Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่-3-การประพันธ์วรรณศิลป์

หน่วยการเรียนรู้ที่-3-การประพันธ์วรรณศิลป์

Published by KAGIROON, 2021-02-06 05:18:00

Description: แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ท 22101) หน่วยที่ 3 เรื่อง การประพันธ์วรรณศิลป์

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๑๔ กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนที่ ๑ จานวน ๑ ชั่วโมง หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๓ การประพันธ์วรรณศลิ ป์ เร่ือง ศลิ ปะการประพนั ธ์ในวรรณคดไี ทย ชอ่ื ครผู ู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ สอนวนั ท่ี..................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคณุ ค่า และนามาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจรงิ ๒. สาระสาคญั วรรณคดี คือบทประพันธ์อนั ประกอบดว้ ยศลิ ปะแหง่ การนิพนธ์ และมีเน้ือเรือ่ งอันมีอานาจดลใจให้ เกดิ ความรู้สีกนึกคิดอารมณต์ ่างๆมใิ ช่เป็นเร่ืองทีใ่ ห้ความร้ถู ่ายเดยี ว เปน็ มรดกทางภาษาอันลา้ คา่ ของไทย ผูเ้ รยี นควรศึกษาเรยี นรู้ถึงคุณคา่ แห่งอรรถรสและความงดงามทางภาษาตลอดจนคณุ คา่ ในแงม่ มุ ตา่ งๆ เพื่อให้ เกิดความซาบซึ้งผูกพนั กบั เอกลักษณข์ องความเป็นไทย รว่ มกันอนรุ ักษ์และสืบสานมรดกอันลา้ คา่ นี้ให้คงอยู่ คูค่ วามเปน็ ไทยตลอดไป ๓. ตัวชีว้ ัด / ผลการเรียนรู้ ท ๕.๑ ม. ๒/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี า่ น ๔. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. นกั เรยี นอธบิ ายความหมายและคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ นได้ ๒. นกั เรยี นแยกแยะประเภทของวรรณคดีได้ ๓. นักเรยี นใฝ่เรียนรู้ ๕. สาระการเรยี นรู้ - สมบตั วิ รรณคดขี องไทย ๖. กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นา ๖.๑ ครทู ักทายนักเรยี นแจ้งตัวชีว้ ดั บอกจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้แลว้ ใหน้ กั เรยี นทา แบบทดสอบกอ่ นเรียน สมบตั ิวรรณคดีของไทย เสรจ็ แล้วนาสง่ ครูตรวจสอบความถกู ต้องและ ประกาศผลโดยที่ยังไม่ตอ้ งเฉลย ๖.๒ รว่ มกันสนทนากบั นักเรียนซักถามเก่ยี วกบั ลักษณะของวรรณคดีไทยว่านกั เรียนชนื่ ชอบ วรรณคดไี ทยเรื่องใดบ้าง และผูแ้ ตง่ วรรณคดีเร่อื งทช่ี อบคือใคร แตง่ ในสมยั ใด ตวั ละครมีใครบา้ ง

นกั เรียนตอบอยา่ งอสิ รเสรี โดยครูสมุ่ ถามทลี ะคน ๓ – ๕ คนแลว้ ถามนกั เรยี นคนอน่ื ๆว่าร้จู กั วรรณคดเี รอ่ื งน้นั หรือไม่ ข้นั สอน ๖.๓ นกั เรยี นทุกคนอา่ นในใจบทเรยี น แลว้ ผลดั เปล่ยี นกนั ต้งั คาถามให้เพ่ือนตอบ คนละ ๑ คาถาม จากน้ัน ครตู ง้ั คาถามดว้ ยประโยคต่อไปน้ี คาวา่ ศลิ ปะ หมายความว่าอยา่ งไร วรรณคดไี ทย ให้คณุ ค่าแก่คนไทยในด้านใดบ้าง วรรณคดีมุขปาฐะ หมายความวา่ อย่างไร วรรณคดีลายลกั ษณ์ หมายความวา่ อยา่ งไร จินตนาการในวรรณคดี หมายความวา่ อยา่ งไร วรรณคดีไทยใหค้ ุณค่าด้านคุณธรรมแกผ่ ศู้ ึกษาอย่างไร วรรณกรรมและวรรณคดมี ีความเหมอื นและแตกตา่ งกันอย่างไร นักเรยี นแข่งขนั ตอบอยา่ งอิสรเสรี ครูแนะนาแนวคาตอบให้ ๖.๔ นกั เรยี นทาใบงาน ทาเสร็จแลว้ นาส่งครตู รวจสอบประเมินผลและประกาศผลการ ประเมิน พร้อมท้ังแนะนาแกไ้ ขขอ้ บกพรอ่ งเปน็ รายบคุ คล ข้ันสรปุ ๖.๕ มอบหมายใหน้ ักเรยี นไปอา่ นหนงั สอื เพมิ่ เติมเป็นการบ้าน ๗. สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ ๗.๑ หนงั สือเรยี นรายวชิ าพนิ้ ฐานภาษไทย วรรณคดีวจิ กั ษ์ ชั้น มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ๗.๒ ใบงาน เรื่อง คาประพนั ธ์ในวรรณคดีไทย ๘. การวดั ผลประเมนิ ผล ๑. ด้านความรู้ (K) ประเมินจาก ๑. ประเมินการอา่ น ๒. สงั เกตพฤติกรรม มุ่งมน่ั ในการทางาน และรักความเป็นไทย ๓. แบบประเมนิ การตอบคาถาม ๒. ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (P) ประเมนิ จาก ๑. แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรยี น ๓. ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) ประเมนิ จาก ๑. แบบประเมินการสงั เกตพฤตกิ รรม มุ่งมนั่ ในการทางาน และรกั ความเป็นไทย

๘. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ วิธกี ารวดั เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมนิ ด้านความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) สงั เกตการอธิบาย แบบสงั เกตการอธิบาย นักเรยี นมคี วามรู้ และ นักเรยี นอธิบายความหมายและ ความหมายและคณุ คา่ ของ ความหมายและคณุ คา่ ของ สามารถอธิบายความหมาย คุณคา่ ของวรรณคดแี ละ วรรณคดีและวรรณกรรมที่ วรรณคดีและวรรณกรรมท่ี เกย่ี วกับคุณคา่ ของวรรณคดี วรรณกรรมทอ่ี ่านได้ อ่านได้ อา่ นได้ และวรรณกรรมทีอ่ ่านได้ อยู่ ในระดับคณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป ด้านทักษะกระบวนการ (P) ประเมินผลการแยกแยะ แบบประเมินผลการ (พอใช้) ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ นกั เรียนแยกแยะประเภทของ ประเภทของวรรณคดีได้ แยกแยะประเภทของ วรรณคดีได้ วรรณคดีได้ นกั เรียนมที กั ษะแยกแยะ ประเภทของวรรณคดีได้ อยู่ ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ประเมินการสงั เกต แบบประเมินการสังเกต ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึน้ ไป (A) พฤตกิ รรมใฝเ่ รยี นรู้ พฤติกรรมใฝเ่ รยี นรู้ (พอใช)้ ถือว่าผา่ นเกณฑ์ นกั เรียนใฝเ่ รยี นรู้ นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมใฝ่ เรียนรู้ อย่ใู นระดับคณุ ภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช)้ ถือว่าผ่าน เกณฑ์ การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอธบิ ายความหมายและคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่าน (K) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ อธิบายความหมาย อธบิ ายความหมาย อธบิ ายความหมาย อธบิ ายความหมาย อธบิ ายความหมาย และคณุ คา่ ของ และคณุ คา่ ของ และคณุ ค่าของ และคณุ ค่าของ และคณุ ค่าของ วรรณคดีและ วรรณคดีและ วรรณคดีและ วรรณคดแี ละ วรรณคดีและ วรรณกรรมที่อ่านได้ วรรณกรรมที่อา่ นได้ วรรณกรรมทอี่ า่ นได้ วรรณกรรมท่อี า่ นได้ วรรณกรรมท่ีอ่านได้ ถูกต้อง ละเอียด คอ่ นขา้ งถูกตอ้ งดี ถกู ตอ้ งบ้างบางส่วน อยา่ งคร่าวๆ ถูกต้อง (K) ชัดเจน ดีมาก เพียงเลก็ นอ้ ย ๒. แบบประเมินผลการแยกแยะประเภทของวรรณคดี (P) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ๑ ๔๓๒ แยกแยะประเภทของ แยกแยะประเภทของ แยกแยะประเภทของ แยกแยะประเภทของ แยกแยะประเภทของ วรรณคดีไดถ้ ูกต้อง วรรณคดีไดค้ อ่ นข้าง วรรณคดีไดถ้ กู ตอ้ ง วรรณคดีได้ และ วรรณคดีได้ (P) ครบถ้วนทุกประเภท ถูกตอ้ ง ครบถว้ นทุก บ้าง บางประเภท ถกู ตอ้ งเพยี งเลก็ น้อย ประเภท

๓. แบบประเมนิ การสงั เกตพฤตกิ รรมใฝเ่ รียนรู้ (A) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๑ ๔๓๒ ตัง้ ใจเรียน และรว่ มทา ตง้ั ใจเรียน และร่วม ตั้งใจเรยี น และร่วมทา ตงั้ ใจเรยี น และร่วมทา ใฝ่เรยี นรู้ (A) กิจกรรม รวมทงั้ มี ทากิจกรรม รวมทั้งมี กิจกรรม รวมท้ังมี กจิ กรรม รวมทง้ั มี มารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน เพยี งเลก็ นอ้ ย เป็นประจา บอ่ ยครง้ั บ้างบางคร้งั

ใบงาน เรอื่ ง คาประพันธใ์ นวรรณคดีไทย ช่อื ………………………………………….……………เลขท…่ี …..ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ตอนที่ ๑ คาช้ีแจง ให้นกั เรียนเขยี นผงั มโนทัศน์บอกประเภทและความหมายของวรรณคดไี ทย วรรณคดไี ทย ตอนท่ี ๒ จงแสดงความคดิ เหน็ ถงึ ความหมายและคณุ คา่ ของวรรณคดีไทย ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................

แบบทดสอบก่อนเรยี น ชอื่ ………………………………………….……………เลขท…่ี …..ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตอบคาตอบที่ถกู ตอ้ งท่ีสุดเพยี งขอ้ เดยี ว ๑. การวจิ ารณว์ รรณคดหี มายความวา่ อย่างไร ก. การติเพื่อก่อ ข. การช่นื ชมบทประพนั ธ์ ค. การหาเหตผุ ลสนับสนนุ ง. การแสดงความคดิ เห็นดว้ ยความรสู้ กึ ส่วนตัว ๒. คุณค่าของวรรณคดีไทยอยู่ทใี่ ด ก. ความงดงามและอรรถรสทางภาษา ข. เร่ืองราวน่าตน่ื เต้นชวนติดตาม ค. ความวจิ ิตรพสิ ดารเหนอื ธรรมดา ง. ความกลมกลืนสอดคลอ้ งของตวั ละครและเรื่องราว ๓. วรรณคดสี ะท้อนภาพลักษณข์ องสงั คมไทยในสมยั ใดมากที่สุด ก. สมยั ทผี่ แู้ ตง่ ได้แตง่ เรื่องนั้นขึน้ ข. สมัยทีผ่ แู้ ตง่ สมมตุ เิ ร่ืองราวน้นั ขึ้น ค. สมยั ใดก็ได้แล้วแตผ่ ู้แต่งกาหนดข้ึน ง. สมัยที่ผู้อ่านอ่านวรรณคดีเรื่องนั้น ๔. ข้อใดคอื จุดมุ่งหมายในการอ่านวรรณคดีไทย ก. อ่านเพื่อความบนั เทิง ข. อา่ นเพื่อให้รเู้ ร่ืองราว ค. อ่านเพ่ือสนองความต้องการของอารมณ์ ง. อา่ นเพอ่ื รบั รสความงามไพเราะของคาประพันธ์ ๕. บทรอ้ ยกรองแตกตา่ งจากรอ้ ยแกว้ ในเรื่องใด ก. กฎระเบียบการเรียบเรียงคา ข. ความสละสลวยของภาษา ค. ความสนกุ สนานในการอ่าน ง. การเกิดภาพพจน์และจนิ ตนาการ ๖. ลิลิต เปน็ คาประพนั ธ์ประเภทใด ก. โคลงสีส่ ุภาพ ข. กลอนแปด ค. ร่ายสภุ าพ ง. โคลงและร่าย

๗. ฉันทจ์ ะเน้นกฎเกณฑ์ในเรื่องใดชดั เจนทสี่ ุด ก. เสียงวรรณยุกต์ ข. สมั ผสั ใน ค. เสยี งหนักเบา ง. จานวนคา ๘. ข้อใดถือวา่ เปน็ คุณคา่ ด้านคณุ ธรรมของวรรณคดีไทย ก. การใชค้ าสมั ผสั สระและอักษร ข. ทาให้เกดิ ความเพลิดเพลิน ค. สอดแทรกคตเิ ตือนใจ ง. สะทอ้ นภาพสงั คมในปัจจุบนั จากข้อ ๙ – ๑๐ อ่านคาประพนั ธต์ อ่ ไปนแ้ี ล้วตอบคาถาม คุณแมห่ นาหนักเพี้ยง พสธุ า คณุ บิดรดจุ อา – กาศกว้าง คุณพ่ีพ่างศขิ รา เมรุมาศ คุณพระอาจารย์อา้ ง อาจส้สู าคร ๙. คาประพนั ธบ์ ทนเ้ี ปน็ การเปรียบเทยี บเร่อื งใดเป็นสาคญั ก. พระคุณของคน ข. ความกว้างของแผน่ ดนิ ค. ความลกึ ของนา้ ง. ความหนกั ของแผ่นดิน ๑๐. กวใี ช้คาใดเป็นการเปรยี บเทยี บ ก. กวา้ ง หนกั สงู ลกึ ข. เพ้ียง ดจุ พ่าง สู้ ค. แผน่ ดนิ ท้องฟ้า ภเู ขา นา้ ง. พอ่ แม่ พี่ ครู

