แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓๕ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ รน่ื รสวรรณคดี (ศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑) เร่อื ง คาศัพท์น่ารู้จากหลักศิลาจารกึ จานวน ๑ ช่ัวโมง ชือ่ ครผู ู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ สอนวันที่..................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด เพ่ือนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการ ดาเนินชวี ติ และมนี ิสัยรักการอ่าน ๒. สาระสาคญั ศลิ าจารึกหลกั ท่ี ๑ เปน็ จารกึ ของพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช การเข้าใจความหมายของคาศพั ท์จะทา ให้การอ่านและศกึ ษาวรรณคดไี ด้ชดั เจน เข้าใจได้ง่ายมากย่ิงข้ึน ๓. ตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทรอ้ ยกรองได้ถูกต้อง ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นสามารถอา่ นและอธบิ ายความหมายของคาศัพทใ์ นศลิ าจารึกหลักที่ ๑ ได้ ๒. นกั เรียนบอกคาศพั ท์ในศิลาจารึกหลกั ที่ ๑ ได้ ๓. มงุ่ มัน่ ในการทางาน ๕. สาระการเรยี นรู้ คาศพั ทใ์ นเรือ่ ง ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเข้าส่บู ทเรยี น ๑. นกั เรยี นและครรู ่วมกันสนทนา โดยครูถามวา่ - การร้คู วามหมายของคาศัพท์ ในเร่ืองท่เี รากาลงั จะศึกษานน้ั สาคญั หรอื ไม่อยา่ งไร ขนั้ สอน ๒. จากนั้นนักเรียนและครูร่วมกันศึกษาเร่ือง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ ในส่วนของบทวิเคราะห์ จาก หนังสือเรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดวี จิ กั ษ์ ม. ๒ หน้า ๔๕-๔๙ โดยครูเปน็ ผ้อู ธบิ าย ๓. เม่อื ศึกษาในสว่ นของบทวเิ คราะห์เรียบร้อยแล้ว ครูชีแ้ จงกบั นกั เรยี นวา่ กอ่ นท่ีเราจะศึกษาในส่วน ของเน้อื หานั้น เราต้องทราบความหมายของคาศพั ท์กอ่ น เพอ่ื ท่ีเราจะได้อ่านเนอื้ เรือ่ งอย่างเขา้ ใจไดโ้ ดยงา่ ย
๔. จากน้ันนักเรียนทาแบบฝึกหัดเร่ือง ศัพท์ศิลาจารึก โดยให้นักเรียนสังเกตภาพที่กาหนดให้แล้วนา คาศัพท์หรือสานวนในศิลาจารึกหลักที่ ๑ มาเติมให้มีความสัมพันธ์กัน เม่ือเรียบร้อยแล้วให้นาส่งครู เฉลยบน กระดาน ให้นักเรียนแลกเปล่ยี นกันตรวจสอบความถูกต้อง และอ่านคาศัพท์ พร้อมความหมายของคาศัพทน์ ้ัน อยา่ งพรอ้ มเพรยี งกนั ขั้นสรุป ๕. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ โดยการทบทวนความหมายของคาศัพท์ ครูจะยกตัวอย่าง คาศพั ท์ และใหน้ กั เรยี นบอกความหมาย ๗. สอื่ การเรยี นรู้ ๑. หนงั สือเรยี น รายวชิ าพน้ื ฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดวี จิ กั ษ์ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๒. เอกสารแบบฝึกหดั เรอ่ื ง ศัพทศ์ ลิ าจารกึ ๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ วิธกี ารวดั ๑. สงั เกตการอา่ นและอธิบายความหมายของคาศัพท์ในเร่ือง ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑ (K) ๒. ประเมนิ ผลการบอกคาศัพทห์ รอื สานวนในเรื่อง ศิลาจารกึ หลักที่ ๑ โดยตรวจแบบฝึกหัดเร่ือง ศัพท์ศลิ าจารึก (P) ๓. ประเมินการสังเกตพฤติกรรมมุ่งมนั่ ในการทางาน (A) เคร่อื งมอื วัด ๑. แบบสงั เกตการอ่านและอธบิ ายความหมายของคาศพั ท์ในเรื่อง ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ (K) ๒. แบบประเมนิ ผลการบอกคาศัพท์หรอื สานวนในเรื่อง ศิลาจารึก หลกั ที่ ๑ โดยแบบฝกึ หัดเรอ่ื ง ศพั ท์ศลิ าจารึก (P) ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤตกิ รรมมุ่งมั่นในการทางาน (A) เกณฑก์ ารประเมิน ๑. นักเรยี นมคี วามรู้ จากการอา่ นและอธิบายความหมายของคาศพั ท์ในเรื่อง ศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑ (K) อยใู่ นระดับคุณภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช้) ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการบอกคาศัพท์หรือสานวนในเร่ือง ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ โดยทา แบบฝึกหัดเร่ือง ศัพท์ศิลาจารึก (P) อยใู่ นระดับคุณภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช้) ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ ๓. นักเรียนมีพฤติกรรมมุ่งมั่นในการทางาน (A) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถือว่าผ่าน เกณฑ์ เกณฑ์ระดับคุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ๑ ควรปรบั ปรุง
๘. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วธิ ีการวดั เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน ดา้ นความร้คู วามเขา้ ใจ (K) สังเกตการอ่านและอธบิ าย แบบสงั เกตการอ่านและ นักเรียนมคี วามรู้ จากการ นกั เรยี นสามารถอ่านและอธบิ าย ความหมายของคาศัพท์ใน อธบิ ายความหมายของ อ่านและอธบิ ายความหมาย ความหมายของคาศพั ท์ในศลิ า เร่อื ง ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ คาศัพทใ์ นเร่ือง ศลิ าจารกึ ของคาศพั ท์ในเรอ่ื ง ศลิ า จารกึ หลกั ท่ี ๑ ได้ หลกั ท่ี ๑ จารกึ หลักที่ ๑ อยู่ในระดบั คุณภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช)้ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ประเมนิ ผลการบอกคาศพั ท์ แบบประเมินผลการบอก ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ นักเรยี นบอกคาศพั ทใ์ นศิลาจารึก หรอื สานวนในเรอ่ื ง ศิลา คาศัพทห์ รอื สานวนในเรื่อง หลักท่ี ๑ ได้ จารกึ หลกั ท่ี ๑ โดยตรวจ ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ โดย นักเรียนมที กั ษะ แบบฝกึ หัดเรอ่ื ง ศัพท์ศิลา แบบฝึกหดั เร่อื ง ศัพทศ์ ลิ า กระบวนการในการบอก จารึก จารึก คาศพั ท์หรือสานวนในเร่อื ง ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑ โดยทา ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ประเมนิ การสังเกต แบบประเมนิ การสังเกต แบบฝกึ หัดเรื่อง ศัพทศ์ ลิ า (A) พฤตกิ รรมมุ่งม่ันในการ พฤตกิ รรมมุง่ ม่นั ในการ จารกึ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ มุ่งม่นั ในการทางาน ทางาน ทางาน ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถือวา่ ผา่ น เกณฑ์ นกั เรียนมีพฤตกิ รรมมงุ่ ม่ัน ในการทางาน อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช)้ ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมินผลตามสภาพจรงิ ดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอ่านและอธบิ ายความหมายของคาศพั ทใ์ นเรอ่ื ง ศิลาจารึก หลกั ที่ ๑ (K) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ อ่านและอธบิ าย อา่ นและอธิบาย อา่ นและอธิบาย อ่านและอธบิ าย อา่ นและอธิบาย ความหมายของ ความหมายของ ความหมายของ ความหมายของ ความหมายของ คาศพั ทใ์ นเร่อื ง ศลิ า คาศพั ทใ์ นเรอ่ื ง ศลิ า คาศัพท์ในเร่อื ง ศิลา คาศัพท์ในเรอื่ ง ศลิ า คาศพั ท์ในเรอื่ ง ศลิ า จารึก หลกั ท่ี ๑ ได้ จารึก หลกั ท่ี ๑ ได้ จารึก หลกั ท่ี ๑ ได้ จารกึ หลักที่ ๑ ได้ จารกึ หลักที่ ๑ (K) ถกู ตอ้ งดมี าก คอ่ นข้างถกู ต้องดี ถูกตอ้ งบ้างบางคา ถกู ตอ้ งบา้ งเล็กน้อย
๒. แบบประเมินผลการบอกคาศัพท์หรือสานวนในเร่ือง ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ โดยแบบฝึกหัดเร่ือง ศัพท์ ศิลาจารกึ (P) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๔๓๒๑ บอกคาศพั ทห์ รือ บอกคาศัพท์หรือ บอกคาศัพทห์ รอื บอกคาศัพท์หรือ บอกคาศพั ท์หรอื สานวนในเรอื่ ง ศลิ า สานวนในเรื่อง ศลิ า สานวนในเร่อื ง ศิลา สานวนในเร่ือง ศลิ า สานวนในเร่ือง ศิลา จารึก หลกั ท่ี ๑ ได้ จารกึ หลกั ที่ ๑ ได้ จารึก หลักที่ ๑ ได้ จารกึ หลักที่ ๑ ได้ จารกึ หลักท่ี ๑ โดย ถูกตอ้ ง ๙-๑๐ ข้อ ถูกตอ้ ง ๗-๘ ข้อ ถกู ต้อง ๕-๖ ข้อ ถกู ต้อง ๐-๔ ข้อ แบบฝึกหดั เรื่อง ศัพท์ ศลิ าจารึก (P) ๓. แบบประเมนิ การสงั เกตพฤตกิ รรมมงุ่ มัน่ ในการทางาน (A) รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๑ ๔๓๒ มุ่งมนั่ ในการทางาน พยายามค้นหา พยายามคน้ หา พยายามค้นหา พยายามค้นหา คาศพั ทแ์ ละ คาศัพท์และ คาศพั ท์และ คาศัพท์และ (A) ความหมายของ ความหมายของ ความหมายของ ความหมายของ คาศพั ท์ รวมทัง้ มี คาศัพท์ รวมทัง้ มี คาศพั ท์ รวมทงั้ มี คาศัพท์ รวมทั้งมี มารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น มารยาทในการอา่ น เพยี งเลก็ น้อย เปน็ ประจา บ่อยคร้งั บา้ งบางครง้ั
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓๖ กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ รน่ื รสวรรณคดี (ศลิ าจารกึ หลักที่ ๑) เร่อื ง อ่านเนือ้ หาจากศลิ าจารึก จานวน ๑ ชั่วโมง ชื่อครผู ู้สอน นางสาวจิราพร กลุ ให้ สอนวนั ที่..................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิด เพ่อื นาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ญั หาในการ ดาเนินชวี ิตและมีนสิ ัยรกั การอา่ น ๒. สาระสาคญั การอ่านออกเสียงร้อยแกว้ หมายถงึ การอ่านถอ้ ยคาทม่ี ีผู้เรยี บเรยี งหรือประพันธไ์ ว้ โดยการเปล่งเสียง และวางจังหวะเสยี งให้เป็นไปตามความนิยม และเหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน เพื่อถ่ายทอดอารมณ์ไปสู่ผฟู้ ัง ซึ่งจะ ทาใหผ้ ้ฟู ังเกิดอารมณร์ ่วมคล้อยตามไปกบั เรือ่ งราว หรือรสประพันธ์ที่อ่าน ๓. ตวั ชว้ี ดั ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรองได้ถกู ต้อง ๔. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๑. นกั เรยี นสามารถอธิบายหลักการอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ ได้ถูกต้อง ๒. นกั เรียนสามารถอ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ จากเรอื่ ง ศลิ าจารึกหลกั ท่ี ๑ ได้ ๓. มีมารยาทในการอ่าน ๕. สาระการเรียนรู้ การอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วจากเรอื่ ง ศิลาจารกึ หลกั ที่ ๑ ๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเขา้ สู่บทเรียน ๑. นักเรยี นและครสู นทนากนั ในเรื่อง “อา่ นอย่างไรใหถ้ กู ต้อง” ขน้ั สอน ๒. นักเรียนศึกษาความรู้เก่ียวกับหลักการอ่านบทร้อยแก้ว โดยครูเป็นผู้อธิบาย ซักถาม ตอบคาถาม และแสดงความคดิ เหน็ จนกวา่ นกั เรียนจะเขา้ ใจ ๓. จากน้ันครูให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วจากเร่ือง สร้างวัฒนธรรมคนรุ่นใหม่ให้เป็นนัก อา่ น (ทา้ ยแผน)
๔. เม่ือฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วเรียบร้อยแล้ว ให้นักเรียนแต่ละคนฝึกอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว ด้านที่ ๑ บรรทดั ท่ี ๑-๑๘ เฉพาะทเ่ี ล่าประวัติของพ่อขุนรามคาแหงมหาราช จากหนังสอื เรยี น รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทยชุด วรรณคดวี ิจกั ษ์ ม. ๒ หน้า ๕๒ แลว้ มาทดสอบอ่านในเวลาว่าง ครปู ระเมินผลการอา่ นรายบคุ คล ข้นั สรปุ ๕. นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสรุปความรู้เกี่ยวกับ หลักการอา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้ว ๗. สื่อการเรยี นรู้ ๑. หนงั สอื เรยี น รายวิชาพนื้ ฐาน ภาษาไทยชุด วรรณคดวี ิจักษ์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ วิธกี ารวัด ๑. สังเกตการอธบิ ายหลกั การอา่ นออกเสยี งบทร้อยแกว้ (K) ๒. ประเมินผลการอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ จากเร่ือง ศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑ (P) ๓. ประเมนิ การมมี ารยาทในการอา่ น (A) เครอื่ งมอื วดั ๑. แบบสังเกตการอธบิ ายหลักการอ่านออกเสยี งบทร้อยแกว้ (K) ๒. แบบประเมินผลการอา่ นออกเสยี งบทร้อยแก้วจากเรือ่ ง ศิลาจารกึ หลักท่ี ๑ (P) ๓. แบบประเมนิ การมีมารยาทในการอา่ น (A) เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรียนมีความรู้ จากการอธิบายหลักการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้ว (K) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถือว่าผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วจากเรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ (P) อยใู่ นระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช)้ ถือว่าผา่ นเกณฑ์ ๓. นกั เรยี นมมี ารยาทในการอ่าน (A) อยใู่ นระดบั คุณภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช)้ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๑ ควรปรับปรุง
๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ วธิ ีการวัด เคร่ืองมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมนิ ด้านความรคู้ วามเข้าใจ (K) สงั เกตการอธบิ ายหลักการ แบบสังเกตการอธบิ าย นักเรยี นมีความรู้ จากการ นักเรยี นสามารถอธิบายหลกั การ อา่ นออกเสยี งบทรอ้ ยแก้ว หลกั การอ่านออกเสยี งบท อธิบายหลักการอ่านออก อา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ ได้ รอ้ ยแกว้ เสยี งบทรอ้ ยแก้ว อยูใ่ น ถูกต้อง ระดับคณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป แบบประเมินผลการอ่าน (พอใช้) ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ประเมินผลการอา่ นออก ออกเสียงบทรอ้ ยแกว้ จาก นักเรยี นสามารถอา่ นออกเสยี งบท เสยี งบทร้อยแกว้ จากเร่ือง เรือ่ ง ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑ นกั เรียนมีทักษะ รอ้ ยแกว้ จากเรื่อง ศิลาจารึกหลักที่ ศลิ าจารึก หลกั ที่ ๑ กระบวนการในการอา่ นออก ๑ ได้ แบบประเมนิ การมมี ารยาท เสยี งบทรอ้ ยแกว้ จากเรื่อง ในการอา่ น ศิลาจารึก หลักที่ ๑ อยู่ใน ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ประเมินการมมี ารยาทใน ระดบั คณุ ภาพ ๒ ข้นึ ไป (A) การอา่ น (พอใช้) ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ มีมารยาทในการอ่าน นกั เรยี นมมี ารยาทในการ อ่าน อย่ใู นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถอื ว่าผา่ น เกณฑ์ การประเมินผลตามสภาพจริง ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอธบิ ายหลกั การอา่ นออกเสียงบทร้อยแกว้ (K) รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๑ ๔๓๒ อธิบายหลักการอา่ น อธบิ ายหลักการอ่าน อธิบายหลักการอา่ น อธิบายหลกั การอา่ น อธบิ ายหลกั การอ่าน ออกเสียงบทร้อยแก้ว ออกเสยี งบทร้อยแกว้ ออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ ออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ ออกเสียงบทร้อยแก้ว ได้ถกู ต้องดมี าก ได้คอ่ นข้างถูกต้องดี ไดถ้ กู ต้องบา้ ง ได้ถูกต้องบา้ งเล็กน้อย (K) บางส่วน ๒. แบบประเมินผลการอา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วจากเร่ือง ศลิ าจารกึ หลักที่ ๑ (P) รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๔๓๒๑ อา่ นออกเสยี งบทร้อย อ่านออกเสยี งถกู ตอ้ ง อ่านออกเสยี งถกู ต้อง อ่านออกเสยี งถูกต้อง อ่านออกเสียงถูกตอ้ ง แก้วจากเรื่อง ศลิ า ตามอักขรวธิ เี สียงดัง ตามอักขรวิธเี สียงดงั ตามอักขรวิธี เสยี งดัง ตามอักขรวธิ ี เสยี งดัง จารกึ หลกั ที่ ๑ (P) ชัดเจน เวน้ วรรคตอน ชัดเจน เวน้ วรรคตอน ชดั เจน เวน้ วรรคตอน ชัดเจนแต่ยังต้อง เหมาะสม น้าเสียงน่า เหมาะสม นา้ เสยี งน่า เหมาะสมแตน่ ้าเสยี ง ปรบั ปรงุ เร่อื งการเวน้ ฟังและเหมาะสม ฟังแต่บางช่วง ราบเรยี บไมน่ า่ สนใจ วรรคตอน กบั เรื่องทอี่ า่ น ลีลา ต้องปรบั ปรุงให้ การอา่ นเปน็ ธรรมชาติ สอดคล้องกับเน้ือหา
๓. แบบประเมนิ การสังเกตพฤตกิ รรมมมี ารยาทในการอ่าน (A) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ มมี ารยาทในการอา่ น พยายามท่ีจะอา่ นออก พยายามที่จะอา่ นออก พยายามท่ีจะอา่ นออก ไม่ค่อยพยายามท่จี ะ เสียงบทรอ้ ยกรองให้ เสียงบทร้อยกรองให้ เสยี งบทรอ้ ยกรองให้ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ย (A) ได้ในระดับทด่ี ีเปน็ ได้ในระดับท่ีดอี ยู่ ได้ในระดับที่ดบี า้ ง กรองใหไ้ ด้ในระดับที่ดี ประจา รวมทง้ั รจู้ ัก บ่อยครัง้ รวมทั้งรูจ้ กั บางครั้ง รวมทง้ั รู้จัก รวมทั้งรู้จักเห็นคณุ คา่ เหน็ คุณคา่ ของการ เห็นคุณคา่ ของการ เหน็ คณุ คา่ ของการ ของการอา่ นบทร้อย อ่านบทรอ้ ยกรอง อ่านบทรอ้ ยกรอง อา่ นบทรอ้ ยกรอง กรอง และมมี ารยาท และมมี ารยาทในการ และมมี ารยาทในการ และมมี ารยาทในการ ในการอา่ น อ่าน อา่ น อ่าน
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๓๗ กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๕ รืน่ รสวรรณคดี (ศิลาจารกึ หลกั ที่ ๑) เร่ือง สรุปสาระจากหลกั ศิลาจารกึ จานวน ๑ ชั่วโมง ช่อื ครผู สู้ อน นางสาวจริ าพร กุลให้ สอนวันท.ี่ .................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคิด เพอื่ นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ปญั หาในการ ดาเนนิ ชวี ิตและมนี สิ ัยรักการอา่ น ๒. สาระสาคัญ การเขยี นผังมโนทัศน์ หรือผงั ความคดิ เป็นการแสดงความรู้โดยใช้แผนภาพ นาขอ้ มลู ความรู้มาจัดเป็น ระบบ สร้างเป็นแผนภาพหรือจัดความคิด โดยนาหัวเรื่องใดเร่ืองหน่ึงมาแยกหัวข้อย่อย แล้วมาจัดลาดับเป็น ภาพ ซ่งึ การใชผ้ ังความคิดสรุปเนอื้ หาจากเรอ่ื งท่ีอ่านนั้น จะชว่ ยทาให้จดจารายละเอยี ดของเนือ้ หาได้งา่ ยขน้ึ ๓. ตวั ชวี้ ัด ท ๑.๑ ม. ๒/๓ เขียนผงั ความคดิ เพอื่ แสดงความเข้าใจในบทเรยี นต่างๆ ทอ่ี ่าน ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นสามารถอธิบายความร้ทู ี่ไดร้ ับจากหลกั ศิลาจารกึ หลักที่ ๑ ได้ ๒. นักเรยี นเขยี นผังมโนทศั น์สรุปสาระสาคญั จากศลิ าจารึกหลักที่ ๑ ได้ ๓. ใฝ่เรียนรู้ ๕. สาระการเรยี นรู้ การอ่านจับใจความ สรุปความรแู้ ละรายละเอียดจากเร่ืองที่อ่าน ออกมาเปน็ ผงั ความคิดหรือแผนภาพ ความคิด ๖. กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั นาเขา้ สบู่ ทเรียน ๑. นักเรยี นและครสู นทนาทบทวนบทเรียนจากชัว่ โมงท่ีผา่ นมา ๒. จากนั้นครูทบทวนเร่ืองการเขียนผังความคิด โดยนาผังความคิดหรือผังมโนภาพเร่ืองใดเรื่องหน่ึง มาใหน้ กั เรียนดู แลว้ สนทนากบั นกั เรยี นเรือ่ ง การพฒั นาความคดิ โดยใช้ผงั ความคิด ขั้นสอน ๓. นักเรียนทบทวนความรู้เร่ืองการอ่านจับใจความและการสรุปความ จากเน้ือหาที่อ่าน เนื่องจาก การอา่ นจบั ใจความตอ้ งหม่นั ฝกึ ฝนและเรยี นรู้อยู่เป็นประจา เพ่อื ให้เกดิ ความชานาญในการอ่านเรือ่ งต่างๆ
๔. เมอ่ื ทบทวนความรู้เรอ่ื งการเขียนผงั ความคดิ การอ่านจบั ใจความและการสรปุ ความ จากเนอื้ หาท่ี อ่าน ซักถาม ตอบคาถาม และแสดงความคิดเห็นจนนักเรียนเริ่มเข้าใจดีแล้ว จากนั้นนักเรียนและครูจึงศึกษา เนือ้ หา คาอา่ นศิลาจารึกพอ่ ขนุ รามคาแหง จากหนังสอื เรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน ภาษาไทยชุด วรรณคดี วิจักษ์ ม. ๒ หน้า ๕๒ รว่ มกนั จับใจความสาคญั และสรุปความ ๕. นักเรียนรับกระดาษจากครูคนละ ๑ แผ่น สาหรับเขียนผังความคิด หรือแผนภาพความคิด ใน หัวข้อพ่อขุนรามคาแหงมหาราช โดยให้นักเรียนสรุปเน้ือหาศิลาจารึกพ่อขุนรามคาแหงด้านท่ี ๑ บรรทัดท่ี ๑ - ๑๘ จากหนังสือเรียน รายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทยชุด วรรณคดีวิจักษ์ ม. ๒ หน้า ๕๒ เป็นแผนภาพความคิด พร้อมท้ังออกแบบและตกแต่งแผนภาพความคิดให้สวยงาม เม่ือเรียบร้อยแล้วให้นาส่งครูตรวจสอบและ ประเมนิ ผล ขั้นสรปุ ๖. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้เก่ียวกับการอ่านจับใจความสาคัญ สรุปความ การเขียนผัง ความคดิ รวมถงึ อธบิ ายรายละเอยี ดจากเร่อื ง ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ โดยสรุปอกี ครงั้ ๗. ส่อื การเรยี นรู้ ๑. หนังสือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดวี จิ ักษ์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๒. กระดาษ ๘. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ วธิ กี ารวดั ๑. สังเกตการอธิบายความรู้เกี่ยวกับการอ่านจับใจความสาคัญ สรุปความ การเขียนผังความคิด รวมถึงอธบิ ายรายละเอียดจากเรื่อง ศลิ าจารึก หลักที่ ๑ (K) ๒. ประเมนิ ผลการสรปุ เน้อื หาพ่อขุนรามคาแหงดา้ นท่ี ๑ บรรทดั ที่ ๑-๘ โดยตรวจผงั ความคดิ หรอื แผนภาพความคิด ในหวั ขอ้ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช (P) ๓. ประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมใฝเ่ รียนรู้ (A) เครอ่ื งมอื วดั ๑. แบบสังเกตการอธิบายความรู้เกี่ยวกับการอ่านจับใจความสาคัญ สรุปความ การเขียนผังความคิด รวมถึงอธบิ ายรายละเอียดจากเร่ือง ศิลาจารกึ หลักท่ี ๑ (K) ๒. แบบประเมนิ ผลการสรปุ เนื้อหาพ่อขุนรามคาแหงดา้ นที่ ๑ บรรทัดที่ ๑-๘ โดยตรวจผงั ความคิด หรอื แผนภาพความคดิ ในหวั ขอ้ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช (P) ๓. แบบประเมินการสังเกตพฤตกิ รรมใฝเ่ รียนรู้ (A) เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรียนมีความรู้เก่ียวกับการอ่านจับใจความสาคัญ สรุปความ การเขียนผังความคิด รวมถึง อธิบายรายละเอยี ดจากเรื่อง ศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑ (K) อยูใ่ นระดบั คุณภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช)้ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ ๒. นกั เรียนมีทกั ษะกระบวนการในการสรุปเนื้อหาพ่อขนุ รามคาแหงด้านที่ ๑ บรรทัดที่ ๑-๘ โดยการ ทาผังความคิดหรือแผนภาพความคิด ในหัวข้อ พ่อขุนรามคาแหงมหาราช (P) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช)้ ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ ๓. นักเรยี นมพี ฤติกรรมใฝ่เรยี นรู้ (A) อยใู่ นระดับคุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์
เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ๑ ควรปรับปรุง ๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ วิธกี ารวดั เคร่ืองมือวดั ผล เกณฑ์การประเมิน ดา้ นความรูค้ วามเขา้ ใจ (K) สงั เกตการอธิบายความรู้ แบบสังเกตการอธิบาย นกั เรียนมคี วามรเู้ กี่ยวกบั นักเรยี นสามารถอธิบายความรู้ท่ี เกยี่ วกบั การอ่านจับใจความ ความรเู้ กย่ี วกับการอา่ นจบั การอา่ นจับใจความสาคญั ไดร้ ับจากหลักศลิ าจารึกหลกั ท่ี ๑ สาคัญ สรุปความ การเขียน ใจความสาคญั สรปุ ความ สรปุ ความ การเขยี นผงั ได้ ผงั ความคิด รวมถงึ อธบิ าย การเขยี นผังความคิดรวมถงึ ความคดิ รวมถงึ อธบิ าย รายละเอยี ดจากเรอื่ ง ศิลา อธบิ ายรายละเอียดจากเร่อื ง รายละเอียดจากเร่ือง ศิลา จารึก หลักท่ี ๑ ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ จารกึ หลกั ท่ี ๑ อยู่ในระดับ คุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ประเมินผลการสรปุ เนื้อหา แบบประเมนิ ผลการสรปุ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ นกั เรียนเขยี นผังมโนทัศนส์ รปุ พ่อขุนรามคาแหงดา้ นที่ ๑ เน้ือหาพอ่ ขนุ รามคาแหง สาระสาคญั จากศลิ าจารกึ หลกั ที่ บรรทัดที่ ๑-๘ โดยตรวจผงั ด้านท่ี ๑ บรรทดั ท่ี ๑-๘ นักเรียนมีทกั ษะ ๑ ได้ ความคดิ หรือแผนภาพ โดยตรวจผงั ความคิดหรือ กระบวนการในการสรปุ ความคดิ ในหวั ขอ้ พ่อขุน แผนภาพความคดิ ในหัวข้อ เนื้อหาพ่อขนุ รามคาแหง รามคาแหงมหาราช พอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ดา้ นที่ ๑ บรรทดั ที่ ๑-๘ โดยการทาผงั ความคดิ หรอื ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ประเมินการสังเกต แบบประเมินการสงั เกต แผนภาพความคดิ ในหัวข้อ (A) พฤติกรรมใฝเ่ รยี นรู้ พฤติกรรมใฝ่เรยี นรู้ พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช ใฝเ่ รียนรู้ อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ๒ ขึ้น ไป (พอใช)้ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมใฝ่ เรียนรู้ อยู่ในระดับคณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช)้ ถอื วา่ ผา่ น เกณฑ์ การประเมินผลตามสภาพจรงิ ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสังเกตการอธิบายความรเู้ ก่ยี วกับการอ่านจบั ใจความสาคญั สรุปความ การเขียนผงั ความคดิ รวมถึงอธิบายรายละเอียดจากเร่อื ง ศลิ าจารกึ หลักท่ี ๑ (K) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ อธิบายความรู้ อธิบายความรู้ อธิบายความรู้ อธิบายความรู้ อธบิ ายความรู้ เกี่ยวกับการอา่ นจบั เกี่ยวกบั การอ่านจบั เกย่ี วกบั การอา่ นจบั เก่ยี วกบั การอา่ นจบั เกยี่ วกบั การอา่ นจบั
