ ดาเนินชวี ิตและมนี ิสยั รกั การอ่าน ๒.ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม.๓/๔ อ่านเร่อื งต่างๆแลว้ เขียนกรอบแนวคดิ ผังความคิด บันทึก ยอ่ ความ และรายงาน ๓. สาระสาคัญ การเขียนผงั ความคิดหรือกรอบแนวคดิ เป็นการสรา้ งเสริมทักษะในการวิเคราะห์ข้อมลู อันเป็นพืนฐาน ในการเรยี นรู้ เป็นการจัดระเบยี บความคิดทาสามารถจาความรู้ตา่ งๆได้แม่นยาทนนานมากขึน ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้สู่ตวั ช้วี ัด ๑. นกั เรยี นสามารถบอกและอธบิ ายความหมายของแผนผังความคิดไดถ้ ูกต้อง (K) ๒. นกั เรยี นสามารถเขียนแผนผงั ความคดิ ไดอ้ ย่างถูกต้อง (P) ๓. นกั เรยี นมีความใฝเ่ รียนรู้ (A) ๕. สาระการเรียนรู้ การเขียนแผนผงั ความคดิ ๖. กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขน้ั ท่ี ๑ ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรยี น ๑. ครนู าตัวอยา่ งแผนผังความคิดมาใหน้ ักเรียนดู และใหน้ ักเรยี นอา่ นผังความคดิ ทเ่ี ช่ือมโยงกันให้ครู ฟัง ๒. ครูแจ้งจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ใหน้ ักเรยี นทราบ และเช่ือมโยงเข้าสู่บทเรยี น ขัน้ ท่ี ๒ ขัน้ สอน ๑. ครแู จกใบความรู้ เร่ือง การเขียนผังความคิด ใหน้ ักเรียนศกึ ษา ครอู ธิบายเพมิ่ เติม พรอ้ ม ยกตัวอย่างประกอบ ๒. คาถามกระตุน้ ความคดิ - แผนผงั ความคิด คืออะไร - ขันตอนในการสรา้ งแผนผงั ความคดิ มอี ะไรบ้าง
๓. นกั เรยี นแบง่ กลุม่ กล่มุ ละ ๔-๕ คน ครูแจกแบบฝึกหัดที่ ๑๔ เรอ่ื ง แผนภาพความคิดพชิ ิต เนอื หา โดยครูมีเนือหาใหน้ ักเรยี นไดศ้ กึ ษาและชว่ ยกันนามาเขียนเป็นแผนผังความคิด ๔. นกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ ออกมารายงานหนา้ ชันเรียน แล้วให้เพื่อนๆกลุม่ อื่นดวู ่าเหมือนของกล่มุ ตน ไหม ควรเพ่ิมเติมตรงไหนบา้ ง ครูเสนอแนะเพ่ิมเติม ข้ันท่ี ๓ ขั้นสรุป ๑. ครูสรปุ ความร้เู ก่ยี วกับประโยชน์ของแผนผังความคิดใหน้ กั เรยี นฟังวา่ ๑. ทาใหเ้ ห็นภาพรวมกว้าง ๆ ของหวั ข้อใหญ่ หรอื ขอบเขตของเรื่อง ๒. ทาให้สามารถวางแผนเสน้ ทางหรือตดั สินใจได้อย่างถูกต้อง เพราะรูว้ า่ ตรงไหนกาลังจะไป ไหนหรอื ผ่านอะไรบา้ ง ๓. สามารถรวบรวมข้อมูลจานวนมากลงไวใ้ นกระดาษแผน่ เดยี วกนั ๔. กระตุ้นใหค้ ดิ แกไ้ ขปญั หา โดยเปดิ โอกาสใหม้ องเหน็ วิธใี หม่ ๆ ท่ีสร้างสรรค์ ๕. สรา้ งความเพลิดเพลนิ ในการอา่ นและง่ายต่อการจดจา ๒. เปดิ โอกาสให้นกั เรยี นได้ซักถามข้อสงสัย ๗. สอ่ื และแหลง่ การเรยี นรู้ ๑. ตัวอยา่ งแผนผังความคิด ๒. ใบความรู้เรือ่ ง การเขียนผังความคิด ๓. แบบฝึกหดั ท่ี ๑๔ เร่อื ง แผนภาพความคิดพิชติ เนือหา ๘. การวดั ผลและประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วิธีการวัด เครื่องมอื วัด เกณฑ์การประเมนิ สังเกตการตอบคาถาม แบบประเมินสงั เกตการ ๑. นกั เรยี นสามารถบอกและ ทาคะแนนผา่ นตงั แต่ ๓ อธบิ ายความหมายของแผนผัง ตรวจผลงาน ตอบคาถาม ระดับขึนไปถือว่าผา่ น ความคดิ ไดถ้ ูกต้อง (K) สงั เกตพฤตกิ รรมเรอ่ื ง แบบประเมินผลงาน ทาคะแนนผ่านตังแต่ ๓ ๒. นักเรยี นสามารถเขยี น ความใฝเ่ รียนรู้ ระดบั ขนึ ไปถือวา่ ผา่ น แผนผังความคิดได้อย่างถูกตอ้ ง แบบสงั เกตพฤติกรรม (P) เร่อื ง ความใฝเ่ รียนรู้ ทาคะแนนผ่านตังแต่ ๓ ๓. นกั เรียนมีความใฝเ่ รยี นรู้ (A) ระดับขึนไปถือวา่ ผา่ น
เกณฑก์ ารประเมินผล (รบู ริกส์) ประเด็นการประเมิน ระดบั คณุ ภาพ ๑. นักเรียนสามารถ บอกและอธบิ าย (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรุง ความหมายของ นักเรยี นตอบ แผนผังความคดิ ได้ นกั เรียนตอบคาถาม นักเรยี นตอบคาถาม นักเรยี นตอบ คาถามได้ ถูกต้อง (K) ไดถ้ ูกต้องชัดเจน ไม่แสดงเหตุผล แสดงเหตุผลในการ ไดถ้ ูกต้อง คาถามได้ ในการตอบ ๒. นักเรียนสามารถ ตอบคาถามไดช้ ัดเจน คาถาม เขียนแผนผงั ความคดิ ตอบคาถามไดอ้ ยา่ ง แสดงเหตผุ ลในการ ถกู ต้อง แสดง ได้อย่างถูกต้อง (P) ต่อเนอ่ื งครบถว้ น นักเรยี นไม่ ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ เหตุผลในการ สามารถใจความ ๓. นักเรยี นมคี วามใฝ่ สัมพันธ์กับหวั ข้อที่ สาคญั ในบางชว่ ง เรยี นรู้ (A) กาหนด ชัดเจน ตอบคาถาม ตอบคาถามได้ เขียนผงั ความคิด ตามหลกั การ นักเรยี นสามรถเขียน ไดอ้ ยา่ งตอ่ เน่ือง เขยี นผงั ความคิด ผงั ความคิดตาม หลักการเขียนผงั ครบถ้วน นกั เรยี นไมต่ ังใจ ความคิดไดถ้ ูกต้อง และสนใจเรยี น สวยงาม อ่านเข้าใจ นกั เรยี นสามรถ นักเรียนสามรถ เนอื หาทีค่ รูสอน ง่าย เนือเร่อื งไม่ เขยี นผังความคิด เขียนผัง และไมส่ ง่ งานท่ี สบั สน ตามหลักการเขยี น ความคิดตาม ไดร้ บั หมอบ ผังความคิดได้ หลักการเขียน หมายตรงตาม นักเรยี นตงั ใจและ ถกู ต้อง สวยงาม ผังความคดิ ได้ กาหนด สนใจเรยี นเนือหาที่ ครสู อนซกั ถามทุก นกั เรยี นตังใจและ นกั เรียนตงั ใจ ครังเมื่อไม่เข้าใจ สนใจเรียนเนอื หาที่ และสนใจเรยี น เนือหาและส่งงานที่ ครูสอนและส่งงานท่ี เนือหาท่ีครูสอน ได้รบั หมอบหมาย ได้รบั หมอบหมาย เป็นบางครงั ตรงตามกาหนด ตรงตามกาหนด และส่งงานที่ ได้รบั หมอบ หมาย
แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ ๑๕ ภาคเรยี นที่ ๑ จานวน ๑๗ ชว่ั โมง กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ เวลา ๑ ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๑ เรื่อง การอา่ นเพอื่ พัฒนาชีวติ แผนการเรียนรทู้ ี่ ๑๔ เร่ือง แผนภาพความคดิ พชิ ิตเนอื้ เร่ือง ผู้สอน นางสาวจริ าพร กุลให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการ ดาเนนิ ชวี ิตและมนี ิสัยรักการอ่าน ๒.ตวั ชีว้ ดั ท ๑.๑ ม.๓/๔ อา่ นเรอื่ งต่างๆแลว้ เขยี นกรอบแนวคิด ผังความคิด บนั ทึก ยอ่ ความ และรายงาน ๓. สาระสาคญั การเขียนผงั ความคิดหรือกรอบแนวคดิ เปน็ การสรา้ งเสริมทักษะในการวเิ คราะห์ข้อมลู อันเป็นพืนฐาน ในการเรยี นรู้ เปน็ การจัดระเบียบความคิดทาสามารถจาความรตู้ า่ งๆได้แมน่ ยาทนนานมากขึน ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้สู ่ตู ัวชวี้ ัด ๑. นักเรียนสามารถบอกและอธบิ ายความหมายของแผนผังความคดิ ได้ถูกต้อง (K) ๒. นกั เรยี นสามารถเขยี นแผนผังความคดิ จากเรอื่ งตานานสืบสานวฒั นธรรมไดอ้ ย่างถกู ต้อง (P) ๓. นักเรยี นมีความใฝ่เรยี นรู้ (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ การเขียนแผนผังความคิด ๖. กระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั ที่ ๑ ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน ๑. ครทู บทวนเร่อื ง การเขยี นแผนผงั ความคดิ ในชวั่ โมงทแี่ ล้ว และให้นกั เรยี นนาเสนอผลงานของ ตวั เอง ครสู งั เกตพฤตกิ รรมการตอบคาถาม เพือ่ ประเมินผลการเรยี นรู้ ๒. ครแู จง้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ใหน้ กั เรียนทราบ และเช่ือมโยงเขา้ สู่บทเรียน ขนั้ ที่ ๒ ข้นั สอน ๑. นักเรยี นอ่านในใจเรอื่ ง รู้ตานานสืบสานวฒั นธรรม จากหนังสือภาษาไทย ววิ ธิ ภาษา ชนั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓ หนา้ ๘๔ – ๘๙ แล้วให้นกั เรยี นจับใจความสาคัญจากเรื่อง ๒. ครคู าถามกระตนุ้ ความคิด - เนอื หาในเรือ่ งมใี จความว่าอยา่ งไร (ประเพณีสงกรานต์) - นกั เรียนคิดว่า ประเพณีสงกรานต์ มกี ิจกรรมสาคัญอะไรบ้างทีเ่ ราควรทาในวันสงกรานต์
๓. ให้นักเรียนเขยี นแผนผังความคดิ จากประเพณีสงกรานต์ (แบบฝกึ หัดท่ี ๑๕ เรือ่ ง ประเพณี สงกรานต์บา้ นฉัน) ๔. ครูสุ่มนกั เรยี น ๒-๓ คน ออกมานาเสนอผลงานการเขียนแผนผงั ความคิดของตัวเอง และเพ่ือนๆ และครูได้ชม ครูพร้อมให้คาเสนอแนะและกล่าวคาชมเชย ๕. ครูมอบหมายงานใหน้ ักเรยี นไปศกึ ษา สบื ค้น หรือสอบถามจากชาวบ้าน เก่ียวกบั ตานานใน ท้องถิน่ ของตนเอง เพื่อทจี่ ะนามาใชใ้ นการเรยี นการสอนในชวั่ โมงถัดไป ขัน้ ท่ี ๓ ขน้ั สรปุ ๑. ครสู รุปความรู้เกีย่ วกับข้อคดิ ท่ีไดจ้ ากเร่อื ง รตู้ านานสืบสานวฒั นธรรม - ประเพณีสงกรานตเ์ ดมิ เป็นของชาวมอญ ซงึ่ เรียกว่า เปงิ ซงกราน ได้แพร่เขา้ มาสู่ ประเทศไทย และกลายเปน็ ประเพณสี าคญั ของชาวไทยและเปน็ ส่วนหนง่ึ ของวัฒนธรรมไทย ๒. ครูเปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นได้ซักถามข้อสงสยั ๗. สอ่ื และแหลง่ การเรียนรู้ ๑. หนังสอื ภาษาไทย ววิ ธิ ภาษา ชนั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๓ ๒. แบบฝึกหดั ที่ ๑๕ เร่อื ง ประเพณสี งกรานตบ์ ้านฉัน ๘. การวดั ผลและประเมินผล จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ วธิ ีการวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมนิ สังเกตการตอบคาถาม แบบประเมนิ สงั เกตการ ๑. นักเรยี นสามารถบอกและ ทาคะแนนผ่านตงั แต่ ๓ อธบิ ายความหมายของแผนผัง ตรวจผลงาน ตอบคาถาม ระดบั ขนึ ไปถือวา่ ผ่าน ความคิดไดถ้ ูกตอ้ ง (K) สังเกตพฤตกิ รรมเร่อื ง แบบประเมนิ ผลงาน ทาคะแนนผา่ นตังแต่ ๓ ๒. นกั เรียนสามารถเขียน ความใฝเ่ รียนรู้ ระดับขนึ ไปถือว่าผา่ น แผนผังความคิดจากเรอื่ ง แบบสงั เกตพฤติกรรม ตานานสืบสานวฒั นธรรมได้ เรอ่ื ง ความใฝเ่ รียนรู้ ทาคะแนนผ่านตงั แต่ ๓ อยา่ งถูกต้อง (P) ระดับขึนไปถือวา่ ผา่ น ๓. นกั เรยี นมีความใฝเ่ รียนรู้ (A)
เกณฑ์การประเมนิ ผล (รบู รกิ ส์) ประเดน็ การประเมิน ระดับคณุ ภาพ ๑. นกั เรยี นสามารถ บอกและอธิบาย (๔) ดีมาก (๓) ดี (๒) พอใช้ (๑) ปรับปรงุ ความหมายของ นกั เรยี นตอบ แผนผังความคิดได้ นักเรียนตอบคาถาม นกั เรียนตอบคาถาม นกั เรยี นตอบ คาถามได้ ถูกต้อง (K) ไดถ้ ูกต้องชดั เจน ไมแ่ สดงเหตุผล แสดงเหตผุ ลในการ ไดถ้ ูกต้อง คาถามได้ ในการตอบ ๒. นกั เรยี นสามารถ ตอบคาถามได้ชัดเจน คาถาม เขยี นแผนผงั ความคิด ตอบคาถามไดอ้ ย่าง แสดงเหตผุ ลในการ ถกู ต้อง แสดง จากเรือ่ งตานานสบื ตอ่ เนื่องครบถว้ น นักเรยี นไม่ สานวฒั นธรรมได้ ตอบคาถามได้ ตอบคาถามได้ เหตุผลในการ สามารถใจความ อย่างถูกต้อง (P) สมั พันธก์ ับหัวข้อที่ สาคัญในบางชว่ ง กาหนด ชัดเจน ตอบคาถาม ตอบคาถามได้ เขียนผงั ความคิด ๓. นักเรียนมคี วามใฝ่ ตามหลกั การ เรยี นรู้ (A) นักเรียนสามรถเขียน ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง เขยี นผังความคิด ผงั ความคิดตาม หลักการเขยี นผัง ครบถ้วน นักเรียนไม่ตังใจ ความคดิ ได้ถูกตอ้ ง และสนใจเรียน สวยงาม อา่ นเข้าใจ นักเรยี นสามรถ นักเรียนสามรถ เนือหาทค่ี รสู อน ง่าย เนือเรือ่ งไม่ เขียนผังความคิด เขยี นผงั และไมส่ ่งงานท่ี สบั สน ตามหลักการเขยี น ความคิดตาม ไดร้ ับหมอบ ผงั ความคิดได้ หลักการเขียน