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น คาชีแ้ จง ให้นักเรยี นเลือกตอบคาตอบที่ถกู ตอ้ งท่ีสุดเพียงข้อเดยี ว ๑. การวิจารณว์ รรณคดีหมายความวา่ อย่างไร ก. การตเิ พ่ือก่อ ข. การชื่นชมบทประพันธ์ ค. การหาเหตผุ ลสนบั สนนุ ง. การแสดงความคดิ เหน็ ด้วยความรู้สึกสว่ นตวั ๒. คณุ ค่าของวรรณคดีไทยอยูท่ ใี่ ด ก. ความงดงามและอรรถรสทางภาษา ข. เรือ่ งราวน่าตน่ื เต้นชวนติดตาม ค. ความวจิ ติ รพสิ ดารเหนือธรรมดา ง. ความกลมกลนื สอดคล้องของตัวละครและเรื่องราว ๓. วรรณคดีสะท้อนภาพลักษณ์ของสังคมไทยในสมัยใดมากทสี่ ดุ ก. สมยั ที่ผู้แต่งได้แตง่ เรื่องน้ันข้ึน ข. สมยั ที่ผู้แตง่ สมมตุ ิเร่ืองราวนน้ั ขึ้น ค. สมัยใดก็ได้แล้วแตผ่ ้แู ตง่ กาหนดขึน้ ง. สมัยทีผ่ อู้ า่ นอ่านวรรณคดีเรอ่ื งนนั้ ๔. ข้อใดคือจุดม่งุ หมายในการอ่านวรรณคดีไทย ก. อา่ นเพื่อความบนั เทิง ข. อา่ นเพื่อให้รู้เร่ืองราว ค. อา่ นเพ่ือสนองความต้องการของอารมณ์ ง. อา่ นเพ่อื รบั รสความงามไพเราะของคาประพนั ธ์ ๕. บทร้อยกรองแตกต่างจากรอ้ ยแกว้ ในเร่ืองใด ก. กฎระเบียบการเรยี บเรยี งคา ข. ความสละสลวยของภาษา ค. ความสนุกสนานในการอ่าน ง. การเกิดภาพพจนแ์ ละจนิ ตนาการ ๖. ลลิ ติ เปน็ คาประพันธ์ประเภทใด ก. โคลงสี่สภุ าพ ข. กลอนแปด ค. ร่ายสุภาพ ง. โคลงและร่าย ๗. ฉนั ทจ์ ะเน้นกฎเกณฑ์ในเรื่องใดชัดเจนทส่ี ดุ ก. เสยี งวรรณยกุ ต์ ข. สมั ผสั ใน ค. เสียงหนักเบา ง. จานวนคา

๘. ขอ้ ใดถือว่าเป็นคณุ ค่าดา้ นคุณธรรมของวรรณคดีไทย ก. การใช้คาสัมผัสสระและอักษร ข. ทาใหเ้ กดิ ความเพลิดเพลิน ค. สอดแทรกคตเิ ตือนใจ ง. สะท้อนภาพสังคมในปัจจุบัน จากขอ้ ๙ – ๑๒ อ่านคาประพันธ์ต่อไปนแ้ี ล้วตอบคาถาม คณุ แม่หนาหนกั เพ้ียง พสุธา คุณบดิ รดจุ อา – กาศกวา้ ง คุณพี่พา่ งศิขรา เมรุมาศ คณุ พระอาจารย์อา้ ง อาจส้สู าคร ๙. คาประพนั ธ์บทนเ้ี ป็นการเปรียบเทียบเรอ่ื งใดเป็นสาคญั ก. พระคุณของคน ข. ความกวา้ งของแผ่นดนิ ค. ความลกึ ของน้า ง. ความหนักของแผน่ ดนิ ๑๐. กวีใช้คาใดเป็นการเปรยี บเทียบ ก. กวา้ ง หนกั สูง ลกึ ข. เพีย้ ง ดจุ พ่าง สู้ ค. แผน่ ดิน ทอ้ งฟ้า ภเู ขา นา้ ง. พอ่ แม่ พี่ ครู

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๑๕ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ จานวน ๒ ช่ัวโมง หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๓ การประพนั ธ์วรรณศิลป์ เรอื่ ง การเล่นคา การเล่นเสียง และการใชภ้ าพพจน์ ชอ่ื ครผู สู้ อน นางสาวจริ าพร กุลให้ สอนวนั ท่.ี .................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็น คุณคา่ และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ๒. สาระสาคญั การเล่นคาเล่นเสยี งเพ่อื ให้เกิดภาพพจนถ์ ือว่าเปน็ ศลิ ปะในการแต่งบทประพันธใ์ นวรรณคดไี ทย ผู้เรียนตอ้ งเรียนรูเ้ ร่ืองกฎเกณฑร์ ูปแบบฉนั ทลักษณ์ของคาประพนั ธ์ชนดิ ตา่ งๆเพ่ือเปน็ พื้นฐานสาคญั ในการ ฝกึ หดั แต่งคาประพันธ์ง่ายๆเพือ่ ใชใ้ นโอกาสตา่ งๆ ๓. ตวั ชี้วัด ท ๕.๑ ม. ๒/๓ อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่อี ่าน ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. นกั เรียนอธิบายหลกั การเล่นคาเลน่ เสียงได้ ๒. นักเรยี นยกตวั อยา่ งการเล่นคาเลน่ เสียงได้ ๓. นักเรียนมีความซือ่ สตั ยส์ จุ รติ มีวินยั ๕. สาระการเรยี นรู้ วเิ คราะหค์ ุณคา่ วรรณคดีและวรรณกรรม ๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นา (ชวั่ โมงท่ี ๑-๒) ๑. นักเรียนเขา้ กลุม่ เป็นกลมุ่ ละ ๔ – ๕ คน แต่ละกลุ่มประกอบไปด้วยนักเรียนท่มี ีระดับภมู ิ ปัญญาสงู กลาง และตา่ ให้แตล่ ะกลุม่ เลือกหวั หน้ากลมุ่ รองหัวหน้ากล่มุ และเลขานุการกลมุ่ ควรใช้กล่มุ เดิมตลอดบทเรียน ๒. ครูเขียนคากลอนต่อไปน้ีบนกระดาน ให้นักเรียนอา่ นพรอ้ มกนั จิบจับเจาเจ่าเจา้ รงั มา จอกจาบจ่นั จรรจา จา่ จ้า เคา้ ค้อยค่อยคอยหา เห็นโทษ ซอนซ่อนซอ้ นสร้ิวหน้า น่ิงเรา้ เอาขวญั

(โคลงอกั ษรสามหมู่ ของพระศรมี โหสถ วรรณคดวี ิจักษ์ ม.๒ หนา้ ๓) ถามนักเรยี นว่าคากลอนบทนีโ้ ดดเดน่ ในเรอื่ งใด ให้แตล่ ะกลุ่มช่วยกันหาลักษณะโดดเด่นเป็นพเิ ศษ ของคากลอนน้ี แลว้ ส่งตวั แทนตอบคาถามครทู ลี ะกลมุ่ ครูเฉลยแนวคาตอบวา่ คากลอนบทนี้มลี ักษณะเดน่ ใน การเลน่ คาคือเล่นเสยี งพยญั ชนะเพราะในแต่ละวรรคจะใช้พยญั ชนะตัวเดยี วกนั หมด ครูประเมินคาตอบของ แต่ละกลุ่ม ขั้นสอน (ช่ัวโมงท่ี ๑) ๓. ครูเขยี นบนกระดานหรือใชแ้ ผนภมู ิคาประพันธ์ต่อไปนี้แขวนใหน้ กั เรียนอา่ น ดูหนูสู่รงู ู งูสุดสู้หนูสงู้ ู หนูงูส้ดู ูอยู่ รูปงูทหู่ นูมทู ู ดูงูขู่ฝดู ฝู้ พรูพรู หนูสรู่ งู งู ู สดุ สู้ งูส้หู นูหนสู ู้ งอู ยู่ หนรู ู้งูงรู ู้ รปู ทู่มูทู ( กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง พระนิพนธ์เจ้าฟา้ ธรรมาธิเบศ ) ถามนักเรยี นว่าบทประพันธ์บทนีโ้ ดดเดน่ ในเรื่องใด ให้แต่ละกลุม่ ช่วยกันหาลักษณะโดดเด่นเป็นพิเศษ ของบทประพันธน์ ้ี แลว้ ส่งตัวแทนตอบคาถามครูทลี ะกลุ่ม ครูเฉลยแนวคาตอบวา่ คากลอนบทนีม้ ลี ักษณะเด่น ในการเลน่ คาคอื เลน่ เสยี งสระเพราะในแตล่ ะวรรคจะใชส้ ระเดียวกันหมด ครูประเมนิ คาตอบของแต่ละกล่มุ ๔. นักเรยี นอ่านออกเสียงต่อกันกลุ่มละ ๑ ย่อหน้า ในหนังสอื เรยี นชุดวรรณคดวี จิ กั ษ์ หนา้ ๘ – ๑๖ จากนั้นทกุ คนอ่านพรอ้ มกันจากหนา้ ๘ – ๑๖ ครูแนะนาแก้ไขข้อบกพรอ่ งในการอ่านของแตล่ ะกล่มุ ๕. นกั เรยี นอา่ นบัตรความรู้ แล้วแตล่ ะกลุ่มทาบัตรกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี ๑ อธบิ ายภาพพจนท์ ี่เกดิ จากคาประพนั ธ์ที่กาหนดให้ เป็นรอ้ ยแกว้ เสร็จแลว้ นาส่งครตู รวจสอบและประเมนิ ผล จากนั้นประกาศผล การประเมนิ ใหท้ ุกกลมุ่ ได้รบั ทราบ (นาเสนอในชว่ั โมงถดั ไป) (ชวั่ โมงท่ี ๒) ๖. ครูสมุ่ นกั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานาเสนองานทลี ะกลุ่ม โดยครูสุม่ จบั สลาก ข้ันสรุป ๑. นักเรียนทกุ คนทาบัตรกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี ๒ ตอบคาถามตามที่กาหนดให้ เสรจ็ แลว้ ครเู ฉลย บนกระดานนักเรยี นแลกเปล่ยี นกนั ตรวจนาสง่ ครสู รุปและประกาศผล ๒. ครูอธบิ ายความรเู้ พิ่มเตมิ เรอื่ ง ศลิ ปะการประพันธใ์ นวรรณคดีไทย พร้อมยกตวั อย่างประกอบ ให้กับนกั เรียนแตล่ ะกลมุ่ เพื่อทาใหน้ ักเรยี นเกดิ ความเขา้ ใจมากยง่ิ ข้ึน ๓. ครกู ล่าวคาชมเชยสาหรับนักเรยี นทต่ี ้ังใจทากิจกรรม ๗. สอื่ การเรียนรู้ ๑. หนงั สือเรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดวี ิจักษ์ ม. ๒ ๒. ใบความรู้ เร่ือง คุณคา่ วรรณคดี ๓. ใบงานกิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ ๑ เรือ่ ง ภาพพจนค์ าประพันธ์ ๔. ใบงานกิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ ๒

๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๑. ดา้ นความรู้ (K) ประเมินจาก ๑. แบบสงั เกตพฤติกรรมนกั เรียน ๒. แบบประเมินการตอบคาถาม ๓. แบบประเมินใบงาน ๒. ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ประเมินจาก ๑. แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ๒..แบบสังเกตพฤติกรรมนกั เรยี น ๓. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ประเมนิ จาก ๑. แบบประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๒. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวินัย (A) ๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ วธิ กี ารวัด เคร่ืองมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ ดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) สงั เกตการอธิบายหลกั การ แบบสังเกตการอธิบาย นกั เรียนสามารถอธบิ าย นกั เรียนอธบิ ายหลกั การเลน่ คา เล่นคาเล่นเสียงได้ หลกั การเล่นคาเล่นเสียงได้ หลกั การเล่นคาเลน่ เสียงได้ เลน่ เสยี งได้ อย่ใู นระดับคณุ ภาพ ๒ ข้ึน แบบประเมินผลการ ไป (พอใช้) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ประเมินผลการยกตัวอย่าง ยกตัวอย่างการเล่นคาเลน่ นักเรยี นยกตวั อย่างการเลน่ คาเลน่ การเลน่ คาเลน่ เสยี งได้ เสยี งได้ นกั เรยี นมีการยกตวั อยา่ ง เสียงได้ การเลน่ คาเลน่ เสยี งได้ อยู่ใน แบบประเมินการสังเกต ระดบั คณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ประเมนิ การสังเกตความ ความซอื่ สัตยส์ จุ รติ มวี นิ ยั (พอใช้) ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ (A) ซ่อื สตั ยส์ จุ รติ มีวนิ ัย นักเรยี นมีความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ มี นักเรียนมีความซอ่ื สตั ย์ วนิ ัย สุจรติ มีวนิ ยั อยใู่ นระดบั คุณภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช)้ ถือว่าผา่ นเกณฑ์ การประเมินผลตามสภาพจริง ดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอธิบายหลักการเลน่ คาเลน่ เสียง (K) รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ อธิบายหลกั การเลน่ อธบิ ายหลักการเลน่ อธบิ ายหลักการเล่น อธบิ ายหลักการเลน่ อธบิ ายหลักการเล่น คาเลน่ เสยี งได้ ถกู ต้อง คาเลน่ เสียงได้ คาเล่นเสียงได้ ถกู ต้อง คาเล่นเสียงได้ อย่าง คาเลน่ เสียงได้ (K) ละเอียด ชดั เจน ดี ค่อนข้างถูกตอ้ งดี บ้างบางส่วน ครา่ วๆ ถกู ตอ้ งเพียง มาก เล็กนอ้ ย