ใจความสาคญั สรุป ใจความสาคญั สรปุ ใจความสาคญั สรปุ ใจความสาคญั สรปุ ใจความสาคญั สรุป ความ การเขยี นผัง ความ การเขียนผัง ความ การเขียนผัง ความ การเขยี นผัง ความ การเขียนผัง ความคดิ รวมถึง ความคดิ รวมถงึ ความคดิ รวมถงึ ความคิด รวมถึง ความคิด รวมถึง อธิบายรายละเอียด อธิบายรายละเอียด อธบิ ายรายละเอียด อธิบายรายละเอยี ด อธบิ ายรายละเอยี ด จากเรอ่ื ง ศิลาจารึก จากเรือ่ ง ศิลาจารึก จากเรอื่ ง ศิลาจารึก จากเรอื่ ง ศิลาจารึก จากเรือ่ ง ศิลาจารกึ หลกั ที่ ๑ (K) หลักท่ี ๑ ได้ถูกต้องดี หลกั ที่ ๑ ไดค้ ่อนขา้ ง หลกั ท่ี ๑ ไดถ้ กู ตอ้ ง หลกั ที่ ๑ ได้ถูกตอ้ ง มาก ถูกตอ้ งดี บ้างบางสว่ น บา้ งเลก็ นอ้ ย ๒. แบบประเมนิ ผลการสรุปเนื้อหาพอ่ ขุนรามคาแหงด้านท่ี ๑ บรรทัดที่ ๑-๘ โดยตรวจผงั ความคิดหรอื แผนภาพความคิด ในหัวข้อ พอ่ ขุนรามคาแหงมหาราช (P) รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ ถกู ต้องตามหลกั การ คอ่ นข้างถูกต้องตาม ค่อนขา้ งถกู ตอ้ งตาม ยงั ไม่คอ่ ยถกู ต้องตาม ดา้ นรูปแบบผัง เขยี นผงั ความคดิ หลกั การเขียนแผนผงั หลกั การเขยี นแผนผงั หลักการเขยี นแผนผงั ความคดิ รูปแบบมีความ ความคดิ รปู แบบมี ความคดิ บ้างบางสว่ น ความคิด รปู แบบมี เรียบรอ้ ยสวยงาม ความเรยี บรอ้ ย รูปแบบคอ่ นขา้ งมี ความเรยี บรอ้ ย สะอาด สวยงาม สะอาด ความเรยี บร้อย สวยงาม สะอาดบ้าง สวยงาม สะอาด เลก็ น้อย ดา้ นการสรปุ เน้อื หา สรปุ เนอ้ื หาของเรือ่ ง สรปุ เนือ้ หาของเรอื่ ง สรปุ เน้ือหาของเรื่อง สรปุ เนอื้ หาของเรอ่ื ง ในผงั ความคดิ ได้ถูกตอ้ ง ละเอยี ด ไดถ้ ูกต้อง ละเอียด ได้ถกู ต้อง แตไ่ ม่ ไดถ้ กู ตอ้ ง แตไ่ ม่ ชดั เจน ครอบคลุม ชดั เจน ครอบคลมุ ละเอียด ไมช่ ดั เจน ละเอยี ด ไม่ชัดเจน ทุกประเดน็ เปน็ สว่ นใหญ่ ครอบคลมุ เป็นบางส่วน ครอบคลมุ เพยี ง ส่วนน้อย ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมใฝเ่ รียนรู้ (A) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๑ ๔๓๒ ต้ังใจเรียนและร่วมทา ตั้งใจเรียนและร่วมทา ตัง้ ใจเรยี นและรว่ มทา ต้ังใจเรียนและร่วมทา ใฝเ่ รียนรู้ (A) กจิ กรรม รวมท้งั รู้จัก กิจกรรม รวมทง้ั รจู้ ัก กจิ กรรม รวมท้ังรจู้ กั กจิ กรรม รวมท้งั ร้จู กั เห็นคณุ คา่ ของการ เหน็ คุณคา่ ของการ เหน็ คุณคา่ ของการ เหน็ คุณคา่ ของการ อ่าน และมีนสิ ยั รกั อ่าน และมีนสิ ยั รกั อ่าน และมีนสิ ัยรัก อา่ น และมีนสิ ยั รัก การอ่านเพียงเลก็ นอ้ ย การอา่ นเปน็ ประจา การอา่ นบอ่ ยคร้ัง การอ่านบา้ งบางคร้งั
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๓๘ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ ๕ ร่ืนรสวรรณคดี (ศลิ าจารึกหลกั ที่ ๑) เร่อื ง คณุ คา่ ของหลักศลิ าจารึกหลกั ที่ ๑ จานวน ๑ ช่ัวโมง ชื่อครผู สู้ อน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ สอนวนั ท่ี..................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณคา่ และนามาประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ ๒. สาระสาคัญ ศิลาจารึกหลักท่ี ๑ เป็นจารึกในพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็นวรรณคดีที่มีคุณค่ามากในด้านเนื้อหา วรรณศิลป์ และสังคม เพราะเป็นหลักฐานในการท่ีให้เราทราบถึงการประดิษฐ์อักษรไทย ทาให้ได้เรียนรู้ถึง สภาพสังคม วัฒนธรรม การเมืองการปกครองในสมัยนน้ั นับเป็นการศึกษาประวัติศาสตรแ์ ละความสาคัญของ ภาษา ทีบ่ อกเล่าเรอ่ื งราวในอดตี ศลิ าจารกึ หลักท่ี ๑ จึงเปน็ จารกึ ทีเ่ ปน็ วรรณคดีทม่ี ีค่านานัปการ ๓. ตัวชวี้ ัด ท ๕.๑ ม. ๒/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมทอ่ี า่ น ๔. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนสามารถอธบิ ายคุณค่าของ ศลิ าจารึกหลักท่ี ๑ ได้ ๒. นกั เรยี นสามารถวเิ คราะห์ และนาคณุ คา่ ของ ศลิ าจารึกหลักที่ ๑ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้ ๓. รกั ความเป็นไทย ๕. สาระการเรียนรู้ การวิเคราะหค์ ณุ คา่ ของ ศลิ าจารกึ หลักที่ ๑ ๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรียน ๑. นักเรยี นและครสู นทนากันในหัวข้อ “หากไมม่ ผี ใู้ ดคิดค้นอกั ษรไทยใช้ จะเป็นอย่างไร” ข้นั สอน ๒. นักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าของศิลาจารึกหลักท่ี ๑ โดยให้แต่ละคน ยกตัวอยา่ ง ๓. จากนน้ั ให้นักเรียนแบ่งกลุม่ ๓ กลมุ่ วิเคราะห์คณุ คา่ ของศลิ าจารึกหลกั ที่ ๑ในประเดน็ ท่กี าหนดให้ ดังน้ี กลมุ่ ที่ ๑ คณุ ค่าด้านเนอื้ หา
กลมุ่ ท่ี ๒ คณุ คา่ ด้านวรรณศลิ ป์ กลุม่ ท่ี ๓ คณุ ค่าดา้ นสงั คม เมอ่ื เสร็จแล้วใหต้ ัวแทนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานาเสนอหน้าชั้นเรยี น ครปู ระเมินผล ข้ันสรปุ ๔. นักเรยี นและครูร่วมกันสรปุ ความรู้ ดงั นี้ ศิลาจารึกหลักท่ี ๑ เป็นวรรณคดีที่มีคุณค่ามาก ทั้งในด้านเนื้อหา วรรณศิลป์ และสังคม เพราะเปน็ หลกั ฐานชน้ิ แรกที่ทาใหค้ นไทยรจู้ กั อกั ษรไทย รู้จักระบบการเขยี นอักษรไทยที่พ่อขุนรามคาแหงทรง กาหนดไว้ นอกจากนั้นยงั ทาให้คนร่นุ หลงั ไดเ้ รียนรปู้ ระวัติศาสตรบ์ ้านเมืองในสมัยนนั้ ๆ ดว้ ย ๗. สอื่ การเรียนรู้ หนังสอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน ภาษาไทยชดุ วรรณคดวี จิ ักษ์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ กระดาษ ๘. การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ วธิ ีการวัด ๑. สังเกตการอธบิ ายคณุ คา่ ของ ศิลาจารึก หลักที่ ๑ (K) ๒. ประเมนิ ผลการวเิ คราะหค์ ุณคา่ ของ ศลิ าจารึก หลักที่ ๑ (P) ๓. ประเมินการสังเกตพฤติกรรมรกั ความเป็นไทย (A) เครอ่ื งมือวัด ๑. แบบสงั เกตการอธบิ ายคณุ ค่าของ ศลิ าจารกึ หลักที่ ๑ (K) ๒. แบบประเมินผลการวิเคราะหค์ ณุ ค่าของ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ (P) ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤตกิ รรมรักความเปน็ ไทย (A) เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรยี นมคี วามรู้เกีย่ วกับคณุ คา่ ของ ศิลาจารกึ หลกั ท่ี ๑ (K) อยใู่ นระดับคุณภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการวิเคราะห์คุณค่าของ ศิลาจารึก หลักที่ ๑ (P) อยู่ในระดับ คณุ ภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช)้ ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ ๓. นักเรียนมีพฤตกิ รรมรกั ความเป็นไทย (A) อยใู่ นระดับคณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช)้ ถือว่าผ่านเกณฑ์ เกณฑร์ ะดบั คณุ ภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดบั ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ๑ ควรปรับปรุง
๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ จดุ ประสงค์ วิธกี ารวดั เครือ่ งมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจ (K) สงั เกตการอธิบายคณุ ค่าของ แบบสังเกตการอธิบาย นักเรยี นมคี วามรเู้ กี่ยวกับ นักเรียนสามารถอธิบายคณุ คา่ ของ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ คณุ คา่ ของ ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี คณุ คา่ ของ ศลิ าจารึก หลักท่ี ศลิ าจารึกหลกั ท่ี ๑ ได้ ๑ ๑ อยใู่ นระดบั คุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถอื ว่าผา่ น เกณฑ์ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ประเมินผลการวเิ คราะห์ แบบประเมนิ ผลการ นักเรยี นมที ักษะ นักเรยี นสามารถวิเคราะห์ และนา คณุ คา่ ของ ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี วิเคราะหค์ ณุ คา่ ของ ศิลา กระบวนการในการ คุณค่าของ ศิลาจารกึ หลักที่ ๑ ไป ๑ จารกึ หลักท่ี ๑ วิเคราะหค์ ุณคา่ ของ ศลิ า ใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ จารกึ หลักท่ี ๑ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช)้ ถือว่าผ่านเกณฑ์ ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมินการสังเกต แบบประเมนิ การสังเกต นกั เรียนมีพฤตกิ รรมรกั (A) พฤติกรรมรกั ความเปน็ ไทย พฤติกรรมรักความเป็นไทย ความเป็นไทย อยู่ในระดบั รักความเปน็ ไทย คุณภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช้) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ การประเมินผลตามสภาพจริง ดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอธบิ ายคุณคา่ ของ ศิลาจารกึ หลกั ท่ี ๑ (K) รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ อธิบายคุณค่าของ อธิบายคุณค่าของ อธบิ ายคณุ ค่าของ อธิบายคณุ ค่าของ อธบิ ายคณุ คา่ ของ ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ ศิลาจารึก หลกั ท่ี ๑ ศิลาจารกึ หลักที่ ๑ ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ ไดถ้ กู ต้อง ละเอียด ได้ค่อนข้างถกู ตอ้ งดี ไดถ้ กู ตอ้ งบ้าง ได้อยา่ งครา่ วๆถูกตอ้ ง (K) ชดั เจน ครบถว้ นดี บางสว่ น เพียงเลก็ น้อย มาก ๒. แบบประเมินผลการวิเคราะห์คณุ ค่าของ ศลิ าจารึก หลักท่ี ๑ (P) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๑ ๔๓๒ วิเคราะหค์ ุณคา่ วเิ คราะหค์ ณุ คา่ ของ วเิ คราะหค์ ุณคา่ วิเคราะหค์ ณุ คา่ วิเคราะหค์ ณุ คา่ วรรณคดีไดถ้ กู ต้องทกุ ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑ วรรณคดไี ด้ถูกตอ้ ง วรรณคดไี ดถ้ ูกตอ้ ง วรรณคดไี ด้ถูกตอ้ ง ดา้ นแตอ่ ธบิ าย (P) ครอบคลมุ ทุกดา้ น ครอบคลมุ เกือบทกุ ทกุ ดา้ น แตอ่ ธบิ าย อย่างสัน้ ๆ อธบิ ายชดั เจน ดา้ น อธบิ ายชดั เจน ไดค้ รอบคลมุ บางดา้ น เข้าใจงา่ ย เข้าใจง่าย
๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมรักความเปน็ ไทย (A) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๑ ๔๓๒ รักความเปน็ ไทย (A) รู้จกั เห็นคณุ ค่าของ รจู้ ักเหน็ คณุ ค่าของ รูจ้ กั เห็นคณุ ค่าของ รู้จักเหน็ คณุ ค่าของ วรรณคดีและ วรรณคดแี ละ วรรณคดแี ละ วรรณคดแี ละ วรรณกรรมไทย โดย วรรณกรรมไทย โดย วรรณกรรมไทย โดย วรรณกรรมไทย โดย สามารถนาคณุ คา่ ท่ีได้ สามารถนาคุณค่าทไ่ี ด้ สามารถนาคณุ ค่าทีไ่ ด้ สามารถนาคุณคา่ ทไ่ี ด้ ไปประยกุ ต์ใช้ใน ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น ไปประยุกตใ์ ชใ้ น ไปประยุกต์ใชใ้ น ชวี ิตประจาวันเป็น ชีวิตประจาวัน ชวี ิตประจาวนั ชีวติ ประจาวนั ประจา บ่อยครง้ั บางครัง้ เล็กนอ้ ย
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๓๙ กล่มุ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี ๕ รืน่ รสวรรณคดี (ศิลาจารึกหลกั ที่ ๑) เรอ่ื ง สาระดจี ากหลักศลิ าจารึก จานวน ๑ ชั่วโมง ชอื่ ครูผสู้ อน นางสาวจิราพร กลุ ให้ สอนวนั ท่.ี .................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณคา่ และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริง ๒. สาระสาคัญ ศิลาจารึกหลักที่ ๑ เป็นจารึกในพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็นวรรณคดีที่มีคุณค่ามากในด้านเนื้อหา วรรณศิลป์ และสังคม เพราะเป็นหลักฐานในการที่ให้เราทราบถึงการประดิษฐ์อักษรไทย ทาให้ได้เรียนรู้ถึง สภาพสังคม วัฒนธรรม การเมืองการปกครองในสมัยนั้น นับเป็นการศึกษาประวตั ิศาสตร์และความสาคัญของ ภาษา ท่บี อกเล่าเรือ่ งราวในอดตี ศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑ จึงเป็นจารึกทเี่ ปน็ วรรณคดที ่ีมีค่านานปั การ ๓. ตวั ชวี้ ดั ท ๕.๑ ม. ๒/๔ สรปุ ความรู้และข้อคิดจากการอ่านไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. นกั เรียนสามารถอธิบายความรูแ้ ละข้อคิดจาก ศลิ าจารึกหลักที่ ๑ ได้ ๒. นักเรียนสามารถนาข้อคดิ ทไี่ ดร้ บั ไปใชใ้ นชวี ิตประจาวันได้ ๓. ใฝ่เรยี นรู้ ๕. สาระการเรียนรู้ การสรปุ ความรูแ้ ละขอ้ คดิ ทีไ่ ด้จาก ศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑ ๖. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั นาเข้าสบู่ ทเรยี น ๑. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสนทนาทบทวนเนอ้ื หาสาระการเรยี นรู้จากชัว่ โมงท่ผี า่ นมา ขัน้ สอน ๒. นักเรยี นแบ่งกลุ่ม ตามจานวนความเหมาะสม จากนัน้ ให้แตล่ ะกลุ่มชว่ ยกันสรปุ ความรู้และข้อคิดที่ ได้จาก ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ โดยเขียนลงในกระดาษท่ีครูแจก เม่ือเรียบร้อยแล้วให้แต่ละกลุ่มออกมาอธิบาย นาเสนอหน้าช้นั เรียน ครปู ระเมนิ ผลและใหค้ ะแนน ๓. นกั เรยี นทาแบบฝึกทดสอบหลังเรยี น จานวน ๒๐ ข้อ ข้ันสรปุ ๔. นักเรียนและครูรว่ มกันสรปุ ความรู้ดังน้ี