หมายตรงตาม นกั เรยี นตังใจและ ถูกต้อง สวยงาม ผงั ความคดิ ได้ กาหนด สนใจเรียนเนอื หาท่ี ครสู อนซักถามทกุ นักเรยี นตงั ใจและ นกั เรียนตงั ใจ ครังเมื่อไมเ่ ขา้ ใจ สนใจเรยี นเนือหาท่ี และสนใจเรยี น เนือหาและส่งงานท่ี ครูสอนและสง่ งานท่ี เนอื หาที่ครูสอน ไดร้ บั หมอบหมาย ไดร้ บั หมอบหมาย เป็นบางครัง ตรงตามกาหนด ตรงตามกาหนด และส่งงานท่ี ได้รับหมอบ หมาย
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๖ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี ๑ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๑ เรื่อง การอ่านเพื่อพัฒนาชีวติ จานวน ๑๗ ชัว่ โมง แผนการเรียนรทู้ ่ี ๑๕ เรื่อง พูดรายงานเร่ืองหรือประเดน็ ท่ศี กึ ษา เวลา ๑ ชวั่ โมง ผสู้ อน นางสาวจิราพร กุลให้ ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๓.๑ การสรปุ ความจากการฟังและการดสู อ่ื จากเทคโนโลยตี ่างๆ ต้องใช้ทักษะในการจบั ใจความสาคญั เรื่องท่ีฟงั และดู จบั ประเด็นสาคัญของเรื่องท่ฟี ังและดู แลว้ นามาจดบันทึกด้วยภาษาท่ีเข้าใจง่าย กระชับ และชัดเจน ๒.ตวั ชีว้ ัด ท ๑.๑ ม.๓/๓ พดู รายงานเรื่องหรือประเด็นท่ีศกึ ษาคน้ คว้า ๓. สาระสาคัญ การพดู รายงาน เป็นการพูดนาเสนอผลของการศึกษาคน้ คว้าเรอ่ื งใดเรื่องหนึง่ แกผ่ ู้ฟังการพดู รายงาน การศกึ ษาค้นคว้านอี าจเป็นการนาเสนอในชันเรียน หรือกลุ่มกไ็ ด้ ๔. จุดประสงคก์ ารเรียนรสู้ ู่ตวั ช้วี ดั ๑. นกั เรียนสามารถบอกขันตอนและวธิ ีการพูดรายงานได้ถูกต้อง (K) ๒. นกั เรียนสามารถพดู รายงานประเดน็ ท่ีศึกษาคน้ คว้าได้ (P) ๓. นกั เรยี นมีความใฝเ่ รยี นรู้ (A) ๕. สาระการเรยี นรู้ การพูดรายงาน เรอ่ื งหรือประเด็นท่ีศกึ ษาคน้ ควา้ ๖. กระบวนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขั้นที่ ๑ ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรียน ๑. ครเู ปดิ วดิ ีทัศน์ เรอื่ ง ตานานเมืองลบั แล และสนทนาร่วมกันกับนักเรยี น ๒. ครแู จง้ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ให้นักเรยี นทราบ และเช่ือมโยงเขา้ สบู่ ทเรยี น ขั้นท่ี ๒ ข้นั สอน ๑. นกั เรียนศึกษาความร้จู ากใบความรู้เร่ือง การพดู รายงาน พร้อมครูอธบิ ายนกั เรียนฟงั ๒. ครคู าถามกระตนุ้ ความคิด - การพดู รายงาน มีความหมายวา่ อย่างไร - การพดู รายงานควรคานงึ ถึงอะไรบ้าง ๓. นักเรยี นแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ ๓ คน ทาแบบฝึกหัดที่ ๑๖ เรื่อง ตานานบา้ นเรา ใหน้ ักเรียนศึกษา คน้ คว้าตานานต่างๆ ท่นี ักเรียนสนใจ แล้วเขยี นเรือ่ งเลา่ ลงในสมดุ ของนักเรียน
Search