๒. แบบประเมนิ ผลการยกตวั อย่างการเลน่ คาเลน่ เสยี ง (P) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ นกั เรยี นยกตัวอยา่ ง ยกตัวอย่างการเล่นคา ยกตวั อยา่ งการเลน่ คา ยกตัวอยา่ งการเล่นคา ยกตวั อยา่ งการเล่นคา การเลน่ คาเลน่ เสยี งได้ เล่นเสยี งได้ถกู ตอ้ ง เลน่ เสียงได้คอ่ นขา้ ง เลน่ เสยี งไดถ้ กู ต้อง เล่นเสียงได้ถกู ตอ้ ง ครบถว้ น สมบรู ณ์ ได้ถกู ตอ้ ง ครบถ้วน บ้าง และสมบูรณ์ เพยี งเล็กน้อย และไม่ (P) สมบรู ณ์ สมบรู ณ์ ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรม ซื่อสตั ย์ สุจรติ และมีวนิ ยั (A) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ๑ ๔๓๒ มีความซอื่ สตั ยส์ ุจรติ เหน็ คุณคา่ ใน ค่อนขา้ งเหน็ คุณค่าใน เห็นคณุ คา่ ใน เห็นคณุ คา่ ใน การศึกษาวรรณคดี การศกึ ษาวรรณคดี การศกึ ษาวรรณคดี การศกึ ษาวรรณคดี มีวินัย (A) และวรรณกรรมไทย และวรรณกรรมไทย และวรรณกรรมไทย และวรรณกรรมไทย รวมท้ังมคี วามซ่อื สัตย์ รวมทัง้ มีความซอ่ื สตั ย์ รวมท้ังมีความซอื่ สัตย์ รวมทงั้ มีความซอ่ื สัตย์ สุจรติ และมีวนิ ัยใน สุจรติ และมีวินัยใน สจุ รติ และมวี ินยั ใน สุจรติ และมวี นิ ยั ใน การทาแบบทดสอบ การทาแบบทดสอบ การทาแบบทดสอบ การทาแบบทดสอบ วดั ความรเู้ พียง วดั ความรดู้ มี าก วดั ความรดู้ ี วัดความรบู้ ้าง เล็กน้อย พอสมควร

ใบความรู้ เรื่อง คุณค่าวรรณคดี ในการพิจารณาคุณคา่ ของวรรณกรรมนั้น เราสามารถพิจารณาคณุ ค่าได้ใน 3 ลกั ษณะ ดังนี้ 1. คุณค่าด้านวรรณศิลป์ หมายถงึ ศิลปะในการประพนั ธห์ นงั สอื ซ่ึงตอ้ งคานงึ ถึง ลกั ษณะเฉพาะของงานประพันธแ์ ตล่ ะประเภท ถา้ เปน็ ร้อยกรอง ซ่งึ ใช้รปู แบบในการประพันธท์ แี่ ตกต่างกัน งานประพันธท์ุ ่ีมคี ณุ ค่า น้ันจะต้องมรี ูป เหมาะสมกับเนอ้ื หา แตง่ ถูกตอ้ งตามลักษณะบัญญตั ิของบทรอ้ ยกรองนั้นๆ มีกลวธิ ใี นการแตง่ ทน่ี า่ สนใจ ใช้ ถ้อยคาไพเราะสละสลวย ให้ความสะเทือนอารมณ์ ถา้ เป็นร้อยแกว้ ประเภทสารคดี อาจมีรูปแบบเปน็ บทความ บนั ทกึ จดหมายความทรงจา หรือความ เรียงเรือ่ งยาวเราพิจารณาโดยตง้ั เกณฑ์วา่ งานประพันธท์ ีม่ ีคุณค่าน้ันจะต้องมรี ูปแบบที่เหมาะสมกบั เนอื้ หา มี วิธเี สนอเร่อื งทีน่ ่าสนใจชวนให้อา่ นเพลนิ ให้ความรู้ในเรือ่ งตา่ งๆ อยา่ งถูกต้อง ใชส้ านวนภาษาทก่ี ะทดั รดั สละสลวยสอ่ื ความหมายไดช้ ดั เจน สว่ นวรรณกรรมรอ้ ยแกว้ ประเภทบันเทงิ คดนี ั้น ถา้ มรี ูปแบบเป็นเร่อื งนน้ั หรอื นวนยิ าย เรา พจิ ารณาโดยตงั้ เกณฑ์ว่า จะตอ้ งมีความสัมพันธ์กนั เป็นอย่างดีระหวา่ งองค์ประกอบต่างๆ เช่น แก่นเรอื่ ง สมั พันธ์กับโครงเรื่องและตวั ละคร มกี ลวิธีการประพันธท์ ี่แปลกใหม่น่าสนใจ ในเร่ืองมีจดุ ขดั แยง้ ที่ก่อให้เกดิ ความสะเทือนอารมณ์ ภาษาทีใ่ ช้บรรยายและพรรณนานาสละสลวยชวนให้เห็นภาพ คาพดู เหมาะสมกับ บุคลิกภาพของตัวละคร 2. คณุ คา่ ดา้ นเนื้อหา ใหพ้ จิ ารณาวา่ เนื้อเร่ืองของวรรณกรรมนั้นๆ ได้ใหข้ ้อเทจ็ จรงิ ซึ่งอาจจะเปน็ ความรู้ในด้านต่างๆ เชน่ ภาษา ประวัตศิ าสตร์ โบราณคดี วทิ ยาศาสตร์ สังคมวิทยา การแพทย์แผนไทย กฎหมาย การจัดการ เปน็ ต้น นอกจากนใี้ ห้พจิ ารณาถึงสารจากวรรณกรรมที่ให้ ความคดิ สรา้ งสรรค์อันเปน็ คติชวี ติ แก่ผูอ้ ่านด้วย 3. คณุ ค่าดา้ นสังคม คาวา่ “สังคม” ในทีน่ ้ี หมายถึง ชนชาติและชมุ ชนที่รวมกันอยู่ ภายใต้การปกครองในกรอบวฒั นธรรมเดยี วกนั สังคมเกดิ ขึน้ มาไดก้ ็เพราะมนุษย์ต้องอยู่รว่ มกัน มี ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเช่อื คา่ นยิ ม และจรยิ ธรรมรว่ มกนั โดยทวั่ ไปกวีย่อมแสดงภมู ิปญั ญาของตน ออกมาในวรรณกรรม เราจงึ สามารถมองเหน็ วถิ ีชีวติ สภาพความเปน็ อยู่ วัฒนธรรมความเชอื่ และค่านิยมคน ในสังคมท่วี รรณกรรมน้ันๆ ไดจ้ าลองภาพออกมา ฉะนั้นวรรณกรรมจงึ เปรยี บเสมือนกระจกเงา ฉายใหเ้ รา เหน็ ถงึ สงิ่ ดงั กล่าวข้างตน้ ไดเ้ ป็นอย่างดี ซง่ึ จะทาใหเ้ ราเขา้ ใจวถิ ชี ีวิตของคนในสมยั ของวรรณกรรมนนั้ ๆ ได้ดี ยงิ่ ขึน้ อย่างไรก็ตาม ในการพจิ ารณาคณุ ค่าด้านสังคมของวรรณกรรม ใหพ้ ิจารณาวา่ วรรณกรรมเรอ่ื งนัน้ ๆ ได้ชว่ ยจรรโลงหรอื พฒั นาสังคมมากน้อยเพียงใดด้วย

ใบงานกจิ กรรมการเรียนรูท้ ี่ ๑ เรอื่ ง ภาพพจนค์ าประพนั ธ์ คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันอธบิ ายภาพพจน์ท่เี กดิ จากคาประพนั ธ์ ทกี่ าหนดใหต้ อ่ ไปน้ี “ ภูบาลบาเหน็จให้ โทษถนอมใจนอ พนั ไมย่ อมอยยู่ อม มอดมว้ ย พระโปรดเปลี่ยนโทษปลอม ฟนั รปู แทนพอ่ พนั กราบทูดทัดดว้ ย ทา่ นทิง้ ประเพณี ” ภาพพจนท์ เี่ กดิ ขนึ้ จากการอ่านคากลอนนีค้ ือ ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ...ช..่ือ..........................................................................................น...า.ม..ส..ก..ลุ.......................................................................................ช..้นั ..........................................เ.ล..ข..ท..ี่......................... ........................................................................................................................................... ............................................................................................................

ใบงานกจิ กรรมการเรยี นรู้ที่ ๒ คาชแี้ จง ให้นกั เรยี นตอบคาถามต่อไปน้ี ๑. สัมผัสสระ หมายความว่าอยา่ งไร ยกตัวอย่างประกอบ ๒. สมั ผสั พยญั ชนะ หมายความว่า อยา่ งไร ยกตวั อยา่ งประกอบ ๓. การเล่นเสยี งในวรรณคดีไทยมกี ีป่ ระเภท อะไรบา้ ง ๔. การเลน่ คาในวรรณคดไี ทยมีก่ปี ระเภท อะไรบา้ ง ๕. คาพอ้ งเสยี ง หมายความว่าอย่างไร จงยกตวั อย่างประกอบ ๖. คาพ้องรปู หมายความว่าอย่างไร จงยกตวั อย่างประกอบ ๗. คาทใ่ี ช้เป็นคาอุปมาอปุ ไมยในวรรณคดไี ทยได้แก่คาใดบ้าง ๘. คาทใ่ี ช้เปรียบเทียบในวรรณคดีไทยได้แก่คาใดบ้าง ๙. กลอนนริ าศ หมายความว่าอยา่ งไร ๑๐. นักเรียนมคี วามรสู้ ึกเชน่ ใดต่อวรรณคดีไทย เฉลยใบงาน

คาช้ีแจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ๑. สัมผสั สระ หมายถงึ คาคล้องจองท่ีมเี สยี งสระเดยี วกัน เช่น เรา – เขา ๒. สมั ผสั พยญั ชนะ หมายถงึ คาคลอ้ งจองที่ใช้พยัญชนะเดียวกนั เช่น กา – กบ ๓. การเล่นเสียง คือการเลือกสรรคาท่ีมีเสียงสัมผสั เป็นพิเศษกวา่ ปกติ เพ่ือให้ เกดิ ทานองเสียงที่ไพเราะนา่ ฟัง ได้แก่การเล่นเสียงดังน้ี - การเล่นเสยี งพยัญชนะ - การเล่นเสียงสระ - การเลน่ เสียงวรรณยุกต์ ๔. การเล่นคาในวรรณคดี คือการสรรคามาเรยี งร้อยในคาประพนั ธโ์ ดยพลิกแพลง ให้เกิดความหมายพิเศษแปลกออกไปจากท่ีใช้อยู่ ได้แก่ - การเล่นคาพอ้ ง - การเล่นคาซา้ - การเล่นคาเชงิ ถาม ๕. คาพ้องเสยี งหมายถงึ คาที่ออกเสยี งเหมือนกันแต่เขยี นต่างกันและมีความหมาย ต่างกัน เช่น ขา้ – ค่า , โซม – โทรม ๖. คาพอ้ งรูป หมายถึง คาทีเ่ ขียนเหมือนกนั แต่อ่านไม่เหมือนกัน และมี ความหมายแตกต่างกนั ด้วย เชน่ จอกแหน – หวงแหน ๗. คาทใ่ี ช้เป็นคาอปุ มาอุปไมยในวรรณคดีไทยได้แก่ ดุจ เชน่ เหมือน คล้าย ๘. คาท่ใี ชเ้ ปรยี บเทยี บในวรรณคดีไทยได้แก่ เหมือน เปรียบเช่น คล้าย ฯลฯ ๙. กลอนนิราศหมายถึงบทประพนั ธท์ ่ีแตง่ ข้ึนเพอื่ ราพันถึงการจากหรือการ พลัดพรากจากผเู้ ปน็ ที่รกั โดยใช้การเดนิ ทางผ่านสถานท่ี ใช้ชอ่ื สถานทที่ ผ่ี ่าน มาเช่ือมโยงเปน็ เรื่องราว ๑๐. ( อยูใ่ นดลุ พินิจของครู )

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑๖ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๓ การประพันธ์วรรณศิลป์ เรอ่ื ง เนอ้ื หาวรรณคดี จานวน ๑ ช่ัวโมง ชอ่ื ครผู ้สู อน นางสาวจริ าพร กุลให้ สอนวนั ที.่ .................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเหน็ คณุ ค่า และนามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจรงิ ๒. สาระสาคัญ เน้ือหาในวรรณคดไี ทยเปน็ เรื่องราวที่มาจากจินตนาการของผู้แต่งเปน็ ส่วนมากบางสว่ นมาจากตานาน หรอื เหตกุ ารณ์จริงในยคุ นัน้ ๆ เราตอ้ งรจู้ กั คิดวิเคราะหห์ าสว่ นทีด่ ีเพอ่ื นามาประยกุ ต์ใชก้ ับเหตกุ ารณจ์ รงิ และ หาสว่ นที่เปน็ จดุ ดอ้ ยเพื่อนามาเปน็ บทเรยี นในชีวติ จรงิ ตลอดจนศึกษาถึงจุดมงุ่ หมายในการแตง่ ๓. ตัวชีว้ ดั ท ๕.๑ ม. ๒/๑ สรปุ เนอ้ื หาและวรรณกรรมทอ่ี ่าน ๔. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นักเรียนบอกประเภทของวรรณคดไี ด้ถกู ต้อง ๒. นักเรยี นวิเคราะห์เน้อื หาจากวรรณคดีไดถ้ ูกตอ้ ง ๓. นักเรียนซอ่ื สัตย์สุจิตมีวนิ ัย ๕. สาระการเรียนรู้ ลกั ษณะเนอื้ หาในวรรณคดีไทย ๖. กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ นา ๖.๑ ครูแจกกระดาษให้นกั เรียนกล่มุ ละ ๑ แผ่น แลว้ กาหนดเวลาให้ ๓ นาที ให้แตล่ ะ กลุ่มช่วยกนั เขยี นช่ือวรรณคดีไทยท่นี ักเรียนรู้จักให้ไดม้ ากที่สุด เมือ่ หมดเวลาครูใหส้ ญั ญาณทุกกล่มุ นา กระดาษแผน่ นัน้ มาส่งครู ครูอ่านชื่อวรรณคดขี องแต่ละกลุ่ม ขออาสาสมคั ร ๑ คนเขียนชอ่ื วรรณคดี ท่ีครอู า่ นของแต่ละกลุ่มบนกระดาน เมือ่ อา่ นครบทกุ กลมุ่ แล้ว ร่วมกนั ตรวจสอบและนับจานวนชอ่ื วรรณคดไี ทยท่ีนกั เรียนรจู้ ักของแตล่ ะกลมุ่ รว่ มกนั ชมเชยกลุ่มทเ่ี ขยี นได้มากทส่ี ุดและถูกต้อง ขนั้ สอน ๖.๒ ครูแจกกระดาษให้แตล่ ะกลุ่ม แล้วกาหนดหัวข้อให้แต่ละกลุ่มเขยี นลงในแผน่ กระดาษที่ แจกให้ ดังน้ี