ศิลาจารึกหลักท่ี ๑ เป็นวรรณคดีท่ีมีคุณค่ามาก ท้ังในด้านเนื้อหา วรรณศิลป์ และสังคม เพราะเป็นหลกั ฐานช้ินแรกทท่ี าใหค้ นไทยรู้จกั อกั ษรไทย รจู้ กั ระบบการเขียนอักษรไทยที่พ่อขนุ รามคาแหงทรง กาหนดไว้ นอกจากนั้นยังทาให้คนรุ่นหลังได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์บ้านเมืองในสมัยนั้น ๆ ทั้งยังให้ความรู้และ ขอ้ คดิ มากมายหลายประการอีกดว้ ย เช่น ความรดู้ ้านภาษา ความรู้ด้านประวัติศาสตร์ ความกลา้ หาญ เป็นตน้ ๗. ส่ือการเรียนรู้ หนงั สือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน ภาษาไทยชุด วรรณคดีวิจักษ์ ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ กระดาษ ๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ วธิ กี ารวดั ๑. สงั เกตการอธบิ ายความร้แู ละขอ้ คิดจาก ศิลาจารึก หลกั ที่ ๑ (K) ๒. ประเมนิ ผลการสรปุ ความรแู้ ละข้อคดิ จาก ศิลาจารกึ หลักที่ ๑ (P) ๓. ประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมใฝเ่ รียนรู้ (A) เครอื่ งมอื วดั ๑. แบบสังเกตการอธบิ ายความรู้และข้อคิดจาก ศลิ าจารึก หลกั ท่ี ๑ (K) ๒. แบบประเมินผลการสรปุ ความรูแ้ ละข้อคิดจาก ศิลาจารึก หลกั ที่ ๑ (P) ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ (A) เกณฑ์การประเมนิ ๑. นักเรียนมีความรู้เก่ียวกับความรู้และข้อคิดจาก ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ (K) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการสรุปความรู้และข้อคิดจาก ศิลาจารึก หลักที่ ๑ (P) อยู่ใน ระดับคณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถือว่าผ่านเกณฑ์ ๓. นกั เรียนมพี ฤตกิ รรมใฝเ่ รียนรู้ (A) อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๑ ควรปรบั ปรุง
๘. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วธิ ีการวัด เครื่องมอื วดั ผล เกณฑก์ ารประเมนิ ดา้ นความรู้ความเข้าใจ (K) สงั เกตการอธบิ ายความรู้ แบบสงั เกตการอธบิ าย นกั เรยี นมีความรเู้ กี่ยวกบั ความรูแ้ ละขอ้ คดิ จาก ศลิ า ความรู้และขอ้ คดิ จาก ศลิ า นกั เรียนสามารถอธบิ ายความรู้ และข้อคดิ จาก ศลิ าจารกึ จารกึ หลกั ที่ ๑ จารกึ หลักท่ี ๑ อยู่ในระดับ คุณภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช)้ และขอ้ คิดจาก ศลิ าจารกึ หลกั ที่ ๑ หลกั ท่ี ๑ แบบประเมินผลการสรปุ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ ความรู้และข้อคดิ จาก ศลิ า ได้ จารกึ หลกั ท่ี ๑ นักเรยี นมที กั ษะ กระบวนการในการสรุป ด้านทักษะกระบวนการ (P) ประเมนิ ผลการสรปุ ความรู้ แบบประเมินการสังเกต ความรู้และข้อคดิ จาก ศลิ า พฤตกิ รรมใฝ่เรยี นรู้ จารึก หลกั ท่ี ๑ อยูใ่ นระดบั นกั เรยี นสามารถนาข้อคดิ ที่ไดร้ ับ และข้อคิดจาก ศลิ าจารกึ คณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้ หลักที่ ๑ นกั เรียนมีพฤตกิ รรมใฝ่ ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ ประเมินการสังเกต เรยี นรู้ อยูใ่ นระดับคณุ ภาพ (A) พฤตกิ รรมใฝ่เรยี นรู้ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช)้ ถือว่าผ่าน ใฝ่เรียนรู้ เกณฑ์ การประเมนิ ผลตามสภาพจริง ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอธิบายความร้แู ละข้อคิดจาก ศิลาจารึก หลักท่ี ๑ (K) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๔๓๒๑ อธิบายความรู้และ อธบิ ายความรู้และ อธบิ ายความรู้และ อธิบายความรู้และ อธิบายความรแู้ ละ ข้อคดิ ไดถ้ ูกตอ้ ง ข้อคิด ได้ถกู ต้อง ข้อคิด ได้ถูกต้อง ข้อคิด ไดถ้ กู ตอ้ ง ขอ้ คดิ จาก ศิลาจารกึ ละเอยี ด ชัดเจน ละเอยี ด ชดั เจน สอดคลอ้ งกบั เน้อื หา สอดคลอ้ งกบั เน้ือหา หลกั ท่ี ๑ (K) ครบถว้ น สอดคลอ้ ง ครบถว้ น คอ่ นข้าง บา้ งบางส่วน เพยี งเล็กน้อย อย่าง กับเน้ือหา ดีมาก สอดคลอ้ งกับเนอื้ หา ครา่ วๆ ๒. แบบประเมินผลการสรปุ ความรแู้ ละขอ้ คิดจาก ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ๑ (P) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๑ ๔๓๒ สรุปความร้แู ละขอ้ คดิ สรปุ ความรู้และข้อคิด สรุปความรู้และขอ้ คิด สรุปความรู้และข้อคิด สรุปความร้แู ละขอ้ คดิ จาก ศลิ าจารกึ หลกั ท่ี ไดถ้ ูกต้อง ละเอียด ได้ถูกต้อง ละเอียด ได้ถูกต้อง สอดคล้อง ไดถ้ ูกต้อง สอดคล้อง ชัดเจน ครบถว้ น ชัดเจน ครบถว้ น กบั เนอ้ื หา บา้ ง กับเนื้อหาเพยี ง ๑ (P) สอดคลอ้ งกบั เน้อื หา ค่อนขา้ งสอดคลอ้ งกบั บางส่วน เล็กน้อย อยา่ งคร่าวๆ ดีมาก เนือ้ หา
๓. แบบประเมนิ การสงั เกตพฤตกิ รรมใฝ่เรียนรู้ (A) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ ต้ังใจเรียน และรว่ ม ต้ังใจเรยี น และรว่ ม ตง้ั ใจเรยี น และรว่ ม ต้ังใจเรียน และรว่ ม ใฝเ่ รยี นรู้ (A) ทากิจกรรม รวมทัง้ ทากจิ กรรม รวมทัง้ ทากิจกรรม รวมทัง้ ทากิจกรรม รวมทัง้ เหน็ คุณคา่ ของการนา เหน็ คณุ คา่ ของการนา เห็นคณุ คา่ ของการนา เหน็ คุณคา่ ของการนา ความรู้และขอ้ คดิ จาก ความรแู้ ละขอ้ คดิ จาก ความรแู้ ละข้อคิดจาก ความรแู้ ละขอ้ คดิ จาก การอ่านไป การอา่ นไป การอา่ นไป การอ่านไป ประยุกต์ใช้ในชวี ิตจริง ประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ ประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตจรงิ
แบบทดสอบหลงั เรียนเร่อื ง หลักศลิ าจารึกท่ี 1 ๑.หลกั ศลิ าจารึกที่ ๑ เกีย่ วข้องกับพระมหากษตั รยิ ์พระองค์ใดมากท่ีสดุ ก. พระมหาธรรมราชาที่ ๑ ข. พอ่ ขุนศรีอินทราทติ ย์ ค. พ่อขนุ รามคาแหง ง. พ่อขนุ บานเมือง ๒.คาวา่ “กไู ปตีหนงั วังชา้ งได้” มคี วามหมายตรงกับขอ้ ใดท่ีสดุ ก. ไปปลน้ ชา้ งข้าศึกมาได้ ข. ไปคล้องชา้ ง ค. ไปชนช้าง ง. ไปทายุทธหัตถี ๓.ข้อความใดบ่งบอกถึงความกล้าหาญของพ่อขนุ รามคาแหงไดเ้ ป็นอย่างดี ก. กูไปตหี นงั วังช้างได้ กูเอามาแก่พ่อกู ข. กูบห่ นี กูข่ีช้างเบกพล กูขบั เข้าก่อนพอ่ กู ค. ไพรฟ่ ้าหนา้ ใสพ่อกูหนีญญ่ายพายจแจน้ ง. กไู ปรบขนุ สามชน หัวซา้ ยขุนสามชนขบั มา ๔.ขอ้ ใดมใิ ช่ลกั ษณะอักษรสมัยของพอ่ ขนุ รามคาแหง ก. สระอัว ทไี่ มม่ ตี ัวสะกดตาม ใช้ วว เช่น ตวว อา่ นว่า ตวั ข. ตัว ม ทใ่ี ชเ้ ปน็ ตวั สะกดให้ใชน้ ฤคหิตแทน เชน่ กล (กลม) ค. สระอะ เมื่อมตี วั สะกดให้ใชพ้ ยัญชนะซ้อนกนั เช่น น่งง (นง่ั ), ขบบ (ขบั ) ง. มกี ารใชว้ รรณยุกต์ ๔ รูป คือไม้เอก ไม้โท ไม้ตรี ไม้จัตวา ๕.ใครเปน็ ผ้คู นพบหลักศลิ าจารึกพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ก. รัชกาลที่ ๑ ข. รัชกาลที่ ๒ ค. รัชกาลที่ ๓ ง. รัชกาลท่ี ๔ ๖.หลกั ศลิ าจารึกท่ี ๑ ด้านท่ี ๑ กลา่ วถงึ สิ่งใดเปน็ สาคัญ ก. การพรรณนาถึงเมืองสโุ ขทยั สมยั พ่อขุนรามคาแหง ข. กลา่ วถึงการขยายอาณาเขตสมัยพ่อขนุ รามคาแหง ค. การกลา่ วสรปุ สรรเสริญ และยอพระเกียรติพอ่ ขนุ รามคาแหงมหาราช ง. พระราชประวตั ิของพ่อขุนรามคาแหง
๗.หลกั ศลิ าจารกึ พ่อขุนรามคาแหงมหาราชมคี ุณคา่ ในดา้ นใดมากทีส่ ดุ ก. อกั ษรศาสตรแ์ ละประวัตศิ าสตร์ ข. อกั ษรศาสตรแ์ ละรฐั ศาสตร์ ค. สังคมศาสตรแ์ ละศึกษาศาสตร์ ง. รัฐศาสตรแ์ ละประวติ ิศาสตร์ ๘.หลักศิลาจารึกท่ี ๑ ด้านท่ี ๓ กล่าวถึงสิ่งใดเป็นสาคัญ ก. พระราชประวัติของพ่อขุนรามคาแหง ข. การกล่าวสรุปสรรเสรญิ และยอพระเกยี รติพ่อขนุ รามคาแหงมหาราช ค. อาณาเขตของอาณาจักร เมืองสุโขทยั ง. การพรรณนาถงึ เมอื งสุโขทัยสมัยพ่อขุนรามคาแหง ๙. จุดมงุ่ หมายในการแตง่ สุภาษติ พระร่วง คือ ก. เล่าประวัตขิ องผแู้ ต่ง ข. ส่ังสอนประชาชนดา้ นการประพฤตปิ ฏบิ ัติตน ค. ส่งั สอนเรอื่ งความดีความชวั่ ง. เพอื่ ให้เราเกรงกลัวตอ่ บาป ๑๐. สภุ าษติ พระร่วง มลี กั ษณะการแต่งอยา่ งไร ก. กลอน ข. กาพย์ ค. ฉันท์ ง. รา่ ย ๑๑. บญั ญตั ิพระร่วงไดจ้ ารึกไว้บนฝาผนงั วหิ าร ณ วดั ใด ก. วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ข. วดั พระเชตุพนวมิ ลมังคลาราม ค. วัดราชบพิตรมหาวหิ าร ง. วัดพระศรีสรรเพชญ์ ๑๒. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้ีถูกต้องเก่ียวกบั ลักษณะเดน่ ของเร่ืองสภุ าษติ พระร่วง ก. ใชถ้ อ้ ยคาสนั้ กระชับ ข. ถ้อยคามีความซับซ้อน ค. เนอ้ื ความจดจาได้ยาก ไม่คุ้นหู ง. เนือ้ ความจบลงไมเ่ กนิ 3 วรรค
๑๓. ในบญั ญัตพิ ระรว่ งเปน็ คาสอนท่คี รอบคลุมหลักการปฏิบตั ิตนในดา้ นตา่ งๆ ยกเวน้ ข้อใด ก. การวางตัว ข. การทาความดี ค. รูจ้ กั ปรบั ตวั ใหพ้ น้ อนั ตราย ง. การศกึ ษาหาความรู้ ๑๔. วรรณคดเี รอื่ งใด กล่าวถึงประเพณแี ละพิธกี รรมต่างๆ ก. ศลิ าจารึกหลกั ท่ี ๑ ข. ไตรภูมิพระร่วง ค. ตารบั ทา้ วศรีจฬุ าลักษณ์ ง. สภุ าษติ พระรว่ ง ๑๕. พิธีลอยกระทงตรงกบั พธิ ีกรรมใดในเรื่องนางนพมาศ ก. พิธจี องเปรยี ง ข. พิธีบษุ ยาภเิ ษก ค. พธิ ีตรียาปวาย ง. พธิ อี าศยุช ๑๖. นางนพมาศหรือท้าวศรจี ุฬาลักษณ์เปน็ พระสนมเอกของใคร ก. สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี ๑ ข. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ค. พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ ง. สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๓ ๑๗. เร่ืองตารับทา้ วศรจี ุฬาลักษณเ์ ป็นงานเขียนทซ่ี ่อมแซมข้ึนใหมใ่ นสมยั ใด ก. สมัยอยธุ ยาตอนกลาง ข. สมัยอยุธยาตอนปลาย ค. สมยั รตั นโกสินทร์ตอนต้น ง. สมยั สุโขทยั ๑๘. นางนพมาศมีความรู้ในด้านตา่ งๆต่อไปนี้ ยกเวน้ ข้อใด ก. โหราศาสตร์ ข. การช่างสตรี ค. ภาษาสันสกฤต ง. ภาษาบาลี
๑๙. ประวตั วิ รรณคดีสมยั สุโขทยั เรมิ่ และส้นิ สดุ ลงเม่ือใด ก. พ.ศ.๑๗๒๘-๑๙๒๐ ข. พ.ศ.๑๘๐๐-๑๙๗๒ ค. พ.ศ.๑๘๐๐-๑๙๒๐ ง. พ.ศ.๑๗๒๘-๑๙๗๒ ๒๐. ข้อใดไม่ใช่วรรณคดีสมัยท่สี าคัญสมัยสุโขทัยทมี่ อี ยู่ในปัจจุบนั ก. เตภมู ิกถา ข. บญั ญตั พิ ระร่วง ค. ตารับทา้ วศรจี ฬุ าลกั ษณ์ ง. เสอื โคคาฉันท์
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๔๐ กลุม่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ รืน่ รสวรรณคดี (รามเกียรต์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก) เรอื่ ง ไพเราะเสนาะทานอง จานวน ๑ ชั่วโมง ชื่อครูผูส้ อน นางสาวจิราพร กุลให้ สอนวันที.่ .................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสรา้ งความรแู้ ละความคิดเพื่อนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปญั หาใน การดาเนนิ ชีวิต และมีนิสยั รกั การอ่าน ๒. สาระสาคัญ การอา่ นออกเสียงกลอนบทละครเปน็ ทานองเสนาะเป็นการอา่ นท่ีใชถ้ า่ ยทอดเรือ่ งราวและอารมณ์ ความรู้สกึ ของตัวละครในวรรณคดไี ปยงั ผฟู้ งั ซึ่งเปน็ การสบื ทอดวัฒนธรรมทางภาษาอย่างหนง่ึ ของไทยที่ เยาวชนไทยควรสบื สานตอ่ ไป ๓. ตัวชี้วดั / ผลการเรียนรู้ ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ๔. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. นักเรียนอธิบายหลกั การอ่านออกเสียงกลอนบทละครได้ ๒. นกั เรียนอ่านออกเสยี งบทละคร เร่ือง รามเกยี รต์ิ ตอน นารายณป์ ราบนนทก เป็นทานองเสนาะได้ ๓. รักความเป็นไทย ๕. สาระการเรียนรู้ การอา่ นทานองแสนาะ กลอนบทละคร ๖. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนาเข้าสู่บทเรยี น ๑. ครูและนักเรียนทักทาย และสนทนาเร่ืองเกี่ยวกับรามเกียรติ์ ครูยกตัวอย่างโดยการอ่านทานอง เสนาะให้นักเรียนฟงั ขนั้ สอน ๒. นักเรียนศกึ ษาความรู้ เรอ่ื ง การอ่านออกเสยี งกลอนบทละครโดยครูเป็นผูอ้ ธิบายให้ฟัง จากนน้ั นา หลกั การมาวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบกับสิ่งท่ไี ด้ฟัง แล้วรว่ มกนั สรปุ หลักการเบ้ืองต้น ๓. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มสาหรับอ่านกลอนบทละครเร่ือง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก เป็น จานวน ๓ – ๔ กลมุ่ หรอื ตามความเหมาะสม โดยแบง่ การอ่านเปน็ ช่วงๆ ดังน้ี
กล่มุ ท่ี ๑ มาจะกลา่ วบทไป ถึงนนทกน้าใจกลา้ หาญ ต้งั แต่พระสยมภวู ญาณ ประทานให้ล้างเทา้ เทวา .......................ถึง....................... พระองคผ์ ู้ทรงศกั ดาเดช ไม่โปรดเกศแก่ขา้ บทศรี กรรมเวรสิ่งใดดัง่ น้ี ทูลพลางโศกรี าพนั กลุ่มท่ี ๒ เม่อื นนั้ พระอิศวรบรมรงั สรรค์ เห็นนนทกโศกาจาบลั ย์ พระทรงธรรมใ์ หค้ ิดเมตตา .......................ถึง....................... บัดนั้น นนทกผู้ใจสาหส รบั พรพระศุลมี ยี ศ บงั คมแลว้ บทจรไป กลุ่มที่ ๓ คร้ันถงึ บนั ไดไกรลาส ขัดสมาธนิ ั่งยม้ิ รมิ อา่ งใหญ่ คอยหมูเ่ ทวาสุราลัย ด้วยใจกาเรบิ อหังการ์ .......................ถึง....................... ต้องสุบรรณเทวานาคี ด่งั พษิ อสุนีไม่ทนได้ ล้มฟาดกลาดเกล่ือนลงทนั ใด บรรลัยไม่ทันพริบตา กลมุ่ ที่ ๔ เมอ่ื นน้ั หัสนัยนเ์ จา้ ตรยั ตรงึ ศา เหน็ นนทกนัน้ ทาฤทธา ช้ีหมู่เทวาวายปราณ .......................ถึง....................... จงชว่ ยระงบั ดับเขญ็ ใหเ้ ย็นท่วั พิภพสรวงสวรรค์ เชญิ ไปสังหารไอ้อาธรรม์ ใหม้ ันส้นิ ชีพชีวา ๔. จากนั้นให้นักเรียนในแต่ละกลุ่มช่วยกันแบ่งจังหวะการอ่านของบทกลอนแต่ละวรรคแล้วฝึกซ้อม อ่านทานองเสนาะ ครูให้อิสระนักเรียนในการนาเสนอ โดยให้แนวทางว่านักเรียนอาจจะอ่านพร้อมกันทั้งกลุ่ม แบง่ กนั อา่ นคนละบท หรือแบง่ สมาชิกเปน็ กลุ่มย่อยตามตัวละครในบท แลว้ อา่ นโตต้ อบกันกไ็ ด้ ๕. ให้นักเรียนออกมาอ่านทานองเสนาะหน้าชั้นเรียนทีละกลุ่ม เริ่มจากกลุ่มท่ี ๑ เรียงลาดับกันไป กลมุ่ ทไี่ มไ่ ดอ้ อกไปอ่านจะต้องทาหนา้ ทเี่ ป็นคณะกรรมการทง้ั หมด โดยครูให้เกณฑง์ า่ ย ๆ ในการประเมนิ คือ การออกเสียงถกู ต้องตามอักขรวธิ ี การแบง่ จังหวะการอา่ น ความดงั ของเสียง ความไพเราะ เช่น การทอดเสียง การเอ้ือนเสียง
การใช้นา้ เสยี งแสดงอารมณ์ ระดับคะแนน ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ควรปรับปรงุ ) ๖. เมื่อนักเรียนอ่านออกเสียงครบทุกกลุ่มแล้ว ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อประเมินผล และตัดสิน เสนอแนะแนวทางปรบั ปรงุ และพฒั นาให้ดียงิ่ ขนึ้ ๗. ให้นักเรียนช่วยกันบอกวิธีการอ่านทานองเสนาะให้ไพเราะ ซ่ึงนักเรียนได้เรียนรู้จากการฝึกฝน ทักษะทผ่ี ่านมา ข้นั สรปุ ๘. นักเรียนและครูร่วมกนั สรุปความรู้ ดังน้ี การอา่ นออกเสียงกลอนบทละครเป็นการใช้เสยี งถ่ายทอดเรอ่ื งราวและอารมณค์ วามรู้สึก ของตัวละครในวรรณคดไี ปยงั ผฟู้ ัง ซึ่งเปน็ การสบื ทอดวฒั นธรรมทางภาษาอย่างหนึง่ ของไทยทเ่ี ยาวชนไทย ควรสืบสานต่อไป ๗. สอ่ื และแหล่งเรียนรู้ ๑. หนังสอื เรยี นรายวชิ าพ้นิ ฐานภาษไทย วรรณคดีวจิ ักษ์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ๘. การวัดผลประเมนิ ผล วิธกี ารวัด ๑. สังเกตการอธิบายความรูเ้ ก่ียวกบั หลักการอา่ นออกเสียงกลอนบทละคร (K) ๒. ประเมินผลการอ่านออกเสียงบทละคร เร่ือง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก เป็นทานอง เสนาะ (P) ๓. ประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมรกั ความเปน็ ไทย (A) เครือ่ งมือวัด ๑. แบบสังเกตการอธบิ ายความรเู้ กยี่ วกบั หลกั การอา่ นออกเสยี งกลอนบทละคร (K) ๒. แบบประเมินผลการอ่านออกเสียงบทละคร เร่ือง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก เป็น ทานองเสนาะ (P) ๓. แบบประเมนิ การสังเกตพฤตกิ รรมรกั ความเป็นไทย (A) เกณฑก์ ารประเมนิ ๑. นักเรียนมีความรู้ และสามารถอธิบายความรู้เก่ียวกับหลักการอ่านออกเสียงกลอนบทละคร (K) อยใู่ นระดบั คุณภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช)้ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการอ่านออกเสียงบทละคร เรื่อง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ ปราบนนทก เปน็ ทานองเสนาะ (P) อยูใ่ นระดับคุณภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช้) ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ ๓. นกั เรยี นมีพฤตกิ รรมรักความเปน็ ไทย (A) อยใู่ นระดบั คุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช)้ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ เกณฑ์ระดบั คุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ๑ ควรปรบั ปรุง
๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ วิธกี ารวัด เครอ่ื งมือวัดผล เกณฑ์การประเมิน ดา้ นความร้คู วามเขา้ ใจ (K) สงั เกตการอธิบายความรู้ แบบสงั เกตการอธิบาย นักเรยี นมคี วามรู้ และ นกั เรียนอธบิ ายหลกั การอ่านออก เก่ยี วกับหลกั การอา่ นออก เสยี งกลอนบทละครได้ เสยี งกลอนบทละคร ความรูเ้ กี่ยวกับหลักการอ่าน สามารถอธบิ ายความรู้ ออกเสยี งกลอนบทละคร เกี่ยวกับหลกั การอา่ นออก เสียงกลอนบทละคร อยู่ใน ระดับคณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช้) ถอื วา่ ผ่านเกณฑ์ ด้านทกั ษะกระบวนการ (P) ประเมนิ ผลการอา่ นออก แบบประเมนิ ผลการอา่ น นกั เรียนมที ักษะ นักเรยี นอ่านออกเสยี งบทละคร เสียงบทละคร เรือ่ ง เร่ือง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณ์ รามเกยี รติ์ ตอน นารายณ์ ออกเสียงบทละคร เรอื่ ง กระบวนการในการอา่ นออก ปราบนนทก เป็นทานองเสนาะได้ ปราบนนทก เป็นทานอง เสนาะ รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ เสยี งบทละคร เร่อื ง ปราบนนทก เปน็ ทานอง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ ปราบนนทก เป็นทานอง เสนาะ อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช้) ถือวา่ ผ่าน เกณฑ์ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประเมนิ การสังเกต แบบประเมินการสงั เกต นกั เรียนมพี ฤติกรรมรกั (A) พฤตกิ รรมรักความเปน็ ไทย รักความเป็นไทย พฤตกิ รรมรกั ความเปน็ ไทย ความเปน็ ไทย อย่ใู นระดบั คุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช)้ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ การประเมนิ ผลตามสภาพจริง ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอธิบายความรู้เกยี่ วกับหลักการอ่านออกเสยี งกลอนบทละคร (K) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๔๓๒๑ อธิบายความรู้ อธิบายความรู้ อธิบายความรู้ อธิบายความรู้ อธบิ ายความรู้ เกยี่ วกับหลกั การอา่ น เกยี่ วกบั หลกั การอ่าน เกี่ยวกบั หลักการอ่าน เก่ียวกับหลกั การอา่ น เก่ยี วกับหลักการอา่ น ออกเสยี งกลอนบท ออกเสยี งกลอนบท ออกเสียงกลอนบท ออกเสยี งกลอนบท ออกเสยี งกลอนบท ละคร ไดถ้ ูกต้อง ละคร ได้ค่อนข้าง ละคร ไดถ้ กู ตอ้ งบา้ ง ละคร ไดเ้ พยี งคร่าวๆ ละคร (K) ละเอียดชัดเจนดมี าก ถกู ตอ้ งดี บางสว่ น ถกู ตอ้ งเพยี งเลก็ นอ้ ย เท่านน้ั
๒. แบบประเมินผลการอ่านออกเสียงบทละคร เรื่อง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก เป็นทานอง เสนาะ (P) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ การอ่านออกเสียงบท อา่ นออกเสยี ง อา่ นออกเสยี ง อา่ นออกเสยี ง อ่านออกเสยี ง ละคร เรื่อง ไดถ้ กู ตอ้ ง ได้ถูกต้อง ได้ถกู ต้อง ไดถ้ กู ต้อง รามเกียรต์ิ ตอน ตามอกั ขรวิธี ตามอกั ขรวธิ ี ตามอกั ขรวิธี ตามอกั ขรวิธี นารายณป์ ราบนนทก เสียงดงั ชัดเจน เสยี งดงั ชดั เจน เสยี งดังชดั เจน เสยี งดังชัดเจน เป็นทานองเสนาะ (P) เว้นจังหวะเหมาะสม เวน้ จงั หวะเหมาะสม เวน้ จงั หวะเหมาะสม แต่ยังตอ้ งปรบั ปรงุ สามารถทอดเสยี ง มกี ารทอดเสียง พยายามทอดเสยี ง เรื่องการเวน้ จังหวะ เอือ้ นเสยี ง เอ้ือนเสยี ง เอื้อนเสียง และท่วงทานอง และใช้น้าเสยี ง และใชน้ า้ เสยี ง และใช้นา้ เสยี ง ในการอา่ น แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ แสดงอารมณ์ ไดไ้ พเราะ ในบางจังหวะไดด้ ี ในบางจังหวะ แต่ยังทาไดไ้ มด่ นี กั ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤตกิ รรมรักความเปน็ ไทย (A) รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ รกั ความเป็นไทย (A) เห็นความสาคญั ของ เห็นความสาคญั ของ เห็นความสาคัญของ เห็นความสาคญั ของ การอา่ นทานองเสนาะ การอา่ นทานองเสนาะ การอา่ นทานองเสนาะ การอ่านทานองเสนาะ อันเป็นสว่ นหนึง่ ของ อนั เปน็ ส่วนหนึ่งของ อันเปน็ สว่ นหน่ึงของ อนั เปน็ ส่วนหน่ึงของ การอนุรกั ษ์ภาษาไทย การอนรุ กั ษ์ภาษาไทย การอนุรักษ์ภาษาไทย การอนรุ กั ษ์ภาษาไทย และมมี ารยาทในการ และมมี ารยาทในการ และมมี ารยาทในการ และมมี ารยาทในการ อ่านเป็นประจา อ่านบอ่ ยครงั้ อ่านบา้ งบางครั้ง อ่านเพยี งเล็กนอ้ ย เท่านั้น
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ ๔๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ จานวน ๑ ช่ัวโมง หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๕ ร่ืนรสวรรณคดี (รามเกียรต์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก) เรื่อง ตวั ละคร รามเกียรต์ิ ชอื่ ครผู ู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ สอนวนั ท่ี..................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคดิ เพ่ือนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปัญหาใน การดาเนนิ ชีวิต และมีนิสัยรกั การอ่าน ๒. สาระสาคญั วรรณคดเี รอ่ื ง รามเกยี รติ์ เป็นวรรณคดีมรดก เรื่องสาคัญของไทย ท่ีมเี นื้อหามาจาก มหาภารตะของ อนิ เดยี มีการดาเนนิ เร่อื งเป็นตอน มตี วั ละครมากมาย ซึง่ ลักษณะตัวละครและนสิ ยั ของตัวละครแฝงข้อคิดคติ เตือนใจให้กับผูศ้ ึกษาเป็นอยา่ งยง่ิ ๓. ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อา่ นออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง ๔. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นักเรียนสามารถบอกลักษณะของตวั ละครในเรื่อง รามเกยี รติไ์ ด้ ๒. นักเรียนสามารถหาความสัมพนั ธ์ของตัวละครในเรื่อง รามเกียรติ์ได้ ๓. รกั ความเป็นไทย ๕. สาระการเรียนรู้ ตัวละครในเร่ือง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นาเขา้ สูบ่ ทเรยี น ๑. ใหน้ ักเรียนรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยครูใชค้ าถามทา้ ทาย ดังน้ี - เม่ือพูดถึงรามเกียรต์ิ นกั เรียนนึกถึงอะไร ๒. ครูนานักเรียนสนทนาเก่ียวกับตัวละครเรื่อง รามเกียรต์ิ ที่นักเรียนรู้จัก แล้วกระตุ้นความคิดของ นกั เรียนโดยใช้คาถาม ดงั น้ี - นักเรียนร้จู ักตัวละครเหลา่ นน้ั ดีแคไ่ หน ๓. ให้นักเรียนแบ่งเป็น ๒ ฝ่าย โดยนักเรียนท่ีมีเลขประจาตัวเป็นเลขค่ีให้อยู่กลุ่มเดียวกัน และเลขคู่ อยกู่ ลมุ่ เดยี วกัน
๔. ครูนาภาพตัวละครแจกให้นักเรียนทั้งสองกลุ่ม แบบคละกัน หลังจากน้ันให้นักเรียนได้นามาติดท่ี กระดานหน้าห้อง โดยฝั่งหน่ึงเป็นฝ่ายยักษ์ ฝ่ายหนึ่งเป็นฝ่ายพระราม แล้วครูร่วมเฉลยกับนักเรียนพร้อมท้ัง บอกชื่อ ลกั ษณะของตวั ละคร ข้นั สอน ๕. นักเรียนอ่านบทนาเร่ืองและท่ีมาของบทละครเรื่อง รามเกียรต์ิ จากหนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย ชุด วรรณคดีวิจักษ์ ม. ๒ หน้า ๕๘ – ๖๒ แล้วร่วมกันสรุปสาระสาคัญ โดยครูเป็นผู้อธิบาย ซักถาม และตอบคาถามจนกว่านักเรยี นจะเข้าใจ ๖. จากนั้นให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดเร่ือง มาทาความรู้จักตัวละครกันเถอะ โดยให้นักเรียนบอก ลกั ษณะหรือข้อมูลท่ีเกยี่ วกับตวั ละครในเร่ือง รามเกียรติใ์ หถ้ ูกต้อง จากน้นั นาสง่ ครูเพ่ือตรวจสอบความถูกต้อง และประเมินผลให้คะแนนในลาดับต่อไป ขนั้ สรุป ๗. นกั เรยี นและครรู ว่ มกันสรปุ ความรู้ ดงั นี้ รามเกียรต์เิ ปน็ วรรณคดีมรดกเร่ืองหน่ึงของไทยท่ีร้จู ักกันแพร่หลาย จงึ ทาใหต้ ัวละครหลายตัว ในเรื่องนอ้ี ยูใ่ นความทรงจาของคนไทยสบื ต่อมา ๗. ส่อื และแหลง่ เรยี นรู้ ๑. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพิน้ ฐานภาษไทย วรรณคดีวิจักษ์ ชั้น มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ ๒. เอกสารแบบฝึกหัดเร่อื ง ตวั ละครรามเกียรติ์ ๓. แผ่นรปู ภาพตวั ละคร ๘. การวัดผลประเมินผล วิธกี ารวัด ๑. สงั เกตการอธบิ ายความรูเ้ กย่ี วกบั ลกั ษณะของตัวละครในเรื่อง รามเกียรต์ิ (K) ๒. ตรวจและประเมินผลการหาความสัมพันธ์ของตัวละครในเรื่อง รามเกียรต์ิ โดยแบบฝึกหัดเรื่อง มาทาความร้จู ักตัวละครกนั เถอะ (P) ๓. ประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมรกั ความเปน็ ไทย (A) เครอื่ งมอื วัด ๑. แบบสงั เกตการอธิบายความรเู้ กี่ยวกบั ลักษณะของตวั ละครในเรื่อง รามเกยี รต์ิ (K) ๒. แบบประเมินผลการหาความสัมพันธ์ของตวั ละครในเรอ่ื ง รามเกียรติ์ โดยใช้แบบฝึกหดั เร่อื ง มาทา ความรจู้ ักตัวละครกนั เถอะ (P) ๓. แบบประเมนิ การสังเกตพฤตกิ รรมรักความเป็นไทย (A) เกณฑ์การประเมิน ๑. นักเรียนมีความรู้ และสามารถอธิบายความรู้เก่ียวกับลักษณะของตัวละครในเรื่อง รามเกียรต์ิ (K) อย่ใู นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช)้ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการหาความสัมพันธ์ของตัวละครในเรื่อง รามเกียรต์ิ โดยการทา แบบฝึกหดั เรอ่ื ง มาทาความรจู้ ักตวั ละครกนั เถอะ (P) อย่ใู นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช)้ ถือว่าผ่านเกณฑ์ ๓. นักเรียนมพี ฤติกรรมรกั ความเปน็ ไทย (A) อยู่ในระดับคณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช)้ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์