- วรรณคดีพทุ ธศาสนา - วรรณคดสี ภุ าษิตคาสอน - วรรณคดีประเพณแี ละพิธีกรรม - วรรณคดีประวตั ศิ าสตร์ - วรรณคดเี พื่อความบันเทงิ - วรรณคดีนิราศ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มชว่ ยกนั จดั ชอื่ วรรณคดที ่ีอยู่บนกระดานท้ังหมดลงใหต้ รงกับหัวข้อท่ีกาหนดให้ นาสง่ ครูตรวจสอบและประกาศผลทลี ะกลมุ่ จากน้นั ครเู ฉลยบนกระดานโดยจัดชอ่ื วรรณคดีทง้ั หมดท่แี ต่ละ กลมุ่ เขียนมาลงตามหัวข้อที่กาหนดให้ และเพ่ิมเตมิ ในส่วนท่ีขาด ๖.๓ นักเรียนอ่านออกเสยี งต่อกันกลุ่มละ ๑ ย่อหน้า ในบทเรียน จากนั้นทุกคนอา่ นพรอ้ ม กันครแู นะนาแก้ไขข้อบกพรอ่ งในการอา่ นของแตล่ ะกลุ่ม ร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับสาระที่อา่ น ๖.๔ นกั เรยี นศึกษาใบความรู้ จากนั้นต้ังคาถามให้กลุ่มอ่ืนตอบเกี่ยวกับรายละเอียดของ เรื่อง กลุ่มละ ๓ คาถาม รว่ มกันสนทนาถึงเน้ือหาสาระของเรื่อง ๖.๕ นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มทาใบงาน เร่ืองการเขยี นวเิ คราะห์ ข้ันสรปุ ๖.๖ ครแู ละนกั เรยี นชว่ ยกันสรปุ บทเรียน ๖.๗ มอบหมายใหน้ ักเรยี นไปอา่ นหนงั สือเพ่ิมเตมิ เป็นการบ้าน ๗. ส่ือ / แหลง่ การเรยี นรู้ ๗.๑ หนังสอื เรียนรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษไทย วรรณคดวี ิจักษ์ ชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ๗.๒ ใบงาน เรื่อง เน้ือหาวรรณคดี ๘. การวดั ผลและประเมินผล ๑. ด้านความรู้ (K) ประเมินจาก ๑. แบบประเมนิ การอา่ น ๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน ๓. แบบประเมนิ การตอบคาถาม ๔. แบบบตั รกจิ กรรม ๒. ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (P) ประเมินจาก ๑. แบบประเมนิ การนาเสนอผลงาน ๒..แบบสังเกตพฤติกรรมนกั เรียน

๓. ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) ประเมินจาก ๑. แบบประเมินคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ๒. แบบสังเกตพฤติกรรมนกั เรยี น ๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ วธิ กี ารวดั เครื่องมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ ดา้ นความรคู้ วามเข้าใจ (K) สงั เกตการบอกประเภทของ แบบสังเกตการบอกประเภท นกั เรียนสามารถบอก นักเรยี นบอกประเภทของ วรรณคดไี ด้ถูกตอ้ ง ของวรรณคดไี ดถ้ กู ต้อง ประเภทของวรรณคดไี ด้ อยู่ วรรณคดีได้ถกู ตอ้ ง ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช)้ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ประเมนิ ผลการวเิ คราะห์ แบบประเมนิ ผลการ นักเรยี นมกี ารวเิ คราะห์ นักเรียนวิเคราะหเ์ นอ้ื หาจาก เน้ือหาจากวรรณคดีได้ วิเคราะหเ์ นอื้ หาจาก เนือ้ หาจากวรรณคดไี ด้ อยู่ วรรณคดีได้ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง วรรณคดีได้ถูกต้อง ในระดับคณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประเมนิ การสังเกตความ แบบประเมินการสงั เกต (A) ซ่ือสตั ยส์ จุ รติ มวี นิ ัย ความซอื่ สตั ย์สุจรติ มีวนิ ยั นกั เรยี นมคี วามซ่ือสตั ย์ นกั เรยี นมีความซื่อสตั ยส์ จุ รติ มี สจุ รติ มีวนิ ัย อยูใ่ นระดบั วนิ ยั คณุ ภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช้) ถือว่าผา่ นเกณฑ์ การประเมินผลตามสภาพจรงิ ด้านความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสังเกตการบอกประเภทของวรรณคดี (K) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๔๓๒๑ นกั เรียนบอกประเภท บอกประเภทของ บอกประเภทของ บอกประเภทของ บอกประเภทของ วรรณคดไี ดถ้ ูกตอ้ ง วรรณคดไี ดถ้ กู ตอ้ ง วรรณคดีได้ถูกต้อง วรรณคดีได้ถูกต้อง ของวรรณคดไี ด้ ละเอียด ชดั เจน ดี คอ่ นขา้ งถูกตอ้ งดี บ้างบางส่วน เพียงเลก็ น้อย มาก ถกู ตอ้ ง (K) ๒. แบบประเมินผลการวิเคราะห์เน้อื หาจากวรรณคดี (P) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๑ ๔๓๒ วิเคราะหเ์ น้ือหาจาก วิเคราะหเ์ นือ้ หาจาก วิเคราะหเ์ นื้อหาจาก วิเคราะหเ์ นอื้ หาจาก นักเรยี นวเิ คราะห์ วรรณคดีไดถ้ กู ต้อง วรรณคดไี ด้ค่อนข้าง วรรณคดไี ดถ้ กู ตอ้ ง วรรณคดีไดถ้ กู ต้อง เนื้อหาจากวรรณคดี ครบถว้ น สมบรู ณ์ ได้ถกู ต้อง ครบถว้ น บา้ ง และสมบูรณ์ เพยี งเล็กน้อย และไม่ ไดถ้ กู ต้อง (P) สมบรู ณ์ สมบูรณ์

๓. แบบประเมนิ การสังเกตพฤตกิ รรม ซื่อสัตย์ สุจริต และมีวนิ ยั (A) รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ๑ ๔๓๒ มคี วามซื่อสตั ยส์ ุจรติ เห็นคณุ คา่ ใน ค่อนขา้ งเหน็ คุณค่าใน เห็นคุณคา่ ใน เห็นคุณคา่ ใน การศึกษาวรรณคดี การศกึ ษาวรรณคดี การศึกษาวรรณคดี การศึกษาวรรณคดี มวี ินัย (A) และวรรณกรรมไทย และวรรณกรรมไทย และวรรณกรรมไทย และวรรณกรรมไทย รวมท้งั มีความซือ่ สัตย์ รวมท้ังมีความซือ่ สตั ย์ รวมทัง้ มีความซื่อสัตย์ รวมทงั้ มคี วามซอื่ สัตย์ สจุ รติ และมีวนิ ยั ใน สุจรติ และมีวนิ ยั ใน สจุ รติ และมวี นิ ยั ใน สุจรติ และมวี นิ ัยใน การทาแบบทดสอบ การทาแบบทดสอบ การทาแบบทดสอบ การทาแบบทดสอบ วัดความรเู้ พยี ง วัดความรดู้ ีมาก วัดความรดู้ ี วดั ความร้บู า้ ง เล็กน้อย พอสมควร

ใบงาน เรือ่ ง เนอ้ื หาวรรณคดี ช่ือ………………………………………….……………เลขท…ี่ …..ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มเลอื กศึกษาวรรณคดไี ทย ๑ เรือ่ งแล้วเขยี นวิเคราะหต์ ามหวั ข้อท่ี กาหนดให้ วรรณคดีเรือ่ ง ..................................................... ๑. ผแู้ ตง่ คอื ....................................................................................................................... ๒. แตง่ ในสมัย ............................................ ประมาณปี พ.ศ. ....................................... ๓. ลักษณะคาประพันธ์ .................................................................................................... ๔. ตัวละครเอก คือ............................................................................................................ ๕. จดุ มงุ่ หมายในการแต่งคือ............................................................................................. ............................................................................................................................... ๖. คุณค่าของวรรณคดีด้านต่างๆ คอื ๖.๑. คุณคา่ ด้านสังคม ......................................................................................... ๖.๒. คุณคา่ ดา้ นภาษา ......................................................................................... ๖.๓. คุณค่าดา้ นคุณธรรม .................................................................................... ๖.๔. คุณคา่ ด้านอารมณ์ ........................................................................................ ๗. ใจความสาคญั ของเรอ่ื ง .............................................................................................. ............................................................................................................................... ๘. เหตุการณ์ในเรื่องที่ประทบั ใจ...................................................................................... ............................................................................................................................... ๙. วรรณคดีเรอ่ื งนี้ดเี ดน่ ในดา้ น ....................................................................................... ๑๐. เรือ่ งราวสาระทส่ี ามารถนามาประยุกต์ใชใ้ นสังคมยคุ ปจั จบุ ันคือ .............................. ........................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................

ใบงาน ชอื่ ………………………………………….……………เลขที่……..ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒/…… คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นเลือกหัวข้อวตั ถุประสงค์ที่ผแู้ ต่งแต่งวรรณคดีตามเร่ืองท่ี กาหนดให้ต่อไปน้ี หวั ข้อตามวัตถุประสงค์ในการแตง่ ก. วรรณคดพี ุทธศาสนา ข. วรรณคดสี ุภาษิตคาสอน ค. ประเพณพี ธิ กี รรม ง. เหตกุ ารณป์ ระวัติศาสตร์ จ. วรรณคดเี พื่อความบันเทิง ฉ. บันทึกความร้สู กึ ของผเู้ ดินทาง ๑. พระอภัยมณี = .............................................................. ๒. ลลิ ติ โองการแชง่ น้า = .............................................................. ๓. ขนุ ช้าง ขนุ แผน = .............................................................. ๔. สภุ าษิตพระรว่ ง = .............................................................. ๕. โคลงชะลอพทุ ธไสยาสน์ = .............................................................. ๖. ราชาธิราช = .............................................................. ๗. มหาชาติคาหลวง = .............................................................. ๘. สังข์ทอง = .............................................................. ๙. นริ าศพระบาท = .............................................................. ๑๐. กฤษณาสอนน้อง = .............................................................. ๑๑. ลลิ ิตพยุหยาตราเพชรพวง = .............................................................. ๑๒. อศิ รญาณภาษติ = ..............................................................

๑. จ ๒. ค เฉลยใบงาน ๗. ก ๘. จ ๓. ง ๔. ข ๕. ค ๖. ง ๙. ฉ ๑๐. ข ๑๑. ค ๑๒. ข

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๗ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี ๓ การประพนั ธ์วรรณศิลป์ เรอ่ื ง คุณค่าวรรณคดไี ทย จานวน ๑ ชั่วโมง ชือ่ ครูผู้สอน นางสาวจิราพร กลุ ให้ สอนวันท.ี่ .................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณคา่ และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จริง ๒. สาระสาคัญ การพิจารณาคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม เป็นการพิจารณาเพ่ือให้เห็นความสาคัญ และเกิด ความซาบซ้ึงในวรรณคดีและวรรณกรรมซ้ึงสามารถพิจารณาได้หลายด้าน เช่น คุณค่าด้านวรรณศิลป์ท่ีทาให้ ผู้อ่านได้รับรสของภาษา คุณค่าด้านแนวคิดท่ีสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมให้ผู้อ่านนาไปประยุกต์ใช้ในการ ดาเนินชีวิต คุณค้าดานเน้ือหาที่ทาให้ผู้อ่านได้รับความรู้ และเกิดอารมณ์ความรู้สึก ต่าง ๆ และคุณค่าด้าน สงั คมท่ีทาใหผ้ ูอ้ ่านเขา้ ใจชีวิตความเปน็ อยู่ วฒั นธรรมประเพณขี องผู้คนในสังคมยคุ น้ัน ๓. ตวั ชีว้ ดั ท ๕.๑ ม. ๒/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอา่ น ๔. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นอธิบายหลักการพจิ ารณาคุณคา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรมได้ ๒. นกั เรยี นเขยี นคุณคา่ ของโคลงภาพพระราชพงศาวดารได้ ๓. ใฝเ่ รียนรู้ ๕. สาระการเรยี นรู้ คณุ ค่าจากเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ๖. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นาเข้าสู่บทเรยี น ๑. ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั แสดงความคิดเหน็ โดยครใู ชค้ าถามว่า เพราะเหตุใดเราจงึ ต้องอ่านวรรณคดี ขัน้ สอน ๒. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่อง หลักการพิจารณาคุณค่าของวรรณคดี โดยครูเป็นผู้อธิบาย ซักถาม ความเข้าใจ จนนกั เรียนมีความรแู้ ละความเข้าใจเรื่องหลกั การพิจารณาคุณคา่ ของวรรณคดีพอสมควร ๓. จากนั้นนักเรียนแบ่งกลุ่ม ๔ กลุ่ม วิเคราะห์คุณค่าโคลงภาพพระราชพงศาวดารเขียนบันทึกลง กระดาษ ดงั นี้ กลุ่มที่ ๑ คณุ ค่าด้านวรรณศลิ ป์

กลุ่มที่ ๒ คุณค่าดา้ นแนวคิด กลมุ่ ท่ี ๓ คณุ ค่าดา้ นเนอ้ื หา กล่มุ ที่ ๔ คุณคา่ ด้านสงั คม ๔. นักเรยี นแต่ละกลุ่มส่งตวั แทนออกมาอธิบายคณุ คา่ นิราศภเู ขาทอง พร้อมยกตัวอย่างประกอบ หลงั จบการนาเสนอของแต่ละกลมุ่ ให้กลุ่มอนื่ ๆ รว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ เพิม่ เติม ข้ันสรปุ ๕. นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดังนี้ คุณค่าของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร มิได้มีหน้าที่เพียงบรรยายภาพเท่าน้ัน คุณธรรม สาคัญท่ีกวีเสนอไว้ประกอบกบั การใช้ถ้อยคาภาษาอันงดงาม ยงั ชว่ ยกระตุ้นความคิดและจินตนาการของผู้อ่าน ก่อให้เกิดความซาบซึ้งสะเทอื นใจและภูมใิ จในบรรพบุรุษและในชาตขิ องเรา ๗. สื่อการเรียนรู้ หนังสอื เรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดวี จิ ักษ์ ม. ๒ ๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วิธีการวัด ๑. สังเกตนกั เรยี นอธบิ ายหลักการพจิ ารณาคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม(K) ๒. ประเมินผลการเขียนคุณค่าของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร (P) ๓. ประเมินการสงั เกตพฤติกรรมใฝ่เรยี นรู้ (A) เครื่องมือวัด ๑. แบบสังเกตนักเรียนอธบิ ายหลกั การพิจารณาคณุ คา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรม(K) ๒.แบบประเมนิ ผลการเขยี นคุณคา่ ของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร (P) ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤติกรรมใฝ่เรยี นรู้ (A) เกณฑก์ ารประเมนิ ๑. นักเรียนมีความรู้และเข้าใจหลักการพิจารณาคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม(K) อยู่ในระดับ คุณภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช้) ถือว่าผา่ นเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการเขียนคุณค่าของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร(P)อยู่ในระดับ คณุ ภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช)้ ถือว่าผ่านเกณฑ์ ๓. นกั เรียนมีพฤติกรรมใฝเ่ รยี นรู้ (A) อยู่ในระดับคณุ ภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ๔ ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๑ ควรปรบั ปรงุ