เกณฑร์ ะดบั คุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ๑ ควรปรับปรุง ๘. การวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์ วิธกี ารวดั เคร่ืองมอื วัดผล เกณฑก์ ารประเมิน ด้านความรู้ความเขา้ ใจ (K) สงั เกตการอธิบายความรู้ แบบสงั เกตการอธบิ าย นกั เรียนมคี วามรู้ และ นกั เรยี นสามารถบอกลักษณะของ เก่ียวกับลักษณะของตัว ความรู้เก่ียวกับลกั ษณะของ สามารถอธิบายความรู้ ตวั ละครในเรอ่ื ง รามเกียรตไิ์ ด้ ละครในเรือ่ ง รามเกยี รติ์ ตัวละครในเร่อื ง รามเกียรติ์ เกย่ี วกับลักษณะของตัว ละครในเรือ่ ง รามเกยี รต์ิ ดา้ นทักษะกระบวนการ (P) ตรวจและประเมินผลการหา แบบประเมนิ ผลการหา อยู่ในระดับคณุ ภาพ ๒ ขนึ้ นกั เรยี นสามารถหาความสัมพันธ์ ความสัมพนั ธข์ องตัวละคร ความสัมพันธข์ องตวั ละคร ไป (พอใช)้ ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ ของตัวละครในเรอื่ ง รามเกยี รตไิ์ ด้ ในเร่ือง รามเกยี รต์ิ โดย ในเร่อื ง รามเกยี รติ์ โดยใช้ แบบฝึกหัดเรอ่ื ง มาทาความ แบบฝึกหัดเรอ่ื ง มาทาความ นักเรยี นมที ักษะ ร้จู ักตัวละครกนั เถอะ ร้จู ักตัวละครกันเถอะ กระบวนการในการหา ความสัมพันธข์ องตวั ละคร ด้านคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ ประเมินการสังเกต แบบประเมนิ การสังเกต ในเรื่อง รามเกยี รติ์ โดยการ (A) พฤติกรรมรกั ความเป็นไทย พฤติกรรมรักความเป็นไทย ทาแบบฝกึ หดั เรอ่ื ง มาทา รักความเปน็ ไทย ความรู้จกั ตัวละครกันเถอะ อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถือว่าผ่านเกณฑ์ นกั เรยี นมพี ฤตกิ รรมรกั ความเปน็ ไทย อยู่ในระดับ คุณภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช)้ ถือวา่ ผา่ นเกณฑ์ การประเมนิ ผลตามสภาพจริง ดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสงั เกตการอธบิ ายความรเู้ กย่ี วกบั ลักษณะของตัวละครในเรอ่ื ง รามเกียรติ์ (K) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ อธิบายความรู้ อธบิ ายความรู้ อธบิ ายความรู้ อธบิ ายความรู้ ความรเู้ กีย่ วกบั เก่ียวกับลักษณะของ เกี่ยวกับลกั ษณะของ เก่ียวกบั ลักษณะของ เกี่ยวกับลกั ษณะของ ลกั ษณะของตัวละคร ตวั ละครในเรื่อง ตัวละครในเรอื่ ง ตวั ละครในเร่ือง ตัวละครในเรอ่ื ง ในเรอ่ื ง รามเกียรติ์ รามเกยี รต์ิ ได้ รามเกยี รต์ิ ได้ รามเกยี รต์ิ ได้ รามเกยี รติ์ ไดเ้ พยี ง (K) ถกู ตอ้ ง ละเอียด ค่อนข้างถกู ต้องดี ถูกตอ้ งบา้ งบางสว่ น คร่าวๆ ถกู ต้องเพยี ง ชัดเจนดมี าก เล็กนอ้ ยเทา่ นัน้
๒. แบบประเมนิ ผลการหาความสัมพนั ธ์ของตวั ละครในเร่ือง รามเกียรต์ิ โดยใช้แบบฝึกหดั เร่อื ง มาทา ความรู้จักตวั ละครกันเถอะ (P) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ๔๓๒๑ นกั เรยี นทา นกั เรยี นทา นกั เรียนทา นักเรียนทา แบบฝกึ หดั เรือ่ ง มา แบบฝกึ หดั ไดค้ ะแนน แบบฝึกหัดไดค้ ะแนน แบบฝึกหดั ไดค้ ะแนน แบบฝกึ หัดได้คะแนน ทาความรจู้ กั ตัวละคร ๙ - ๑๐ คะแนน จาก ๗ – ๘ คะแนน จาก ๕ – ๖ คะแนน จาก ๐ – ๔ คะแนน จาก กันเถอะ (P) คะแนนทัง้ หมด ๒๐/ คะแนนทั้งหมด ๒๐/ คะแนนท้งั หมด ๒๐/ คะแนนทงั้ หมด ๒๐/ ๒๒๒๒ ๓. แบบประเมนิ การสงั เกตพฤตกิ รรมรักความเป็นไทย (A) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๑ ๔๓๒ รักความเปน็ ไทย (A) เห็นความสาคญั ของ เห็นความสาคัญของ เหน็ ความสาคัญของ เห็นความสาคญั ของ การศึกษาวรรณคดี การศกึ ษาวรรณคดี การศึกษาวรรณคดี การศึกษาวรรณคดี มรดกของไทย โดย มรดกของไทยโดย มรดกของไทยโดย มรดกของไทยโดย หมน่ั ศึกษาและให้ หมน่ั ศกึ ษาและให้ หมั่นศกึ ษาและให้ หมนั่ ศึกษาและให้ ความสนใจซกั ถาม ความสนใจซักถาม ความสนใจซกั ถาม ความสนใจซกั ถาม เป็นประจา บ่อยคร้ัง บา้ งบางคร้งั เพยี งเลก็ น้อยเทา่ นนั้
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๔๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ภาคเรยี นท่ี ๑ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ ๕ รนื่ รสวรรณคดี (รามเกียรต์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก) เร่อื ง คาศพั ท์รามเกยี รต์ิ จานวน ๑ ช่ัวโมง ชือ่ ครผู ู้สอน นางสาวจิราพร กุลให้ สอนวันที.่ .................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรูแ้ ละความคิดเพ่ือนาไปใช้ตดั สนิ ใจ แกป้ ญั หาใน การดาเนนิ ชีวิต และมีนสิ ัยรักการอา่ น ๒. สาระสาคญั วรรณคดีเร่อื ง รามเกียรต์ิ เป็นวรรณคดีมรดก เรื่องสาคัญของไทย ท่มี เี นื้อหามาจาก มหาภารตะของ อินเดยี มกี ารดาเนนิ เร่อื งเป็นตอน มตี วั ละครมากมาย ซึ่งลักษณะตัวละครและนสิ ัยของตัวละครแฝงข้อคดิ คติ เตอื นใจให้กบั ผ้ศู กึ ษาเป็นอยา่ งยิ่ง ในศึกษาเร่ือง รามเกยี รติ์ จึงจาเปน็ อย่างยิง่ ทตี่ ้องศกึ ษาคาศัพท์ทีป่ รากฏใน เร่ืองเพ่ือให้เขา้ ใจความหมาย เนื้อหาในเรื่องมากย่ิงขึ้น ๓. ตัวช้ีวัด / ผลการเรียนรู้ ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อ่านออกเสยี งบทรอ้ ยแกว้ และบทร้อยกรองได้ถกู ต้อง ๔. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. นักเรียนบอกความหมายของคาศพั ท์ในบทละครเรอ่ื ง รามเกยี รต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทกได้ ๒. นกั เรยี นสามารถจาแนกสานวนทม่ี าจากเร่ือง รามเกยี รต์ิ ได้ ๓. มุ่งม่ันในการทางาน ๕. สาระการเรยี นรู้ คาศัพทใ์ นเรื่อง รามเกียรต์ิ ๖. กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นั นาเข้าสบู่ ทเรยี น ๑. นักเรยี นรว่ มกันตอบคาถามของครู ดงั นี้ - ทาไมการการอ่านบทร้อยกรองจึงเข้าใจยากกว่าการอา่ นบทร้อยแก้ว เพราะเหตุใด ขนั้ สอน ๒. ครูเขียนข้อความบนกระดาน ที่มีกลอนจากเร่ือง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ให้ นักเรียนอ่านพร้อมกัน แล้วช่วยกันบอกความหมายของคาท่ีขีดเส้นใต้ โดยสามารถค้นหาความหมายจาก หนังสือเรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาษาไทยชุด วรรณคดีวจิ ักษ์ ม. ๒ ได้ ต้ังแตพ่ ระสยมภูวญาณ (อ่านวา่ สะ – หยฺ ม – พู – วะ – ยาน
หมายถึง พระอิศวร) ว่าพระองคเ์ ป็นหลักธาตรี (อา่ นวา่ ทา – ตฺรี หมายถึง แผ่นดนิ โลก) เห็นนนทกโศกาจาบัลย์ (อา่ นว่า จา – บัน หมายถึง ร้องไห้คร่าครวญ) รับพรพระศุลีมยี ศ (อ่านว่า สุ – ลี หมายถึง พระอิศวร) ดว้ ยใจกาเรบิ อหังการ์ (อา่ นว่า อะ – หังฺ – กา หมายถึง ความเยอ่ หยิ่ง จองหอง) สุบรรณคนธรรพว์ ิทยา (อ่านว่า สุ – บนั หมายถึง ครฑุ ) ดง่ั พษิ อสุนไี มท่ นได้ (อ่านว่า อะ – สุ – นี หมายถึง ฟ้าผ่า) เจ้าจกั ปรารมภ์ไปไยมี(อา่ นว่า ปรฺ า – รม หมายถึง วิตก ราพงึ ครุ่นคดิ ) นนทกแกลว้ หาญชาญสมร (อา่ นวา่ ชาน – สะ – หมฺ อน หมายถึง เชย่ี วชาญการรบ) ไปยงั เกษียรวารี (อา่ นวา่ กะ – เสียน – วา – รี หมายถึง ทะเลน้านมเป็นทป่ี ระทบั ของพระนารายณ์ ๓. ให้นักเรียนฟังสานวนที่ครูพูดแล้วลองทายว่าสานวนใดมีที่มาจากเรื่อง รามเกียรต์ิ โดยจัดการ แข่งขนั เป็น ๒ ฝา่ ย สมาชิกทุกคนในแตล่ ะฝ่ายมสี ิทธิ์ตอบตามความคดิ ของตนเอง ถ้าคิดวา่ สานวนนนั้ มาจาก เร่ือง รามเกียรต์ิ ให้ยกนิ้วหัวแม่มือข้ึน แต่ถ้าคิดว่าไม่ใช่ให้ชี้น้ิวหัวแม่มือลง คนท่ีตอบผิดต้องออกจากการ แข่งขันมาเป็นกรรมการกลางช่วยครูตรวจสอบผู้แข่งขัน เมื่อการแข่งขันจบลงฝ่ายใดเหลือสมาชิกมากกวา่ เปน็ ฝ่ายชนะ สานวนทใ่ี ชใ้ นการแข่งขนั ได้แก่ ราพณาสูร (ใช่) กล้งิ ทูต (ใช)่ สบิ แปดมงกฎุ (ใช่) ลกู ทรพี (ใช่) เดก็ เล้ียงแกะ (ไม่ใช่) นา้ ผงึ้ หยดเดียว (ไม่ใช่) มือไม่พายเอาเทา้ ราน้า (ไม่ใช)่ ชาวนากับงเู ห่า (ไมใ่ ช)่ วดั รอยเท้า (ใช่) งอมพระราม (ใช่) ๔. ให้นักเรียนช่วยกันอธิบายความหมายของสานวนท่ีมาจาก เรื่อง รามเกียรต์ิ ตามความเข้าใจ ครู ตรวจสอบและอธบิ ายความหมายทถี่ กู ต้องใหน้ กั เรยี นฟัง ราพณาสูร หมายถึง เสยี หายจนหมดเกล้ียง สบิ แปดมงกฎุ หมายถึง ผทู้ ี่มีเลห่ เ์ หลย่ี มมากหรือนักเลง คนที่หากินในทาง มิจฉาชีพ วัดรอยเทา้ หมายถงึ ตีตนเสมอ ชงิ ดีชงิ เดน่ กับผ้ทู เ่ี หนือกว่าหรอื มพี ระคุณ กลง้ิ ทูต หมายถงึ นอนกลิง้ ไม่เปน็ ท่า
ลกู ทรพี หมายถึง ลกู ชายที่โหดร้าย มใี จชวั่ ชา้ ฆ่าได้แม้กระทั่งพ่อแมข่ อง ตนโดยไมเ่ กรงกลวั ต่อบาป งอมพระราม หมายถึง มคี วามทุกขย์ าก ลาบากเต็มท่ี แพอ้ ยา่ งหมดรปู ข้นั สรุป ๕. นกั เรยี นและครรู ว่ มกนั สรุปความรู้ ดงั น้ี การเข้าใจความหมายของคาศัพท์และสานวนเป็นพืน้ ฐานของการอ่าน การอ่านออกเสียง ที่ผู้อา่ นเข้าใจเน้อื ความทาให้ผูอ้ า่ นสรา้ งอรรถรสในการอ่านได้ ๗. สื่อและแหลง่ เรยี นรู้ ๑. หนังสอื เรียนรายวิชาพ้นิ ฐานภาษไทย วรรณคดีวจิ กั ษ์ ช้ัน มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ ๘. การวัดผลประเมินผล วธิ ีการวดั ๑. สังเกตการบอกความหมายของคาศัพท์ในบทละครเร่ือง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก (K) ๒. ประเมนิ ผลการจาแนกสานวนทม่ี าจากเร่ือง รามเกียรต์ิ (P) ๓. ประเมินการสังเกตพฤติกรรมมุ่งมนั่ ในการทางาน (A) เครื่องมอื วดั ๑. แบบสงั เกตการบอกความหมายของคาศพั ท์ในบทละครเร่ือง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณป์ ราบ นนทก (K) ๒. แบบประเมนิ ผลการจาแนกสานวนทมี่ าจากเร่ือง รามเกียรต์ิ (P) ๓. แบบประเมินการสงั เกตพฤติกรรมมุง่ ม่นั ในการทางาน (A) เกณฑก์ ารประเมิน ๑. นักเรียนมีความรู้ และสามารถบอกความหมายของคาศัพท์ในบทละครเร่ือง รามเกียรติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก (K) อย่ใู นระดบั คุณภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช)้ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทักษะกระบวนการในการจาแนกสานวนที่มาจากเรื่อง รามเกียรต์ิ (P) อยู่ในระดับ คณุ ภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช้) ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ ๓. นักเรียนมีพฤติกรรมมุ่งม่ันในการทางาน (A) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ขึ้นไป (พอใช้) ถือว่าผ่าน เกณฑ์ เกณฑ์ระดบั คณุ ภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดบั ๔ ดมี าก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ๑ ควรปรับปรุง
๘. การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์ วิธกี ารวัด เครือ่ งมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน ด้านความรู้ความเข้าใจ (K) สังเกตการบอกความหมาย แบบสงั เกตการบอก นกั เรียนมีความรู้ และ นักเรยี นบอกความหมายของ ของคาศัพท์ในบทละครเร่อื ง ความหมายของคาศัพท์ใน สามารถบอกความหมาย คาศพั ท์ในบทละครเร่อื ง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ บทละครเรือ่ ง รามเกียรติ์ ของคาศพั ทใ์ นบทละครเร่ือง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบ ปราบนนทก ตอน นารายณ์ปราบ รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ นนทกได้ นนทก ปราบนนทก อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช้) ดา้ นทกั ษะกระบวนการ (P) ประเมินผลการจาแนก แบบประเมินผลการจาแนก ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ นักเรียนสามารถจาแนกสานวน สานวนทม่ี าจากเรอื่ ง สานวนทมี่ าจากเร่อื ง ทีม่ าจากเร่ือง รามเกียรติ์ได้ รามเกียรต์ิ รามเกยี รต์ิ นักเรยี นมีทกั ษะ กระบวนการในการจาแนก ดา้ นคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ ประเมนิ การสังเกต แบบประเมนิ การสังเกต สานวนทม่ี าจากเร่อื ง (A) พฤติกรรมมงุ่ มนั่ ในการ พฤตกิ รรมมุ่งมน่ั ในการ รามเกียรติ์ อยใู่ นระดับ มงุ่ มนั่ ในการทางาน ทางาน ทางาน คุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช)้ ถือว่าผา่ นเกณฑ์ นกั เรียนมีพฤตกิ รรมมงุ่ มนั่ ในการทางาน อยใู่ นระดบั คุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช)้ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ การประเมินผลตามสภาพจรงิ ด้านความรู้ ทกั ษะกระบวนการ และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสังเกตการบอกความหมายของคาศพั ท์ในบทละครเรือ่ ง รามเกยี รต์ิ ตอน นารายณ์ปราบ นนทก (K) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ บอกความหมายของ บอกความหมายของ บอกความหมายของ บอกความหมายของ บอกความหมายของ คาศัพท์ในบทละคร คาศัพทใ์ นบทละคร คาศัพทใ์ นบทละคร คาศพั ทใ์ นบทละคร คาศพั ทใ์ นบทละคร เรอ่ื ง รามเกยี รติ์ ตอน เรื่อง รามเกยี รต์ิ ตอน เรื่อง รามเกยี รติ์ ตอน เรอื่ ง รามเกยี รต์ิ ตอน เรอื่ ง รามเกยี รต์ิ ตอน นารายณป์ ราบ นารายณ์ปราบ นารายณป์ ราบ นารายณป์ ราบ นารายณป์ ราบ นนทก ไดถ้ ูกตอ้ ง นนทก ได้คอ่ นขา้ ง นนทก ได้ถกู ตอ้ งบ้าง นนทก ไดเ้ พียงคร่าวๆ นนทก (K) ละเอยี ดชดั เจนดมี าก ถูกตอ้ งดี บางสว่ น ถกู ตอ้ งเพียงเล็กน้อย เทา่ น้ัน