๘. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วธิ ีการวัด เครอ่ื งมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ ดา้ นความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) สังเกตนักเรียนอธิบาย แบบสงั เกตนกั เรียนอธิบาย นกั เรียนมีความรู้และเข้าใจ นักเรยี นอธิบายหลกั การพจิ ารณา คณุ ค่าของวรรณคดแี ละ หลกั การพจิ ารณาคณุ ค่าของ หลกั การพจิ ารณาคุณคา่ ของ หลักการพิจารณาคณุ คา่ ของ วรรณกรรมได้ วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณคดแี ละวรรณกรรมอยู่ ในระดับคณุ ภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ประเมนิ ผลการเขยี นคณุ ค่า แบบประเมนิ ผลการเขียน นกั เรยี นมที กั ษะ กระบวนการในการเขียน นักเรยี นเขียนคุณค่าของโคลงภาพ ของโคลงภาพพระราช คณุ ค่าของโคลงภาพพระ คุณค่าของโคลงภาพพระ ราชพงศาวดาร อยูใ่ นระดบั พระราชพงศาวดารได้ พงศาวดาร ราชพงศาวดาร คุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช)้ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ประเมนิ การสังเกต แบบประเมนิ การสังเกต (A) พฤตกิ รรมใฝ่เรยี นรู้ พฤติกรรมใฝ่เรยี นรู้ นกั เรียนมพี ฤติกรรมใฝ่ ใฝ่เรยี นรู้ เรยี นรู้ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถอื ว่าผ่าน เกณฑ์ การประเมนิ ผลตามสภาพจริง ดา้ นความรู้ ทักษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตนกั เรยี นอธิบายหลักการพิจารณาคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรม (K) รายการ ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ ควรปรบั ปรุง ประเมิน ๔ ดี พอใช้ ๑ ๓๒ อธบิ ายหลกั การ อธบิ ายหลักการ อธบิ ายหลกั การ อธิบายหลกั การ อธิบายหลกั การ พจิ ารณาคณุ คา่ ของ พิจารณาคณุ ค่าของ พิจารณาคณุ คา่ ของ พิจารณาคณุ คา่ ของ พจิ ารณาคุณค่าของ วรรณคดแี ละ วรรณคดไี ดค้ รอบคลมุ วรรณคดีไดค้ รอบคลุม วรรณคดีครอบคลมุ วรรณคดีได้เล็กน้อย วรรณกรรม (K) ทกุ ดา้ น ทุกดา้ น แตอ่ ธิบาย เปน็ บางด้าน อย่างส้นั ๆ ๒. แบบประเมินผลการบอกคณุ ค่าของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร (P) ควรปรับปรุง ๑ ระดบั คณุ ภาพ รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ประเมนิ ๔๓๒

บอกคุณค่าของโคลง วิเคราะห์และ สรุป วิเคราะหแ์ ละ สรุป วิเคราะห์และ สรุป วิเคราะห์และ สรปุ ภาพพระราช คุณค่าวรรณคดไี ด้ คุณค่าวรรณคดไี ด้ คุณค่าวรรณคดไี ด้ คุณคา่ วรรณคดไี ด้ พงศาวดาร (P) ถูกตอ้ ง ครอบคลมุ ทุก ถกู ต้อง ครอบคลุมทกุ ถูกตอ้ ง ครอบคลุม ถกู ต้อง ครอบคลุม ดา้ นอธบิ ายชดั เจน ดา้ นอธิบายส้นั ๆ เป็นบางดา้ น อธิบาย บา้ งเล็กนอ้ ย ไมค่ ่อย เข้าใจงา่ ย ส้ันๆ อธิบาย ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมใฝเ่ รียนรู้ (A) รายการ ดมี าก ดี ระดับคณุ ภาพ ควรปรบั ปรงุ ประเมนิ ๔ ๓ พอใช้ ๑ ๒ ต้ังใจเรยี น และรว่ ม ใฝ่เรยี นรู้ (A) ตงั้ ใจเรยี น และรว่ ม ต้งั ใจเรยี น และรว่ ม ต้งั ใจเรียน และรว่ ม ทากจิ กรรม รวมท้ัง ทากิจกรรม รวมทัง้ ทากจิ กรรม รวมทัง้ ทากจิ กรรม รวมทัง้ เห็นคณุ คา่ ของโคลง เหน็ คณุ คา่ ของโคลง เหน็ คณุ คา่ ของโคลง เหน็ คณุ คา่ ของโคลง ภาพพระราช- ภาพพระราช- ภาพพระราช- ภาพพระราช- พงศาวดารและนา พงศาวดารและนา พงศาวดารและนา พงศาวดารและนา ข้อคิดท่ไี ดไ้ ป ข้อคดิ ทไี่ ดไ้ ป ข้อคิดทีไ่ ดไ้ ป ข้อคดิ ทไ่ี ดไ้ ป ประยุกตใ์ ชใ้ น ประยกุ ต์ใช้ใน ประยุกตใ์ ชใ้ น ประยกุ ตใ์ ช้ใน ชวี ติ ประจาวนั เพยี ง ชวี ิตประจาวนั เป็น ชีวิตประจาวนั ชวี ิตประจาวนั เป็น เลก็ น้อย ประจา บ่อยครั้ง บางครั้ง

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๑๘ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๓ การประพนั ธ์วรรณศิลป์ เรือ่ ง คัดลายมือ จานวน ๑ ชั่วโมง ชอ่ื ครูผสู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ สอนวนั ท.ี่ .................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่อื สาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวใน รปู แบบตา่ งๆ เขยี นรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๒. สาระสาคัญ การเขียนด้วยลายมือที่สวยงามเป็นระเบียบและถูกต้องตามอักขรวิธี เป็นค่านิยมท่ีดีงามและเป็นการ อนุรักษภ์ าษาไทย ๓. ตัวชว้ี ดั ท ๒.๑ ม. ๒/๑ คดั ลายมือตัวบรรจงครงึ่ บรรทดั ท ๒.๑ ม. ๒/๘ มมี ารยาทในการเขยี น ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. นักเรยี นอธบิ ายหลกั การคดั ลายมอื ได้ ๒. นักเรยี นคัดลายมือตวั บรรจงคร่งึ บรรทดั ได้ ๓. มุ่งม่ันในการทางาน ๕. สาระการเรยี นรู้ หลักการคดั ลายมือ ๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นาเข้าสู่บทเรียน ๑. นักเรียนและครรู ่วมกันสนทนาในเรื่องตา่ งๆ จากน้ันครูถามนกั เรยี นว่า ตัวหนงั สอื สามารถบ่งบอกและแสดงถึงอปุ นสิ ัยผู้เขียนอย่างไร? ขัน้ สอน ๒. จากน้นั ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั ศกึ ษาหลักการคดั ลายมอื ทนี่ ักเรยี นควรนาไปปฏบิ ัติ โดยครเู ปน็ ผูอ้ ธิบาย ใหฟ้ งั ซักถามจนนักเรยี นเรมิ่ เขา้ ใจ แล้วให้นกั เรียนบันทกึ สาระสาคญั ลงสมุดบันทึกของตนเอง ๓. ใหน้ ักเรียนทบทวนและสนทนาขอ้ ควรคดิ ในการคัดลายมือในประเด็นต่อไปน้ี - หลกั การคดั ลายมือมีอะไรบ้าง - การเขยี นดว้ ยลายมือท่สี วยงามเปน็ ระเบยี บแสดงถึงอปุ นิสัยของผู้เขยี นอยา่ งไร

๔. ให้นักเรยี นแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกบั ผลท่ีจะได้รับ เมอื่ นักเรยี นมลี ายมือทีส่ วยงามเปน็ ระเบยี บ และไม่เป็นระเบียบ ๕. จากน้ันให้นักเรียนคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด โดยเลือกโคลงภาพพระราชพงศาวดารบทที่ ประทับใจภาพละ ๑ บท เมอื่ เสรจ็ แล้วใหน้ าส่งครตู รวจสอบและให้คะแนน ข้ันสรุป ๖. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรุปความรู้ ดังต่อไปนี้ การเขียนด้วยลายมือที่สวยงามเป็นระเบียบและถูกต้องตามอักขรวิธี เป็นค่านิยมท่ีดีงามและ เป็นการอนรุ ักษ์ภาษาไทย ๗. ส่อื การเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดีวจิ ักษ์ ม. ๒ ๒. กระดาษ ๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธกี ารวัด ๑. สังเกตนกั เรียนอธิบายหลักการคัดลายมอื (K) ๒. ประเมนิ ผลการคดั ลายมอื ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด (P) ๓. ประเมินการสังเกตพฤติกรรม มงุ่ ม่ันในการทางาน (A) เครอ่ื งมอื วัด ๑. แบบสังเกตนกั เรยี นอธิบายหลกั การคัดลายมอื (K) ๒.แบบประเมินผลการคัดลายมอื ตัวบรรจงครึ่งบรรทดั (P) ๓. แบบประเมนิ การสงั เกตพฤตกิ รรม มุ่งมัน่ ในการทางาน (A) เกณฑก์ ารประเมิน ๑. นกั เรยี นมีความรแู้ ละเข้าใจหลกั การคัดลายมอื (K) อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช)้ ถือวา่ ผ่าน เกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด(P)อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ขึ้น ไป (พอใช้) ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ ๓. นักเรียนมีพฤติกรรมมุ่งม่ันในการทางาน และรักความเป็นไทย (A) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ๑ ควรปรับปรุง

๘. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วิธกี ารวดั เครือ่ งมือวัดผล เกณฑก์ ารประเมิน ด้านความรคู้ วามเขา้ ใจ (K) สังเกตนักเรยี นอธิบาย แบบสงั เกตนักเรียนอธิบาย นักเรียนมคี วามรแู้ ละเขา้ ใจ นกั เรยี นอธบิ ายหลกั การคัด หลักการคดั ลายมอื หลักการคดั ลายมือ หลกั การคดั ลายมอื อยใู่ น ลายมือได้ ระดบั คณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช)้ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ประเมินผลการคดั ลายมอื แบบประเมนิ ผลการคดั นกั เรียนมที ักษะ นกั เรียนคดั ลายมอื ตัวบรรจงคร่ึง ตัวบรรจงครึ่งบรรทดั ลายมอื ตัวบรรจงครง่ึ บรรทดั กระบวนการในการคดั บรรทัดได้ ประเมินการสงั เกต ลายมือตวั บรรจงคร่งึ บรรทดั ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ พฤติกรรม มุ่งมน่ั ในการ อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ ๒ ข้ึน (A) ทางาน ไป (พอใช)้ ถือว่าผ่านเกณฑ์ มุ่งมน่ั ในการทางาน แบบประเมินการสงั เกต นักเรียนมีพฤตกิ รรมมงุ่ ม่ัน พฤติกรรม มุ่งม่นั ในการ ในการทางาน และรักความ ทางาน เป็นไทย อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช)้ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ด้านความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสังเกตนักเรยี นอธิบายหลกั การคดั ลายมือ (K) ระดับคณุ ภาพ รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ประเมนิ ๔๓๒๑ อธบิ ายหลักการคัด อธิบายหลกั การคัด อธิบายหลกั การคดั อธบิ ายหลกั การคดั อธบิ ายหลักการคัด ลายมือ (K) ลายมือไดถ้ ูกตอ้ ง ลายมือได้คอ่ นข้าง ลายมอื ได้ถูกตอ้ งบา้ ง ลายมอื ไดถ้ ูกต้องเพยี ง ละเอียด ชัดเจนดมี าก ถกู ต้องดี บางสว่ น เลก็ น้อย ๒. แบบประเมนิ ผลการคัดลายมอื ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด (P) รายการ ระดับคุณภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ประเมนิ ๔๓๒ ๑ คดั ลายมือตวั เขียนตวั อกั ษร เขยี นตัวอกั ษร เขยี นตัวอกั ษร เขยี นตัวอักษร บรรจงคร่งึ บรรทัด ชดั เจน ถกู ตอ้ ง ชัดเจน ถูกตอ้ ง ชดั เจน ถูกต้อง ถกู ต้องตาม (P) ตามอักขรวธิ ี ตามอักขรวธิ ี ตามอักขรวิธี อกั ขรวธิ ีและ ขนาดตัวอักษร ขนาดตัวอักษร ขนาดตัวอักษร ผลงานสะอาด

มีสดั ส่วนเหมาะสม บางตัวผิดสดั สว่ น หลายตวั ผดิ สดั สว่ น แต่ยังต้องพฒั นา และเสมอกัน บ้าง แตผ่ ลงาน จึงไม่ค่อยเป็น การควบคุม ผลงานสะอาด สะอาดเรียบร้อย ระเบียบ แตผ่ ลงาน ขนาดของตัวอกั ษร เรยี บรอ้ ย สะอาด และอัตราเรว็ ในการเขียน ๓. แบบประเมนิ การสังเกตพฤตกิ รรม ม่งุ มั่นในการทางาน (A) ควรปรับปรงุ ๑ ระดบั คณุ ภาพ รายการ มีความพยายามคดั ลายมอื ให้ถกู ต้อง ดมี าก ดี พอใช้ สวยงามเพยี งเลก้ น้อย ประเมิน ๔๓๒ มงุ่ มั่นในการทางาน มคี วามพยายามคดั คอ่ นข้างมคี วาม มคี วามพยายามคัด (A) ลายมอื ให้ถูกต้อง พยายามคัดลายมอื ให้ ลายมือให้ถกู ตอ้ ง สวยงามอยา่ งมาก ถกู ตอ้ งสวยงามเปน็ สวยงามบา้ ง อยา่ งดี