๒. แบบประเมนิ ผลการจาแนกสานวนทม่ี าจากเร่อื ง รามเกียรต์ิ (P) รายการ ระดับคุณภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๑ ๔๓๒ จาแนกสานวนที่มา จาแนกสานวนทีม่ า จาแนกสานวนท่มี า จาแนกสานวนทีม่ า การจาแนกสานวน จากเรอื่ ง รามเกยี รต์ิ จากเร่อื ง รามเกียรต์ิ จากเรอื่ ง รามเกยี รติ์ จากเรื่อง รามเกยี รติ์ ที่มาจากเรือ่ ง ไดถ้ กู ต้อง ละเอียด ไดค้ ่อนข้างถกู ตอ้ งดี ไดถ้ กู ตอ้ งบ้าง ได้เพยี งคร่าวๆ รามเกยี รต์ิ (P) ชดั เจนดมี าก บางส่วน ถูกต้องเพยี งเล็กนอ้ ย เทา่ นัน้ ๓. แบบประเมนิ การสังเกตพฤตกิ รรมม่งุ ม่นั ในการทางาน (A) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ มุ่งมน่ั ในการทางาน นักเรียนมีความมุ่งมนั่ นกั เรยี นมคี วามมุ่งม่ัน นกั เรยี นมีความมุ่งมน่ั นักเรยี นมคี วามมุ่งม่นั (A) ในการเรียนและการ ในการเรยี นและการ ในการเรยี นและการ ในการเรียนและการ ทางาน รวมทัง้ มคี วาม ทางาน รวมท้งั มีความ ทางาน รวมทัง้ มีความ ทางาน รวมทั้งมีความ กระตือรอื รน้ ในการ กระตือรือร้นในการ กระตือรอื ร้นในการ กระตือรือร้นในการ ทางานร่วมกับผู้อ่นื ทางานรว่ มกบั ผอู้ ่ืน ทางานร่วมกับผูอ้ ืน่ ทางานร่วมกับผู้อ่ืน เป็นประจา บอ่ ยครัง้ บ้างบางครั้ง เพียงเลก็ น้อยเทา่ นน้ั
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๔๓ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ภาคเรียนท่ี ๑ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ ร่นื รสวรรณคดี (รามเกียรต์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก) เรือ่ ง ผงั ความคดิ พินจิ รามเกียรต์ิ จานวน ๑ ชั่วโมง ชื่อครผู ู้สอน นางสาวจริ าพร กุลให้ สอนวนั ท.ี่ .................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็น คุณค่า และนามาประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ๒. สาระสาคัญ การสรปุ เรื่องโดยใช้ผงั มโนทัศน์ เป็นการเรยี นรู้ที่สรุปใจความสาคัญ แล้วจดั ลาดับความคิดเปน็ สว่ น สามารถแยกแยะเนื้อหา และประเดน็ สาคัญได้ ทาให้งา่ ยต่อการจดจา รวมถึงการสร้างผังมโนทศั นเ์ ชอ่ื มโยง ความสัมพันธ์ของตวั ละคร กง็ ่ายในการจดจาเช่นเดยี วกนั ๓. ตัวชวี้ ดั / ผลการเรียนรู้ ท ๑.๑ ม. ๒/๓ เขียนผงั ความคดิ เพ่ือแสดงความเขา้ ใจในบทเรยี นต่าง ๆ ทอี่ ่าน ๔. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. นกั เรยี นอธบิ ายหลักการเขยี นผงั มโนทศั นแ์ ละสรปุ ใจความสาคัญของเรอื่ งได้ ๒. นักเรยี นสามารถเขียนผังมโนทัศนส์ รปุ เร่อื งและเชอื่ มความสัมพนั ธ์ตวั ละครภายในเร่ืองได้ ๓. ใฝเ่ รยี นรู้ ๕. สาระการเรยี นรู้ การเขียนผังมโนทัศนส์ รุปเร่อื ง รามเกยี รต์ิ ตอนนารายณป์ ราบนนทก ๖. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนาเข้าสบู่ ทเรยี น ๑. นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเห็น โดยครใู ชค้ าถาม ดังนี้ - นกั เรียนมีวิธีบนั ทึกข้อมลู อยา่ งไรเพอื่ ไมใ่ หล้ มื ข้ันสอน ๒. นักเรียนอ่านทบทวนบทละครเรื่อง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก จากหนังสือ รายวิชา พื้นฐาน ภาษาไทยชุด วรรณคดีวิจักษ์ ม. ๒ หน้า ๖๔ – ๗๑ โดยครูเป็นผู้อธิบาย ซักถาม ตอบคาถามจนกว่า นักเรยี นจะเข้าใจ จากนน้ั ชว่ ยกันสรุปเหตุการณส์ าคัญจากเรอ่ื ง แล้วตรวจสอบความถูกต้อง ๓. จากนัน้ ให้นักเรียนชว่ ยกันวเิ คราะห์เหตกุ ารณ์ตามประเด็นต่อไปนี้
ตัวละครสาคัญ (พระอศิ วร พระนารายณ์ พระอนิ ทร์ นนทก นางฟ้าแปลง หมูเ่ ทวดา) ฉาก (เขาไกรลาสบนสวรรค์) ปญั หาของเหตุการณค์ รงั้ น้ี (นนทกถกู เทวดาตบหัวเยา้ หยอกและถอนผมจนโล้นจึงเกิด เป็นความแค้น) ขอ้ คิดจากเหตุการณ์ครั้งน้ี (ต้องใช้อานาจในทางท่ถี ูกตอ้ งไมใ่ ชเ่ พอ่ื ขม่ เหงรังแกผู้อ่ืน) ๔. นักเรียนและครูรว่ มกันทบทวนรูปแบบการเขยี นแผนภาพโครงเรือ่ ง จากท่ีเคยไดเ้ รยี นไปแล้ว ๕. จากนนั้ ให้นักเรียนทาแบบฝกึ หัด เรือ่ ง การเขียนแผนภาพโครงเรอ่ื งจากบทละครเรอื่ ง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก ครตู รวจสอบผลงานของนกั เรียนเป็นรายบุคคล ขน้ั สรุป ๖. นกั เรยี นและครูรว่ มกันสรุปความรู้ ดงั น้ี การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมแล้วสามารถจับใจความสาคัญจนสรุปเน้ือหาท่ีอ่ านเป็นผัง ความคดิ ได้ จะทาใหเ้ ขา้ ใจเรอื่ งที่อา่ นเปน็ อยา่ งดี ๗. ส่ือและแหล่งเรยี นรู้ ๑. หนงั สือเรียนรายวิชาพ้นิ ฐานภาษไทย วรรณคดวี จิ ักษ์ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ๘. การวัดผลประเมินผล วิธกี ารวดั ๑. สังเกตการสรุปเหตุการณ์สาคัญของบทละครเร่ือง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก (K) ๒. ประเมนิ ผลการวเิ คราะหป์ ัญหาและข้อคดิ ของบทละครเร่ือง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบ นน ทก และเขียนแผนภาพโครงเรื่องบทละครเร่ือง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก (P) ๓. ประเมนิ การสงั เกตพฤตกิ รรมใฝเ่ รยี นรู้ (A) เครอ่ื งมือวัด ๑. แบบสังเกตการสรุปเหตุการณ์สาคัญของบทละครเรื่อง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก (K) ๒. แบบประเมนิ ผลการวิเคราะห์ปัญหาและข้อคิดของบทละครเร่ือง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบ นนทก และเขียนแผนภาพโครงเร่อื งบทละครเรอ่ื ง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณป์ ราบนนทก (P) ๓. แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมใฝเ่ รียนรู้ (A) เกณฑก์ ารประเมิน ๑. นักเรียนมีความรู้ และสามารถสรุปเหตุการณ์สาคัญของบทละครเรื่อง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ ปราบนนทก (K) อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถือว่าผา่ นเกณฑ์ ๒. นักเรียนมีทกั ษะกระบวนการในการวิเคราะห์ปัญหาและข้อคิดของบทละครเร่ือง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบ นนทก และเขียนแผนภาพโครงเรอื่ งบทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบ นนทก (P) อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช้) ถือว่าผา่ นเกณฑ์ ๓. นกั เรียนมีพฤตกิ รรมใฝ่เรียนรู้ (A) อยใู่ นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขน้ึ ไป (พอใช)้ ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ เกณฑ์ระดับคุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดับ ๓ ดี
คะแนน ๕ - ๖ ระดบั ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดับ ๑ ควรปรบั ปรงุ ๘. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วิธกี ารวดั เครอ่ื งมอื วดั ผล เกณฑ์การประเมิน ดา้ นความรูค้ วามเข้าใจ (K) สงั เกตการสรุปเหตุการณ์ แบบสงั เกตการสรุป นกั เรยี นมคี วามรู้ และ นักเรียนอธิบายหลกั การเขียนผัง สาคัญของบทละครเรอ่ื ง เหตกุ ารณส์ าคัญของบท สามารถสรปุ เหตุการณ์ มโนทศั นแ์ ละสรุปใจความสาคญั รามเกยี รติ์ ตอน นารายณ์ ละครเร่ือง รามเกยี รติ์ ตอน สาคญั ของบทละครเร่อื ง ของเรื่องได้ ปราบนนทก นารายณป์ ราบนนทก รามเกยี รติ์ ตอน นารายณ์ ปราบนนทก อย่ใู นระดับ ด้านทักษะกระบวนการ (P) ประเมนิ ผลการวเิ คราะห์ แบบประเมินผลการ คณุ ภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช)้ นักเรยี นสามารถเขยี นผังมโนทศั น์ ปญั หาและขอ้ คิดของบท วิเคราะหป์ ัญหาและข้อคิด ถอื วา่ ผา่ นเกณฑ์ สรปุ เรอ่ื งและเช่ือมความสมั พันธ์ ละครเรื่อง รามเกียรต์ิ ตอน ของบทละครเรอ่ื ง ตัวละครภายในเรื่องได้ นารายณ์ปราบนนทก และ รามเกยี รต์ิ ตอน นารายณ์ นักเรียนมที กั ษะ เขยี นแผนภาพโครงเรื่องบท ปราบนนทก และเขยี น กระบวนการในการ ละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน แผนภาพโครงเร่ืองบทละคร วิเคราะหป์ ญั หาและขอ้ คิด นารายณป์ ราบนนทก เรื่อง รามเกยี รติ์ ตอน ของบทละครเรื่อง นารายณ์ปราบนนทก รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประเมินการสังเกต ปราบนนทก และเขยี น (A) พฤตกิ รรมใฝ่เรยี นรู้ แบบประเมินการสังเกต แผนภาพโครงเรอื่ งบทละคร ใฝ่เรียนรู้ พฤตกิ รรมใฝ่เรยี นรู้ เรอ่ื ง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณป์ ราบ นนทก อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช้) ถือวา่ ผา่ น เกณฑ์ นกั เรียนมีพฤติกรรมใฝ่ เรยี นรู้ อย่ใู นระดบั คณุ ภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช้) ถือว่าผา่ น เกณฑ์
การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสังเกตการสรปุ เหตุการณส์ าคญั ของบทละครเรื่อง รามเกียรติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก (K) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมิน ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๔๓๒๑ สรุปเหตกุ ารณส์ าคัญ สรปุ เหตุการณส์ าคญั สรปุ เหตุการณส์ าคัญ สรุปเหตุการณส์ าคัญ สรปุ เหตกุ ารณส์ าคญั ของบทละครเรอ่ื ง ของบทละครเร่อื ง ของบทละครเร่อื ง ของบทละครเรือ่ ง ของบทละครเร่ือง รามเกยี รต์ิ ตอน รามเกียรต์ิ ตอน รามเกียรต์ิ ตอน รามเกยี รต์ิ ตอน รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบนนทก นารายณ์ปราบนนทก นารายณ์ปราบนนทก นารายณป์ ราบนนทก นารายณป์ ราบนนทก ไดถ้ ูกต้อง ละเอียด ได้คอ่ นขา้ งถูกต้องดี ไดถ้ กู ตอ้ งบา้ ง ไดเ้ พียงครา่ วๆ (K) ชดั เจนดีมาก บางส่วน ถูกต้องเพยี งเลก็ นอ้ ย เท่าน้นั ๒. แบบประเมินผลการวิเคราะห์ปัญหาและข้อคิดของบทละครเร่ือง รามเกียรต์ิ ตอน นารายณ์ปราบน นทก และเขยี นแผนภาพโครงเรอ่ื งบทละครเรื่อง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก (P) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรงุ ๔๓๒๑ วิเคราะหป์ ัญหาและ วเิ คราะหป์ ญั หาและ วิเคราะหป์ ัญหาและ วิเคราะหป์ ัญหาและ วิเคราะหป์ ญั หาและ ขอ้ คดิ ของบทละคร ข้อคิดของบทละคร ขอ้ คิดของบทละคร ขอ้ คดิ ของบทละคร ข้อคดิ ของบทละคร เรื่อง รามเกยี รติ์ ตอน เรอื่ ง รามเกยี รติ์ ตอน เร่ือง รามเกยี รติ์ ตอน เร่อื ง รามเกยี รติ์ ตอน เรือ่ ง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก นารายณป์ ราบนนทก นารายณ์ปราบนนทก นารายณ์ปราบนนทก นารายณ์ปราบนนทก ได้ถกู ตอ้ ง ละเอียด ไดค้ ่อนข้างถกู ต้องดี ได้ถูกต้องบา้ ง ไดถ้ ูกตอ้ งเพียง ชัดเจนดมี าก บางส่วน เล็กน้อยเท่านั้น เขยี นแผนภาพโครง เขียนแผนภาพ เขยี นแผนภาพ เขยี นแผนภาพ เขียนแผนภาพ เรื่องบทละครเร่ือง โครงเรื่องครบถว้ นทุก โครงเร่อื งครบถ้วน โครงเรอ่ื งครบถ้วน โครงเรอ่ื งครบถ้วน รามเกียรติ์ ตอน ประเดน็ ทกุ ประเด็น ทกุ ประเด็น ทกุ ประเด็น นารายณป์ ราบนนทก อธิบายรายละเอยี ด ขาดรายละเอยี ด ขาดรายละเอยี ด ขาดรายละเอยี ด ถกู ตอ้ งชัดเจน ที่ไม่สาคญั ท่ีสาคญั ท่ีสาคญั ทง้ั หมด เพยี งเล็กนอ้ ย บางสว่ น หลายตอน ๓. แบบประเมนิ การสังเกตพฤติกรรมใฝ่เรยี นรู้ (A) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมิน ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรงุ ๑ ๔๓๒ ต้งั ใจเรียน และทา ตงั้ ใจเรยี น และทา ตงั้ ใจเรยี น และทา ตัง้ ใจเรียน และทา ใฝเ่ รียนรู้ (A) กิจกรรมเปน็ ประจา กจิ กรรมบ่อยครงั้ กจิ กรรมบา้ งบางครง้ั กจิ กรรมเพยี งเลก็ นอ้ ย เท่านน้ั แต่ยังพอรจู้ กั รวมท้งั รจู้ ักเห็น รวมทั้งรู้จกั เหน็ รวมทั้งรจู้ ักเห็น เห็นความสาคัญของ ความสาคญั ของการ ความสาคญั ของการ ความสาคญั ของการ การใช้ผงั ความคิด ใช้ผังความคิดสรุป ใชผ้ ังความคิดสรปุ ใชผ้ ังความคดิ สรุป สรปุ เน้ือหาจากการ เนอื้ หาจากการอ่าน เนอื้ หาจากการอา่ น เนอ้ื หาจากการอ่าน อา่ นบ้างพอควร
แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔๔ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี ๕ รืน่ รสวรรณคดี (รามเกียรต์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก) เรื่อง PBL รามเกยี รต์ิ จานวน ๑ ชั่วโมง ชอื่ ครผู ู้สอน นางสาวจริ าพร กลุ ให้ สอนวันที.่ .................................................... ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขยี นเขยี นส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอ่ ความ และเขยี นเร่อื งราวใน รูปแบบตา่ ง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ ๒. สาระสาคญั PBL ๓. ตัวช้วี ัด / ผลการเรียนรู้ ท ๒.๑ ม. ๒/๔ เขยี นย่อความ ๔. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. นกั เรียนอธิบายหลักการเขยี นยอ่ ความได้ ๒. นักเรยี นสามารถเขยี นย่อความได้ ๓. มมี ารยาทในการเขยี น ๕. สาระการเรียนรู้ การเขียนย่อความ ๖. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้ันนาเขา้ สู่บทเรียน ๑. ให้นกั เรยี นอา่ นขอ้ ความท่ีครูเขยี นบนกระดาน ดงั น้ี “น้ำใช้ในชีวิตประจ้ำวันของคนเรำหลำยประกำรคือ ใช้ในกำรด่ืม กำรหุงต้ม กำรช้ำระส่ิงโสโครก ต่ำง ๆ และยังมีประโยชน์แก่ประเทศชำติหลำยประกำร ได้แก่ กำรคมนำคม กำรอุตสำหกรรม กำรเกษตร กำรประมง แต่ปัจจุบัน แม่น้ำล้ำธำรขำดหำยไปหลำยสำย เพรำะคนตัดไม้ท้ำลำยป่ำ ซึ่ง จะมีผลกระทบทำ้ ให้โลกแห้งแลง้ ทำ้ ไรท่ ้ำนำไม่ได้ ทุกวันนนี ำ้ ลดน้อยไปทุกที เรำจึงควรรู้จักวธิ ีกำรใช้ น้ำ” จำกหนังสอื คดิ และเขียนเชิงสรำ้ งสรรค์ เรียงควำม ยอ่ ควำม และสรุปควำม
ของกระทรวงศึกษำธกิ ำร ๒. ให้นกั เรียนชว่ ยกนั บอกสาระสาคญั ของข้อความท่อี ่าน(ในชีวิตประจาวันเราตอ้ งใชน้ า้ เพื่อทา กจิ กรรมหลายอยา่ ง แตป่ ัจจุบันปรมิ าณนา้ ลดลงทกุ ที เราจงึ ควรร้รู กั ใชน้ ้าให้คุม้ คา่ ) ขนั้ สอน ๓. ครูอธบิ ายให้นักเรียนเขา้ ใจว่าส่ิงท่ีนกั เรยี นทานี้คือการจบั ใจความและสรุปความจากเร่ืองท่ีอา่ น ซ่งึ เปน็ ทกั ษะพื้นฐานของการเขียนย่อความ ๔. ให้นกั เรยี นศึกษาความรู้ เรือ่ ง การเขียนยอ่ ความ โดยครูเป็นผ้อู ธบิ าย จากนนั้ ช่วยกันตอบคาถาม เพื่อสรปุ ความเขา้ ใจ ดังนี้ ๑) ภาษาในการเขียนยอ่ ความควรเป็นอยา่ งไร (เป็นสานวนภาษาของผยู้ ่อเอง) ๒) การยอ่ หน้าคอื การตัดทอนข้อความให้สัน้ ลงใชห่ รอื ไม่ (ไม่) ๓) ยอ่ หน้าแรกของการย่อความเรียกวา่ อะไร (คานายอ่ ความ) ๔) คานาย่อความมปี ระโยชน์อย่างไร (บอกท่ีมาของเรอื่ งทนี่ ามายอ่ ) ๕) เม่ือย่อความแล้วจะมีท้งั หมดกยี่ ่อหนา้ (๑-๒ ยอ่ หนา้ ) ๖) ในการยอ่ ความหากข้อความที่ย่อมีเคร่ืองหมายอญั ประกาศต้องทาอย่างไร (ตดั เครือ่ งหมาย อัญประกาศออก แล้วเรียบเรยี งข้อความใหม่) ๗) ถ้าเรอ่ื งท่จี ะย่อใช้สรรพนามบุรษุ ท่ี ๑ และ ๒ ต้องทาอยา่ งไร (เปลย่ี นเป็นสรรพนามบรุ ุษท่ี ๓) ๘) ในการยอ่ ความถ้ามคี าราชาศัพท์อยตู่ ้องทาอยา่ งไร (คงคาราชาศพั ท์ไว้เหมือนเดมิ ) ๙) ถา้ จะย่อบทร้อยกรองต้องทาอย่างไร (ถอดความให้เป็นร้อยแก้วกอ่ น) ๑๐)เมื่อย่อความแลว้ เรื่องท่ยี อ่ ควรมสี ัดส่วนเป็นเท่าใดของข้อความเดิม (ประมาณ ๑ ใน ๔ ของ เร่อื งเดิม)
๕. ใหน้ กั เรียนศึกษารูปแบบของคานายอ่ ความแต่ละประเภท ดงั น้ี บทร้อยกรอง ยอ่ (ประเภทของบทรอ้ ยกรอง) เร่ือง ตอน ความว่า ของ จากหนงั สือ หนา้ บทความ สารคดี เรอ่ื งส้ัน นิทาน จาก ยอ่ ความเร่อื ง ของ หนา้ ความว่า พระราชดารัส พระบรมราโชวาท โอวาท ปาฐกถา สุนทรพจน์ ยอ่ (ประเภทของงาน) ของ พระราชทานแก่/ กลา่ วแก่/แสดงแก่ (ใคร) เร่อื ง เน่ืองในงาน ณ วนั ท่ี เดือน ปี ๖รา.ยบจุคาคกควลนา้ัมนวให่า้นักเรียนทาแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนย่อความ ครูตรวจสอบผลงานของนักเรียนเป็น ข้นั สรปุ ๗. นักเรยี นและครูรว่ มกันสรุปความรู้ ดังนี้ การเขียนย่อความเป็นการเรียบเรียงสาระสาคัญที่ได้จากการรับสารให้กระชับและเข้าใจง่าย ซ่ึงเป็น ประโยชน์ต่อการศึกษาคน้ คว้า การฝกึ ทักษะการจบั ใจความสาคัญของเร่ืองและการเรียบเรียงข้อความอยู่ เสมอจะทาใหส้ รุปความไดร้ วดเรว็ ครบถว้ น และเรยี บเรียงได้กระชับ ชดั เจน ๗. สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้ ๑. หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพน้ิ ฐานภาษไทย วรรณคดวี ิจักษ์ ช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ๒. ใบความรู้เร่อื ง การเขียนย่อความ ๓. แบบฝึกหดั เร่ือง การเขียนย่อความ
๘. การวัดผลประเมินผล วิธีการวัด ๑. สังเกตการอธิบายความรเู้ ก่ียวกับหลกั การและรูปแบบของการเขียนยอ่ ความ (K) ๒. ตรวจประเมนิ ผลการเขียนย่อความ (P) ๓. ประเมินการสงั เกตพฤติกรรมมงุ่ ม่ันในการทางาน (A) เครื่องมือวดั ๑. แบบสงั เกตการอธิบายความรเู้ ก่ียวกับหลักการและรูปแบบของการเขยี นย่อความ (K) ๒. แบบประเมนิ ผลการเขียนยอ่ ความ (P) ๓. แบบประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรมมงุ่ มน่ั ในการทางาน (A) เกณฑก์ ารประเมิน ๑. นักเรียนมีความรู้ และสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกับหลักการและรูปแบบของการเขียนย่อความ (K) อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช)้ ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ ๒. นักเรยี นมที ักษะกระบวนการในการเขยี นย่อความ (P) อยู่ในระดบั คุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถอื ว่า ผ่านเกณฑ์ ๓. นักเรียนมีพฤติกรรมมุ่งม่ันในการทางาน (A) อยู่ในระดับคุณภาพ ๒ ข้ึนไป (พอใช้) ถือว่าผ่าน เกณฑ์ เกณฑ์ระดับคุณภาพ คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับ ๔ ดีมาก คะแนน ๗ - ๘ ระดบั ๓ ดี คะแนน ๕ - ๖ ระดับ ๒ พอใช้ คะแนน ๐ - ๔ ระดบั ๑ ควรปรบั ปรงุ ๘. การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์ วธิ ีการวัด เครอื่ งมือวดั ผล เกณฑ์การประเมิน ด้านความรู้ความเข้าใจ (K) สงั เกตการอธิบายความรู้ แบบสงั เกตการอธบิ าย นักเรยี นมคี วามรู้ และ นักเรียนอธิบายหลักการเขียนย่อ เกย่ี วกับหลักการและ ความได้ รปู แบบของการเขียนยอ่ ความรู้เกยี่ วกบั หลกั การและ สามารถอธบิ ายความรู้ ความ รูปแบบของการเขียนย่อ เกย่ี วกบั หลักการและ ความ รปู แบบของการเขยี นย่อ ความ อยู่ในระดบั คณุ ภาพ ๒ ข้นึ ไป (พอใช้) ถือว่าผ่าน เกณฑ์ ด้านทักษะกระบวนการ (P) ตรวจประเมนิ ผลการเขยี น แบบประเมินผลการเขียน นกั เรียนมีทักษะ นกั เรียนสามารถเขยี นยอ่ ความได้ ย่อความ ย่อความ กระบวนการในการเขยี นย่อ ความ อยใู่ นระดับคุณภาพ ๒ ขึน้ ไป (พอใช)้ ถอื วา่ ผา่ น เกณฑ์ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ประเมนิ การสังเกต แบบประเมนิ การสังเกต นักเรียนมีพฤติกรรมมุ่งมน่ั (A) พฤตกิ รรมมุง่ มั่นในการ มมี ารยาทในการเขียน ทางาน พฤตกิ รรมมงุ่ มน่ั ในการ ในการทางาน อย่ใู นระดบั ทางาน คุณภาพ ๒ ขนึ้ ไป (พอใช้) ถือวา่ ผ่านเกณฑ์
การประเมินผลตามสภาพจริง ด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Rubrics) ๑. แบบสังเกตการอธิบายความรู้เก่ยี วกับหลกั การและรูปแบบของการเขียนย่อความ (K) รายการ ระดับคณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๔๓๒๑ อธบิ ายความรู้ อธบิ ายความรู้ อธิบายความรู้ อธิบายความรู้ อธบิ ายความรู้ เกีย่ วกับหลกั การและ เก่ียวกับหลักการและ เกย่ี วกับหลกั การและ เกี่ยวกับหลกั การและ เกี่ยวกับหลักการและ รปู แบบของการเขียน รูปแบบของการเขยี น รูปแบบของการเขยี น รูปแบบของการเขยี น รูปแบบของการเขียน ยอ่ ความ ไดถ้ ูกต้อง ย่อความ ไดค้ อ่ นข้าง ย่อความ ไดถ้ กู ต้อง ย่อความ ไดเ้ พียง ย่อความ (K) ละเอียดชดั เจนดมี าก ถกู ต้องดี บ้างบางส่วน คร่าวๆ ถกู ต้องเพยี ง เลก็ น้อยเทา่ นั้น ๒. แบบประเมินผลการเขียนย่อความ (P) รายการ ระดบั คุณภาพ ประเมนิ ดมี าก ดี พอใช้ ควรปรบั ปรุง ๑ ๔๓๒ เขียนรปู แบบของ การเขยี นยอ่ ความ (P) เขียนรปู แบบของ เขียนรปู แบบของ เขยี นรูปแบบของ ย่อความได้ถกู ตอ้ ง แต่ยังสรปุ ยอ่ ความไดถ้ กู ต้อง ย่อความไดถ้ กู ต้อง ย่อความได้ถูกตอ้ ง ใจความสาคญั ได้ ไม่ครบถ้วน และ สรปุ ใจความสาคญั สรุปใจความสาคญั สรปุ ใจความสาคญั คัดลอกข้อความ จากเน้ือเรื่อง ได้ครบถ้วน ได้ครบถว้ น ได้แตเ่ ป็นการนา มาเรยี งต่อกนั ชัดเจน และใช้ภาษา ขอ้ ความในเรือ่ ง โดยใชภ้ าษา ของตนเอง มาตัดตอ่ กัน ของตนเอง เป็นส่วนใหญ่ โดยใช้คาเชอ่ื ม หรือข้อความ บางตอน ของตนเอง ๓. แบบประเมินการมมี ารยาทในการเขียน (A) รายการ ระดบั คณุ ภาพ ประเมนิ ดีมาก ดี พอใช้ ควรปรับปรุง ๑ ๔๓๒ มีมารยาทในการเขียน เขยี นด้วยลายมือ เขียนด้วยลายมือพอ เขยี นด้วยลายมือ เขียนบันทกึ ประจาวัน (A) สวยงามเปน็ ระเบยี บ งามตา สะอาด มีการ พอใช้ มีการแบ่งวรรค อยา่ งไม่มีมารยาท ตามหลักมารยาทใน เรียบร้อย สะอาด มี แบง่ วรรคตอน ใช้ ตอนบา้ ง ใช้ การเขียนบันทกึ การแบง่ วรรคตอน เคร่อื งหมายวรรค เคร่ืองหมายวรรค ถูกต้องเหมาะสม ไม่ ตอนไดเ้ หมาะสม ตอนได้บ้าง ไมค่ อ่ ย เขยี นทีเ่ ป็นการใหร้ ้าย อ้างองิ ข้อมลู ได้ สะอาด เขยี นพาดพงิ ผ้อู น่ื หรอื เขยี นความ ถึงผอู้ น่ื มากเกินไป ใส่ คดิ เห็นสว่ นตัว ใช้ ความคิดเหน็ ส่วนตวั เครือ่ งหมายวรรค มากเกนิ ไป มีอา้ งอิง ตอนถกู ตอ้ ง อา้ งองิ ขอ้ มลู บ้าง ขอ้ มูลได้ถูกต้อง
แบบฝกึ หัด เร่อื ง การเขียนยอ่ ความ ชื่อ – สกลุ ……………………………………………เลขท…่ี ….ช้ัน………. ให้นักเรยี นเขียนย่อความบทละครเร่ือง รามเกียรติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………….………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………….…………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………….
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๔๕ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรยี นที่ ๑ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี ๕ รืน่ รสวรรณคดี (รามเกียรต์ ตอน นารายณป์ ราบนนทก) เรื่อง ตัวละครสอนใจ จานวน ๑ ช่ัวโมง ชอ่ื ครผู ู้สอน นางสาวจริ าพร กุลให้ สอนวันท.่ี .................................................... ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขยี นเขยี นสื่อสาร เขยี นเรียงความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวใน รปู แบบต่าง ๆ เขยี นรายงานข้อมลู สารสนเทศและรายงานการศกึ ษาค้นควา้ อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. สาระสาคัญ ตวั ละครในวรรณคดสี ามารถสะท้อนพฤติกรรม ความคิด และลกั ษณะนสิ ยั ของมนษุ ย์ การวเิ คราะห์ ลกั ษณะนิสัยของตวั ละครจึงเปน็ การเรียนร้ธู รรมชาติของมนุษย์อีกทางหน่ึง ทาให้เขา้ ใจตนเองและคนรอบขา้ ง มากย่งิ ขึ้นและหากนาสงิ่ เหล่าน้นั มาพัฒนาตนก็จะเกิดประโยชนส์ ูงสุด ๓. ตัวชีว้ ดั / ผลการเรียนรู้ ท ๕.๑ ม. ๒/๒ วิเคราะห์และวิจารณ์วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท้องถิ่นที่อ่านพร้อมยก เหตผุ ลประกอบ ๔. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. นกั เรียนอธบิ ายลกั ษณะของตัวละครในเรอื่ งรามเกียรต์ิ ตอนนารายณ์ปราบนนทกได้ ๒. นกั เรียนวิเคราะห์นิสัยตวั ละครจากพฤติกรรมต่างๆได้ ๓. ซ่อื สัตย์สจุ ริต ๕. สาระการเรยี นรู้ ตวั ละครในเรื่อง รามเกยี รติ์ ตอน นารายณ์ปราบนนทก ๖. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขนั้ นาเขา้ สบู่ ทเรยี น ๑. ให้นกั เรยี นแบง่ กลุ่ม (กลุ่ม ๔ คน) ทากจิ กรรม “ กระจกสะท้อนนิสยั ” ซ่งึ มวี ิธกี ารดังนี้ - ให้นักเรียนหญิงวิเคราะห์ข้อดี และข้อเสียของนักเรียนชาย จากน้ันสลับให้นักเรียนชาย วเิ คราะห์ข้อดี ขอ้ เสยี ของนักเรียนหญงิ - ครตู อ้ งทาความเข้าใจกับนักเรยี นวา่ กิจกรรมนเ้ี ปน็ กิจกรรมเชิงสร้างสรรค์ นักเรยี นควรเปิด ใจยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อ่ืนเพ่ือจะได้นามาปรับปรงุ ตนเองให้ดีขึ้น นักเรียนทุกคนต้องชื่อสัตย์และจริงใจตอ่ กัน
Search