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๙ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๓ การประพันธ์วรรณศิลป์ เรื่อง ซา้ ย้า ทวน จานวน ๑ ชั่วโมง ชอื่ ครูผูส้ อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ สอนวนั ท.่ี .................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณคา่ และนามาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ จรงิ ๒. สาระสาคญั การสรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน สามารถทาให้นักเรียนนาความรู้ที่ได้นั้นไปทา แบบทดสอบวดั ความรู้ ความเขา้ ใจได้ ว่านักเรียนมีความรู้และความเขา้ ใจในเรื่องท่เี รียนมากน้อยเพยี งใด และ เปน็ การฝกึ ให้เปน็ คนมีระเบยี บวนิ ยั ในการทดสอบ ไม่ลอกคาตอบของผ้อู ่ืนใหร้ จู้ กั พ่ึงพาตนเอง ๓. ตัวชีว้ ัด ท ๕.๑ ม. ๒/๑ สรุปเน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า่ นในระดบั ท่ียากขน้ึ ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. นกั เรียนอธบิ ายสรปุ ทบทวนเน้อื หาต่างๆ ที่เรยี นในเรอื่ งโคลงภาพพระราชพงศาวดารได้ ๒. นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียนเรือ่ ง โคลงภาพพระราชพงศาวดารได้ ๓. มคี วามซื่อสตั ย์ สุจรติ และมวี นิ ัย ๕. สาระการเรยี นรู้ การสรุปเนอ้ื หา เพอ่ื ทดสอบความรู้ ๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรียน ๑. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปทบทวนเน้ือหาต่างๆ ที่เรียนในเรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดารจาก หนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทยชุด วรรณคดีวิจักษ์ ม. ๒โดยครูจะซักถามนักเรียนในเรื่องดังกล่าวจน นักเรียนเรม่ิ เขา้ ใจและจดจาได้มากพอสมควร ขั้นสอน ๒. จากนน้ั นกั เรยี นรับแบบทดสอบหลงั เรียนเร่ือง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ไปนัง่ ทาคนละ ๑ ชุด โดยการแยกทน่ี งั่ ให้มรี ะยะห่างกนั ห้ามลอกกนั เมอ่ื เสรจ็ แล้วใหน้ าสง่ ครู ๓. เมื่อนักเรียนทาแบบทดสอบเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ครูแจกแบบทดสอบคืนแก่นักเรียนโดยสลับกัน เพื่อจะได้เปลี่ยนกันตรวจ โดยครูเฉลยและอธิบายข้อที่ถูก เป็นการฝึกความซ่ือสัตย์ สุจริต และมีวินัย กับ ตนเองและผู้อ่นื

ข้ันสรุป ๔. นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรปุ ความรู้ ดังน้ี การสรปุ เนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอ่าน สามารถทาให้นักเรียนนาความรู้ทีไ่ ด้น้ันไปทา แบบทดสอบวัดความรู้ ความเข้าใจได้ วา่ นกั เรยี นมีความรู้และความเขา้ ใจในเร่ืองที่เรียนมากน้อยเพียงใด และ เปน็ การฝกึ ให้เป็นคนมรี ะเบียบวินยั ในการทดสอบ ไมล่ อกคาตอบของผู้อ่ืน ให้รู้จักพ่ึงพาตนเอง ๗. ส่ือการเรยี นรู้ ๑. หนงั สือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดวี ิจกั ษ์ ม. ๒ ๒. เอกสารแบบทดสอบหลงั เรยี นเรอื่ ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ วธิ ีการวัด ๑. สงั เกตนักเรียนอธิบายสรุปทบทวนเนื้อหาตา่ งๆ ท่เี รียนในเรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร(K) ๒. ประเมินผลการตรวจแบบทดสอบหลังเรียนเรอื่ ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร (K) ๓. ประเมนิ การสังเกตพฤติกรรม ซอ่ื สตั ย์ สุจรติ และมวี นิ ัย (A) เคร่อื งมือวัด ๑. แบบสังเกตนักเรียนอธิบายสรุปทบทวนเนื้อหาต่างๆ ท่ีเรียนในเร่ืองโคลงภาพพระราช-พงศาวดาร (K) ๒.แบบประเมนิ ผลการตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี นเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร (K) ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤตกิ รรม ซ่ือสัตย์ สุจรติ และมวี ินัย (A) เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรียนมีความร้แู ละเข้าใจเน้ือหาต่างๆ ท่ีเรยี นในเรอื่ งโคลงภาพพระราชพงศาวดาร และสามารถ ทาแบบทดสอบหลังเรียน(K) อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช)้ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ ๓. นักเรียนมีพฤติกรรมซ่ือสัตย์ สุจริต และมีวินัย (A) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช้) ถือว่า ผา่ นเกณฑ์ เกณฑ์ระดับคณุ ภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ๑ ควรปรบั ปรงุ

๘. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ วิธีการวัด เครื่องมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ ดา้ นความรู้ความเข้าใจ (K) สังเกตนักเรียนอธิบายสรุป แบบสงั เกตนักเรียนอธบิ าย นักเรียนมคี วามรแู้ ละเข้าใจ นักเรียนอธบิ ายสรุปทบทวน ทบทวนเนือ้ หาต่างๆ ทเี่ รยี น สรปุ ทบทวนเน้อื หาตา่ งๆ ที่ เนือ้ หาต่างๆ ทเี่ รยี นในเร่ือง เน้ือหาต่างๆ ที่เรียนในเรอื่ งโคลง ในเรอ่ื งโคลงภาพพระราช เรียนในเรื่องโคลงภาพพระ โคลงภาพพระราช ภาพพระราชพงศาวดารได้ พงศาวดาร ราช-พงศาวดาร พงศาวดาร และสามารถทา แบบทดสอบหลังเรยี น อยู่ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ประเมนิ ผลการตรวจ แบบประเมินผลการตรวจ ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลงั เรียนเร่อื ง แบบทดสอบหลังเรยี นเร่อื ง (พอใช)้ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ เรือ่ ง โคลงภาพพระราช โคลงภาพพระราช โคลงภาพพระราช พงศาวดารได้ พงศาวดาร พงศาวดาร นกั เรียนมผี ลการตรวจ แบบทดสอบหลังเรยี นเรอื่ ง ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ประเมนิ การสงั เกต แบบประเมินการสังเกต โคลงภาพพระราช (A) พฤตกิ รรม ซือ่ สัตย์ สุจรติ พฤตกิ รรม ซ่ือสัตย์ สุจรติ พงศาวดาร อยใู่ นระดบั มีความซือ่ สตั ย์ สจุ ริต และมวี นิ ยั และมวี ินัย และมวี นิ ัย คณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช)้ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ นักเรยี นมพี ฤติกรรมซอ่ื สตั ย์ สุจรติ และมีวินัย อยู่ใน ระดับคณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมินผลตามสภาพจรงิ ดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสังเกตนักเรียนอธิบายสรุปทบทวนเน้ือหาต่างๆ ท่ีเรียนในเร่ืองโคลงภาพพระราชพงศาวดารและ แบบประเมินผลการตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนเรือ่ ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร (K) ระดับคณุ ภาพ รายการ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ประเมิน ๔๓๒๑ อธบิ ายสรปุ ทบทวน อธิบายสรปุ ทบทวน อธิบายสรปุ ทบทวน อธิบายสรุปทบทวน อธิบายสรุปทบทวน เน้ือหาตา่ งๆ ท่เี รยี น เน้อื หาตา่ งๆ ทีเ่ รยี น เนอ้ื หาต่างๆ ที่เรียน เนื้อหาต่างๆ ท่เี รียน เนื้อหาต่างๆ ทีเ่ รียน ในเรอ่ื งโคลงภาพพระ ในเรือ่ งโคลงภาพพระ ในเรือ่ งโคลงภาพพระ ในเรือ่ งโคลงภาพพระ ในเร่ืองโคลงภาพพระ ราชพงศาวดาร (K) ราชพงศาวดารได้ ราชพงศาวดารได้ ราชพงศาวดารได้ ราชพงศาวดารได้ ถกู ต้องละเอยี ด คอ่ นขา้ งถกู ต้องดี ถูกต้องบา้ งบางสว่ น ถูกต้องเพียงเลก็ น้อย ชัดเจนดมี าก ๒. แบบประเมนิ ผลการทาแบบทดสอบหลงั เรียนเร่อื ง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร (P)

รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ๔ ๓๒ ๑ ทาแบบทดสอบได้ แบบทดสอบหลงั เรียน ทาแบบทดสอบได้ ทาแบบทดสอบได้ ทาแบบทดสอบได้ ๐-๔ คะแนน เรอื่ ง โคลงภาพพระ ๙-๑๐ คะแนน ๗-๘ คะแนน ๕-๖ คะแนน จาก ๒๐ ข้อ/๒ ราชพงศาวดาร (P) จาก ๒๐ ข้อ/๒ จาก ๒๐ ข้อ/๒ จาก ๒๐ ข้อ/๒ ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรม ซื่อสตั ย์ สุจริต และมีวินยั (A) ควรปรับปรงุ ๑ ระดับคณุ ภาพ รายการ ดมี าก ดี พอใช้ ประเมิน ๔๓๒ ซอ่ื สัตย์ สจุ รติ มีวนิ ยั เห็นคณุ คา่ ใน ค่อนข้างเห็นคณุ คา่ ใน เห็นคณุ คา่ ใน เห็นคณุ คา่ ใน (A) การศึกษาวรรณคดี การศึกษาวรรณคดี การศกึ ษาวรรณคดี การศึกษาวรรณคดี และวรรณกรรมไทย และวรรณกรรมไทย และวรรณกรรมไทย และวรรณกรรมไทย รวมท้งั มีความซอื่ สัตย์ รวมทง้ั มีความซอ่ื สตั ย์ รวมทง้ั มคี วามซือ่ สตั ย์ รวมทั้งมีความซอ่ื สตั ย์ สุจรติ และมีวนิ ัยใน สจุ รติ และมวี ินัยใน สจุ รติ และมวี นิ ยั ใน สุจรติ และมีวนิ ัยใน การทาแบบทดสอบ การทาแบบทดสอบ การทาแบบทดสอบ การทาแบบทดสอบ วดั ความรดู้ มี าก วัดความรดู้ ี วดั ความรบู้ ้าง วัดความรเู้ พียง พอสมควร เล็กนอ้ ย

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๒๐ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ การประพันธว์ รรณศิลป์ (บทเสภาสามัคคเี สวก) เรื่อง ร้คู า รู้ความ จานวน ๑ ชั่วโมง ชอื่ ครูผู้สอน นางสาวจริ าพร กุลให้ สอนวนั ท.่ี .................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพื่อนาไปใชต้ ัดสินใจ แก้ปัญหาในการ ดาเนนิ ชวี ิตและมีนิสัยรักการอา่ น ๒. สาระสาคญั การเข้าใจความหมายของคาศัพท์จะทาให้การอ่านและศึกษาวรรณคดีได้ชัดเจน เข้าใจได้ง่ายมาก ย่งิ ข้นึ ๓. ตวั ชวี้ ัด ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง ๔. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นักเรียนอธิบายความหมายของคาศัพท์ในเรอื่ ง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามัคคี เสวกได้ ๒. นักเรียนค้นหาความหมาย และบอกคาศัพท์จากความหมาย ท่ีอ่านในเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวศิ วกรรมาและสามคั คเี สวกได้ ๔. มุ่งม่ันในการทางาน ๕. สาระการเรยี นรู้ คาศพั ทใ์ นเรื่อง บทเสภาสามคั คีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามคั คเี สวก

๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันนาเข้าสบู่ ทเรียน ๑. นกั เรียนและครูร่วมกนั สนทนา โดยครถู ามวา่ - การรคู้ วามหมายของคาศพั ท์ ในเรื่องทเี่ รากาลงั จะศกึ ษาน้นั สาคญั หรือไมอ่ ย่างไร ข้นั สอน ๒. จากนั้นนักเรียนและครูร่วมกันศึกษาเรื่องบทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามัคคีเสวก ในส่วนของบทวเิ คราะห์จากหนงั สือเรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดวี ิจกั ษ์ ม. ๒ หนา้ ๓๒-๓๘ พอ ทราบประวัติความเป็นมาของเรื่องพอสังเขป ๓. เมอื่ ศึกษาในส่วนของบทวเิ คราะห์เรียบร้อยแล้ว ครชู ้ีแจงกับนกั เรยี นวา่ ก่อนทเี่ ราจะศึกษาในส่วน ของเนอ้ื หาน้ัน เราต้องทราบความหมายของคาศพั ท์กอ่ น เพ่ือทเ่ี ราจะได้อ่านเน้อื เรอ่ื งอยา่ งเข้าใจได้โดยง่าย ๔. จากนนั้ นกั เรียนทาแบบฝึกหดั เร่อื ง รจู้ กั คา นาการอา่ น โดยแบง่ เปน็ ๒ ตอน ดงั นี้ - ตอนท่ี ๑ ให้นักเรียนจับคู่คาศัพท์ให้สัมพันธ์กันกับความหมาย เป็นการฝึกให้นักเรียนได้ค้นหาความหมาย จากคาศพั ท์ที่กาหนดให้ - ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนเลือกคาศัพท์ที่กาหนดไปเขียนลงในช่องว่างให้สัมพันธก์ ับภาพที่กาหนดให้ เป็นการฝึก ใหน้ ักเรียนฝกึ บอกคาศพั ท์จากความหมาย (ภาพ) ทก่ี าหนดให้ เม่อื เรยี บรอ้ ยแลว้ ให้นาสง่ ครู เฉลยบนกระดาน ใหน้ กั เรยี นแลกเปล่ยี นกนั ตรวจสอบความถูกต้อง และ อา่ นคาศพั ท์ พรอ้ มความหมายของคาศัพทน์ ้ันอย่างพร้อมเพรยี งกนั ข้นั สรุป ๕. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ โดยการทบทวนความหมายของคาศัพท์ ครูจะยกตัวอย่าง คาศพั ท์ และใหน้ กั เรยี นบอกความหมาย ๗. สื่อการเรยี นรู้ ๑. หนังสอื เรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดวี จิ ักษ์ ม. ๒ ๒. เอกสารแบบฝึกหัดเรื่อง ร้จู ักคานาการอา่ น ๘. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ วิธกี ารวดั ๑. สังเกตการอ่านและอธิบายความหมายของคาศัพท์ในเร่ือง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและ สามคั คเี สวก (K) ๒. ประเมนิ ผลการค้นหาความหมาย และบอกคาศัพท์จากความหมาย ที่อา่ นในเรื่อง บทเสภาสามัคคี เสวก ตอนวิศวกรรมาและสามคั คีเสวก โดยการตรวจแบบฝึกหดั เร่อื ง ร้จู กั คา นาการอ่าน (P) ๓. ประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมมุ่งมน่ั ในการทางาน (A)

เคร่อื งมือวัด ๑. แบบสงั เกตการอา่ นและอธิบายความหมายของคาศัพท์ในเรื่อง บทเสภาสามัคคเี สวก ตอนวศิ วกรร มาและสามัคคีเสวก (K) ๒. ประเมนิ ผลการค้นหาความหมาย และบอกคาศัพทจ์ ากความหมาย ท่ีอา่ นในเร่ือง บทเสภาสามคั คี เสวก ตอนวศิ วกรรมาและสามัคคเี สวก จากแบบฝึกหดั เรื่อง รู้จักคา นาการอ่าน (P) ๓. ประเมินการสังเกตพฤติกรรมมุ่งมน่ั ในการทางาน (A) เกณฑ์การประเมนิ ๑. นักเรียนมีความรู้ จากการอ่านและอธิบายความหมายของคาศัพท์ในเร่ือง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวศิ วกรรมาและสามคั คีเสวก (K) อยู่ในระดบั คุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการค้นหาความหมาย และบอกคาศัพท์จากความหมาย ที่อ่านใน เร่ือง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามัคคีเสวก จากการทาแบบฝึกหัดเรื่อง รู้จักคา นาการอ่าน (P) อย่ใู นระดับคณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช้) ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ ๓. นักเรียนมีพฤติกรรมมุ่งม่ันในการทางาน (A) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถือว่าผ่าน เกณฑ์ เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๑ ควรปรับปรงุ

๘. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ วิธกี ารวดั เครือ่ งมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมิน ดา้ นความรู้ความเข้าใจ (K) สังเกตการอ่านและอธบิ าย แบบสงั เกตการอา่ นและ นกั เรียนมีความรู้ จากการ นักเรยี นอธิบายความหมายของ ความหมายของคาศัพท์ใน คาศพั ท์ในเรือ่ ง บทเสภาสามัคคี เรอ่ื ง บทเสภาสามคั คีเสวก อธบิ ายความหมายของ อา่ นและอธิบายความหมาย เสวก ตอนวศิ วกรรมาและสามัคคี ตอนวศิ วกรรมาและสามคั คี เสวกได้ เสวก คาศพั ท์ในเรือ่ ง บทเสภา ของคาศพั ท์ในเรอื่ ง บท ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ประเมินผลการค้นหา สามคั คเี สวก ตอนวศิ วกรร เสภาสามคั คเี สวก ตอน นักเรียนคน้ หาความหมาย และ ความหมาย และบอก บอกคาศพั ทจ์ ากความหมาย ท่ี คาศัพท์จากความหมาย ที่ มาและสามคั คเี สวก วิศวกรรมาและสามัคคเี สวก อา่ นในเรือ่ ง บทเสภาสามัคคเี สวก อ่านในเรื่อง บทเสภาสามคั คี ตอนวิศวกรรมาและสามคั คีเสวก เสวก ตอนวิศวกรรมาและ อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ๒ ขึน้ ได้ สามคั คเี สวก โดยการตรวจ แบบฝึกหดั เร่อื ง รู้จักคา นา ไป (พอใช)้ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ การอา่ น (A) ประเมินผลการคน้ หา นกั เรยี นมีทกั ษะ มุ่งมนั่ ในการทางาน ประเมินการสังเกต พฤตกิ รรมมุง่ มั่นในการ ความหมาย และบอก กระบวนการในการค้นหา ทางาน คาศัพทจ์ ากความหมาย ท่ี ความหมาย และบอก อา่ นในเร่อื ง บทเสภาสามัคคี คาศพั ท์จากความหมาย ที่ เสวก ตอนวศิ วกรรมาและ อา่ นในเรอ่ื ง บทเสภาสามัคคี สามัคคเี สวก จาก เสวก ตอนวศิ วกรรมาและ แบบฝึกหัดเรื่อง รจู้ กั คา นา สามัคคเี สวก จากการทา การอา่ น แบบฝกึ หัดเรอ่ื ง รจู้ ักคา นา การอา่ น อย่ใู นระดับ คุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ ประเมินการสงั เกต นกั เรยี นมพี ฤติกรรมมุ่งม่ัน พฤติกรรมมงุ่ ม่นั ในการ ในการทางาน อย่ใู นระดบั ทางาน คณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช)้ ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสังเกตการอ่านและอธบิ ายความหมายของคาศพั ทใ์ นเร่ือง บทเสภาสามคั คีเสวก ตอนวศิ วกรรมา และสามคั คีเสวก (K) รายการ ดีมาก ระดบั คณุ ภาพ ควรปรบั ปรุง ประเมิน ๔ ๑ ดี พอใช้ อ่านและอธิบาย ๓๒ ความหมายของ อา่ นและอธบิ าย อา่ นและอธิบาย อ่านและอธิบาย อา่ นและอธบิ าย คาศัพทใ์ นเรื่อง บท ความหมายของ ความหมายของ ความหมายของ ความหมายของ เสภาสามคั คีเสวก คาศัพท์ในเร่ือง บท คาศัพท์ในเร่อื ง บท คาศัพทใ์ นเรือ่ ง บท คาศพั ทใ์ นเรื่อง บท ตอนวศิ วกรรมาและ เสภาสามคั คเี สวก เสภาสามคั คเี สวก เสภาสามคั คเี สวก เสภาสามคั คเี สวก สามัคคเี สวก ได้ ตอนวศิ วกรรมาและ ตอนวิศวกรรมาและ ตอนวิศวกรรมาและ ตอนวิศวกรรมาและ ถูกต้องดีมาก สามัคคเี สวก ได้ สามัคคเี สวก ได้ สามคั คเี สวก ได้ สามคั คเี สวก (K) คอ่ นข้างถกู ต้องดี ถกู ตอ้ งบา้ งบางคา ถกู ตอ้ งบ้างเลก็ น้อย

๒. ประเมนิ ผลการค้นหาความหมาย และบอกคาศพั ทจ์ ากความหมาย ท่ีอ่านในเร่อื ง บทเสภาสามัคคี เสวก ตอนวศิ วกรรมาและสามัคคเี สวก จากแบบฝกึ หดั เรื่อง รู้จกั คา นาการอ่าน (P) รายการ ดีมาก ระดับคุณภาพ ควรปรับปรุง ประเมนิ ๔ ๑ ดี พอใช้ ๓๒ ตอนที่ ๑ ตอนท่ี ๑ ตอนท่ี ๑ ตอนท่ี ๑ จบั คูค่ าศัพท์ สมั พนั ธ์ ค้นหาความหมาย จับค่คู าศัพท์ สมั พันธ์ จับค่คู าศัพท์ สัมพันธ์ จบั คคู่ าศพั ท์ สมั พันธ์ กนั กับความหมาย ได้ และบอกคาศพั ทจ์ าก กนั กับความหมาย ได้ กันกบั ความหมาย ได้ กันกับความหมาย ได้ ถูกต้อง ๐-๔ คา ความหมาย ท่ีอ่านใน ถกู ตอ้ ง ๙-๑๐ คา ถูกตอ้ ง ๗-๘ คา ถูกต้อง ๕-๖ คา เรื่อง บทเสภาสามคั คี เสวก ตอนวิศวกรรมา ตอนท่ี ๒ ตอนที่ ๒ ตอนที่ ๒ ตอนที่ ๒ และสามคั คเี สวก จาก เลอื กคาศพั ท์ที่ เลือกคาศพั ท์ที่ เลือกคาศพั ทท์ ี่ เลอื กคาศพั ทท์ ่ี แบบฝกึ หัดเร่ือง รจู้ ัก กาหนดไปเขยี นลงใน กาหนดไปเขียนลงใน กาหนดไปเขียนลงใน กาหนดไปเขียนลงใน คา นาการอา่ น (P) ช่องวา่ งสมั พนั ธก์ บั ช่องวา่ งสัมพันธก์ บั ชอ่ งว่างสมั พันธก์ ับ ช่องวา่ งสมั พันธ์กับ ภาพที่กาหนดได้ ภาพทีก่ าหนดได้ ภาพท่ีกาหนดได้ ภาพทก่ี าหนดได้ ถกู ตอ้ ง ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง ถูกตอ้ ง ๙-๑๐ ข้อ ๗-๘ ขอ้ ๕-๖ ขอ้ ๐-๔ ข้อ ๓. ประเมินการสงั เกตพฤติกรรมมงุ่ มนั่ ในการทางาน (A) รายการ ดีมาก ระดบั คุณภาพ ควรปรับปรุง ประเมิน ๔ ๑ ดี พอใช้ ๓๒ พยายามคน้ หา มุง่ มัน่ ในการทางาน พยายามคน้ หา พยายามคน้ หา พยายามค้นหา คาศัพท์และ (A) คาศพั ท์และ คาศัพท์และ คาศพั ทแ์ ละ ความหมายของ ความหมายของ ความหมายของ คาศพั ท์ รวมทั้งมี ความหมายของ มารยาทในการอ่าน คาศพั ท์ รวมทงั้ มี คาศพั ท์ รวมทง้ั มี คาศพั ท์ รวมทง้ั มี เพยี งเลก็ นอ้ ย มารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน เปน็ ประจา บ่อยครัง้ บ้างบางครั้ง

แบบฝึ กหดั เร่ือง รู้คา รู้ความ ตอนที่ ๑ คาชแี้ จง ใหน้ กั เรียนจับคู่คาศพั ท์ให้สัมพันธก์ นั กบั ความหมาย …………๑. ไพรัช ก. เงนิ …………๒. เฉโก ข. มวี ฒั นธรรม …………๓. เสวก ค. งามสะอาดหมดจด …………๔. รชั ดา ง. ยา …………๕. นารนิ จ. ผู้หญงิ …………๖. วิลาส ฉ. ตา่ งประเทศ …………๗. ศรวี ไิ ล ช. คน …………๘. สาอาง ซ. ข้าราชการในสานัก …………๙. โอสถ ฌ. งามมีเสนห่ ์ …………๑๐. นรชน ญ. ฉลาดแกมโกง ชือ่ -สกุล………………………………………………………..เลขที่……..ชั้น……..

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๒๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ หน่วยการเรยี นรู้ท่ี ๓ การประพันธ์วรรณศลิ ป์ (บทเสภาสามัคคเี สวก) เร่ือง ร้อยกรองทานองงาม จานวน ๑ ชั่วโมง ชอ่ื ครูผูส้ อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ สอนวนั ท.่ี .................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิด เพ่ือนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ัญหาในการ ดาเนนิ ชวี ติ และมีนิสัยรักการอ่าน ๒. สาระสาคญั การอ่านออกเสยี งบทร้อยกรองให้ไพเราะควรคานึงถึงการแบ่งจังหวะการอ่าน การเออ้ื สมั ผัสของคาให้ มเี สียงคลอ้ งจองกัน และใช้นา้ เสยี งใหส้ อดคล้องกับเนอ้ื เรอ่ื ง ๓. ตวั ชี้วัด ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ท ๑.๑ ม. ๒/๘ มีมารยาทในการอา่ น ๔. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. นักเรยี นอธิบายหลกั การอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยกรองได้ ๒. นักเรยี นอา่ นบทร้อยกรองในเรอ่ื ง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคเี สวกได้ ๓. มมี ารยาทในการอา่ น ๕. สาระการเรยี นรู้ การอา่ นออกเสยี งบทร้อยกรองในเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวศิ วกรรมาและสามัคคเี สวก ๖. กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเข้าสูบ่ ทเรียน ๑. นักเรียนและครสู นทนากนั โดยครใู ช้คาถามว่า - อา่ นอย่างไรใหน้ า่ ฟัง ขน้ั สอน ๒. นักเรียนศึกษาความรู้เร่ือง หลักการอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง โดยครูเป็นผู้อธบิ าย ซักถาม ตอบ คาถาม และแสดงความคิดเห็นจนกวา่ นกั เรยี นจะเข้าใจ

๓. จากน้ันนกั เรยี นและครูร่วมกนั แบ่งจงั หวะการอ่านบทร้อยกรองในเรื่องบทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและสามัคคีเสวก จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทยชุด วรรณคดีวิจักษ์ ม. ๒ หน้า ๓๙- ๔๐ โดยใชด้ ินสอทาเครอ่ื งหมาย / แลว้ อา่ นออกเสียงเป็นทานองเสนาะ ครปู ระเมินผลโดยภาพรวม ขั้นสรุป ๔. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรุปความรเู้ กย่ี วกบั หลกั การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรอง อีกครัง้ ๗. ส่อื การเรียนรู้ หนงั สือเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดีวจิ ักษ์ ม. ๒ ๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วธิ กี ารวัด ๑. สงั เกตการอธิบายหลักการอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรอง (K) ๒. ประเมินผลการสังเกตการอ่านออกเสียงและแบ่งจังหวะการอ่านบทร้อยกรองในเรื่อง บทเสภา สามคั คเี สวก ตอนวศิ วกรรมาและสามัคคีเสวก (P) ๓. ประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมมีมารยาทในการอ่าน (A) เคร่อื งมือวดั ๑. แบบสังเกตการอธบิ ายหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง (K) ๒. แบบประเมินผลการสังเกตการอ่านออกเสียงและแบ่งจังหวะการอ่านบทร้อยกรองในเร่ือง บท เสภาสามัคคีเสวก ตอนวศิ วกรรมาและสามคั คเี สวก (P) ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤตกิ รรมมีมารยาทในการอา่ น (A) เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรียนมีความรู้ เกี่ยวกับหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยกรอง (K) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช้) ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการอ่านออกเสียงและแบ่งจังหวะการอ่านบทร้อยกรองในเรื่อง บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามัคคีเสวก (P) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถือว่าผ่าน เกณฑ์ ๓. นักเรียนมีพฤติกรรมมีมารยาทในการอ่าน (A) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช้) ถือว่าผ่าน เกณฑ์ เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ๔ ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๑ ควรปรับปรุง

๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วิธกี ารวดั เครอ่ื งมือวดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ ดา้ นความร้คู วามเข้าใจ (K) สงั เกตการอธบิ ายหลักการ แบบสังเกตการอธบิ าย นกั เรียนมีความรู้ เกย่ี วกบั นกั เรยี นอธิบายหลกั การอ่านออก เสยี งบทร้อยกรองได้ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยกรอง หลักการอา่ นออกเสียงบท หลกั การอ่านออกเสียงบท ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) รอ้ ยกรอง ร้อยกรอง อยูใ่ นระดบั นกั เรียนอ่านบทรอ้ ยกรองในเรอ่ื ง บทเสภาสามคั คีเสวก ตอน คุณภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช)้ วิศวกรรมาและสามคั คเี สวกได้ ถือว่าผ่านเกณฑ์ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) ประเมินผลการสงั เกตการ แบบประเมนิ ผลการสงั เกต นกั เรียนมที ักษะ มมี ารยาทในการอา่ น อ่านออกเสียงและแบง่ การอ่านออกเสยี งและแบง่ กระบวนการในการอ่านออก จังหวะการอ่านบทร้อยกรอง จังหวะการอา่ นบทร้อยกรอง เสียงและแบ่งจังหวะการ ในเรอื่ ง บทเสภาสามัคคี ในเร่อื ง บทเสภาสามัคคี อา่ นบทรอ้ ยกรองในเรือ่ ง เสวก ตอนวศิ วกรรมาและ เสวก ตอนวศิ วกรรมาและ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน สามคั คเี สวก สามคั คเี สวก วิศวกรรมาและสามัคคเี สวก อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ ประเมินการสังเกต แบบประเมนิ การสงั เกต นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมมี พฤติกรรมมมี ารยาทในการ พฤติกรรมมมี ารยาทในการ มารยาทในการอ่าน อยใู่ น อา่ น อ่าน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช)้ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอธิบายหลักการอ่านออกเสียงบทรอ้ ยกรอง (K) รายการ ดีมาก ระดับคณุ ภาพ ควรปรับปรุง ประเมนิ ๔ ๑ ดี พอใช้ ๓๒ อธิบายหลักการอ่าน อธบิ ายหลักการอา่ น อธิบายหลกั การอ่าน อธิบายหลกั การอา่ น ออกเสียงบทร้อย อธบิ ายหลักการอา่ น ออกเสียงบทรอ้ ย ออกเสียงบทรอ้ ย ออกเสียงบทรอ้ ย กรอง ไดอ้ ยา่ งครา่ วๆ ออกเสยี งบทรอ้ ย กรองได้ถกู ตอ้ ง กรอง ไดค้ อ่ นข้าง กรอง ไดถ้ กู ต้องบ้าง เพียงเล็กน้อย กรอง (K) ละเอยี ดชัดเจนดีมาก ถูกตอ้ งดี บางสว่ น ๒. แบบประเมินผลการสังเกตการอ่านออกเสียงและแบ่งจังหวะการอ่านบทร้อยกรองในเรื่อง บทเสภา สามัคคเี สวก ตอนวศิ วกรรมาและสามคั คเี สวก (P) รายการ ดมี าก ระดับคุณภาพ ควรปรับปรุง ประเมิน ๔ ๑ ดี พอใช้ ๓๒ อ่านออกเสยี งและ อา่ นออกเสียงได้ อา่ นออกเสียงได้ อา่ นออกเสยี งได้ อ่านออกเสยี งได้ แบ่งจงั หวะการอ่าน ถูกตอ้ งตามอักขรวิธี ถกู ต้องตามอกั ขรวิธี ถูกตอ้ งตามอักขรวิธี ถกู ตอ้ งตามอกั ขรวิธี บทรอ้ ยกรองในเร่ือง เสยี งดังชัดเจน เว้น เสยี งดังชัดเจน เว้น เสียงดงั ชดั เจน แตย่ งั บทเสภาสามคั คีเสวก จงั หวะเหมาะสม จงั หวะเหมาะสม ต้องปรบั ปรงุ เรือ่ งการ

ตอนวิศวกรรมาและ สามารถทอดเสยี ง มกี ารทอดเสยี ง เสยี งดงั ชัดเจน เวน้ เว้นจงั หวะ และ สามัคคเี สวก (P) เอ้ือนเสียง และใช้ เอ้ือนเสียงในบาง จงั หวะเหมาะสม ทว่ งทานองในการ นา้ เสียงแสดงอารมณ์ จังหวะและใชน้ ้าเสยี ง พยายามทอดเสยี ง อา่ น ไดไ้ พเราะ แสดงอารมณไ์ ดด้ ี เอ้ือนเสยี งและใช้ น้าเสียงแสดงอารมณ์ ในบางจงั หวะไดด้ ี ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมมมี ารยาทในการอา่ น (A) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๑ ๔๓๒ พยายามทจ่ี ะอ่านออก พยายามทจ่ี ะอ่านออก พยายามทีจ่ ะอา่ นออก ไม่คอ่ ยพยายามทีจ่ ะอา่ น มมี ารยาทในการอ่าน เสยี งบทร้อยกรองให้ไดใ้ น เสียงบทรอ้ ยกรองใหไ้ ด้ใน เสยี งบทร้อยกรองใหไ้ ดใ้ น ออกเสยี งบทรอ้ ยกรองให้ (A) ระดบั ทด่ี เี ปน็ ประจา ระดับทีด่ อี ย่บู ่อยคร้งั ระดบั ที่ดบี า้ งบางครง้ั ได้ในระดับที่ดี รวมทั้ง รวมทั้งรจู้ กั เห็นคณุ ค่า รวมท้ังรจู้ ักเห็นคณุ ค่า รวมท้ังรูจ้ ักเหน็ คุณคา่ รู้จักเห็นคุณคา่ ของการ ของการอา่ นบทรอ้ ยกรอง ของการอ่านบทรอ้ ยกรอง ของการอา่ นบทรอ้ ยกรอง อ่านบทร้อยกรอง และมี และมมี ารยาทในการอา่ น และมีมารยาทในการอา่ น และมมี ารยาทในการอา่ น มารยาทในการอ่าน

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๒๒ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๓ การประพนั ธ์วรรณศลิ ป์ (บทเสภาสามัคคเี สวก) เรอ่ื ง อาขยานสาราญใจ จานวน ๑ ชั่วโมง ชื่อครูผสู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ สอนวันที.่ .................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คณุ ค่า และนามาประยุกต์ใชใ้ นชวี ิตจริง ๒. สาระสาคญั การอ่านบทอาขยาน คือ บทท่องจา ท่ีทาให้เห็นคุณค่าของภาษาไทย บทอาขยานมักสอดแทรกขอ้ คดิ ท่ีสามารถไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ท้ังยังสามารถฝึกทักษะการอ่าน และช่วยการจดจาในลักษณะคาประพันธ์ ฉันทลกั ษณข์ องบทนั้นได้ ๓. ตัวชว้ี ดั ท ๕.๑ ม. ๒/๕ ทอ่ งจาบทอาขยานตามที่กาหนด และบทร้อยกรองทีม่ คี ุณคา่ ตามความสนใจ ๔. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นักเรียนอธบิ ายหลกั การอ่านบทอาขยานและบอกคุณคา่ ของบทอาขยานได้ ๒. นักเรียนท่องจาบทอาขยานได้ ๓. มมี ารยาทในการอา่ น ๕. สาระการเรียนรู้ การทอ่ งจาบทอาขยานจากบทเสภาสามคั คเี สวก ตอนวศิ วกรรมาและสามคั คีเสวก ๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน ๑. นกั เรยี นและครูรว่ มกันแสดงความคดิ เห็น โดยครใู ชค้ าถามว่า - ความจามีความสาคัญหรือไม่ เพราะเหตุใด ๒. จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั บอกชื่อเพลงทน่ี ักเรียนชอบ โดยครูถามวา่ - นกั เรยี นชอบเพลงนน้ั เพราะเหตใุ ด - นกั เรยี นฟงั เพลงนัน้ กี่ครัง้ จึงสามารถจาเน้ือเพลงได้ - การท่ีนักเรียนจาเพลงนนั้ ไดข้ ึน้ อยู่กบั สงิ่ ใดบา้ ง ข้ันสอน ๓. นักเรียนรว่ มกนั สนทนาเกีย่ วกบั ประสบการณใ์ นการท่องจาบทอาขยาน และข้อควรปรบั ปรงุ แก้ไข

๔. จากนั้นให้นักเรียนเปิดหนังสือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดวี จิ ักษ์ ม. ๒ หนา้ ๓๙ บทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมา ทบทวนการแบ่งจังหวะการอ่านบทร้อยกรองเมื่อชั่วโมงท่ีแล้ว จากนั้น ครกู าหนดให้นกั เรียนท่องจาบทอาขยาน ดังน้ี อนั ชาตใิ ดไร้ชา่ งชานาญศิลป์ เหมือนนารินไร้โฉมบรรโลมสงา่ ใครใครเหน็ ไมเ่ ป็นทจี่ าเริญตา เขาจะพากนั เย้ยให้อบั อาย ศลิ ปกรรมนาใจใหส้ รา่ งโศก ช่วยบรรเทาทกุ ขใ์ นโลกในเหือดหาย จาเริญตาพาใจให้สบาย อกี ร่างกายก็จะพลอยสขุ สราญ แมผ้ ใู้ ดไมน่ ยิ มชมสง่ิ งาม เมอื่ ถงึ ยามเศร้าอรุ านา่ สงสาร เพราะขาดเครื่องระงบั ดับราคาญ โอสถใดจะสมานซึ่งดวงใจ เพราะการชา่ งนส้ี าคญั อนั วิเศษ ทุกประเทศนานาทัง้ นอ้ ยใหญ่ จงึ ยกย่องศิลปะกรรม์นั้นทัว่ ไป ศรวี ไิ ลวิลาสดเี ปน็ ศรเี มือง ๕. นักเรียนอ่านออกเสียงบทอาขยานเป็นทานองเสนาะพร้อมกัน ๒ รอบ และพยายามจดจาและให้ แบ่งกล่มุ กลุ่มละ ๕ คน ไปท่องบทอาขยานกับครนู อกเวลาเรียนเพื่อประเมินผล ๖. หลงั จากน้นั ใหน้ กั เรยี นช่วยกนั บอกประโยชน์และคณุ ค่าของการท่องบทอาขยาน ขนั้ สรุป ๗. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนบทอาขยานท่ีกาหนดให้ท่องโดยการให้นักเรียนท่องให้ครูฟังอีก ๑ คร้ัง และสรุปความรู้ ดังนี้ การทอ่ งจาบทอาขยานทาให้มีตัวอย่างบทร้อยกรองทไี่ พเราะ และให้ขอ้ คดิ ดี ๆ สาหรบั สอนใจตนเอง และใช้อา้ งองิ เพอื่ ส่ือสารในโอกาสต่าง ๆ ๗. สอ่ื การเรียนรู้ หนงั สอื เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดีวจิ กั ษ์ ม. ๒ ๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ วธิ กี ารวัด ๑. สังเกตการอธิบายคุณค่าของบทอาขยานจากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามัคคี เสวก (K) ๒. ประเมินผลการท่องจาบทอาขยานจากบทเสภาสามคั คเี สวก ตอนวศิ วกรรมาและสามัคคเี สวก (P) ๓. ประเมินการสงั เกตพฤติกรรมมุง่ ม่นั ในการทางาน (A) เครอ่ื งมือวัด ๑. แบบสังเกตการอธิบายคุณค่าของบทอาขยานจากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและ สามัคคีเสวก (K) ๒. แบบประเมินผลการท่องจาบทอาขยานจากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและสามัคคี เสวก (P) ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤตกิ รรมมุ่งม่ันในการทางาน (A) เกณฑก์ ารประเมิน

๑. นักเรียนมีความรู้ เกี่ยวกับคุณค่าของบทอาขยานจากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมาและ สามัคคเี สวก (K) อยูใ่ นระดับคุณภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถือว่าผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการท่องจาบทอาขยานจากบทเสภาสามัคคีเสวก ตอนวิศวกรรมา และสามัคคีเสวก (P) อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช)้ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ ๓. นักเรียนมีพฤติกรรมมุ่งม่ันในการทางาน (A) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถือว่าผ่าน เกณฑ์ เกณฑร์ ะดับคณุ ภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๑ ควรปรับปรงุ ๘. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วธิ กี ารวัด เครอื่ งมือวดั ผล เกณฑ์การประเมิน ดา้ นความรคู้ วามเข้าใจ (K) สงั เกตการอธบิ ายคณุ คา่ ของ แบบสงั เกตการอธบิ าย นักเรียนมีความรู้ เกยี่ วกับ นักเรียนอธบิ ายหลกั การอา่ นบท บทอาขยานจากบทเสภา คุณคา่ ของบทอาขยานจาก คุณค่าของบทอาขยานจาก อาขยานและบอกคณุ ค่าของบท สามัคคเี สวก ตอนวศิ วกรร บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน บทเสภาสามคั คีเสวก ตอน อาขยานได้ มาและสามคั คีเสวก วศิ วกรรมาและสามัคคเี สวก วศิ วกรรมาและสามัคคเี สวก อยูใ่ นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึ้น ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ประเมินผลการทอ่ งจาบท แบบประเมินผลการทอ่ งจา ไป (พอใช้) ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ นกั เรียนท่องจาบทอาขยานได้ อาขยานจากบทเสภา บทอาขยานจากบทเสภา สามคั คเี สวก ตอนวิศวกรร สามคั คเี สวก ตอนวศิ วกรร นกั เรยี นมที กั ษะ มาและสามคั คเี สวก มาและสามคั คเี สวก กระบวนการในการทอ่ งจา บทอาขยานจากบทเสภา ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ประเมนิ การสังเกต แบบประเมนิ การสงั เกต สามคั คเี สวก ตอนวิศวกรร (A) พฤติกรรมมุง่ มนั่ ในการ พฤติกรรมมงุ่ ม่นั ในการ มาและสามคั คีเสวก อยู่ใน มมี ารยาทในการอา่ น ทางาน ทางาน ระดับคณุ ภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช้) ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ นักเรียนมีพฤตกิ รรมมุง่ มั่น ในการทางาน อยู่ในระดับ คุณภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช้) ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook