Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบปฏิบัติการ

ระบบปฏิบัติการ

Published by akslizm, 2019-01-30 23:35:28

Description: ระบบปฏิบัติการ

Search

Read the Text Version

47 บทท่ี 3 ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ (Network Operating System) Susaunradsiutsitsongmaคอมพิวเตอร์ประกอบไปด้วย 2 สว่ นหลกั ๆ คือสว่ นที่เป็ นฮาร์ดแวร์ (Hardware) และ สว่ นท่ีเป็ นซอฟต์แวร์ (Software) หรือโปรแกรม ซง่ึ จะขาดสว่ นหนงึ่ สว่ นใดไปไมไ่ ด้ โดยเฉพาะอยา่ ง ยิ่งในส่วนของโปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ โดยจะมีหน้าที่ช่วยในการติดต่อประสานการทํางาน ระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์ในการใช้งานเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โดยตวั ระบบปฏิบตั ิการ (Operating System: OS) มี 2 ประเภท ระบบปฏิบตั กิ ารของเคร่ืองคอมพิวเตอร์สว่ นบคุ คล และระบบปฏิบตั ิ เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ โดยในบทนีจ้ ะกลา่ วถงึ ตวั ระบบปฏบิ ตั เิ ครือขา่ ยเป็ นหลกั ภาพท่ี 3.1 ระบบปฏิบตั กิ ารคอมพวิ เตอร์ (Operating System) จตุชัย แพงจันทร์และอนุโชต วุฒิพรพงษ์ (2551:หน้ า 390) ได้กล่าวถึง ระบบปฏบิ ตั กิ ารหรือ OS (Operating System) ทําหน้าท่ีจดั การเก่ียวกบั การเข้าใช้ทรัพยากรตา่ งๆ ของโปรแกรมท่ีรนบนคอมพิวเตอร์เครื่องนัน้ ทรัพยากรของคอมพิวเตอร์มีหลายชนิด เช่น หน่วยความจํา ฮาร์ดดสิ ก์ จอภาพ คีย์บอร์ด เมาส์ เป็ นต้น ถ้าไมม่ ีระบบปฏบิ ตั กิ าร คอมพิวเตอร์จะ รันโปรแกรมมากกวา่ หนง่ึ โปรแกรมไมไ่ ด้ เพราะแตล่ ะโปรแกรมอาจจะแย่งใช้ทรัพยากรดงั กลา่ วจน ทําให้ระบบล่มได้ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ก็เหมือนกับระบบคอมพิวเตอร์ท่ีจําเป็ นต้องมี ระบบปฏิบตั กิ ารเครือขา่ ย หรือ NOS (Network Operating System) เพื่อทําหน้าท่ีจดั การเก่ียวกบั การส่ือสารข้อมูลผ่านเครือข่าย และการเข้าใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในเครือข่าย เช่น เครื่องพิมพ์ ฮาร์ดดิสก์ เป็ นต้น คอมพิวเตอร์ท่ีเชื่อมต่อเข้ากบั เครือข่าย จําเป็ นต้องมีระบบปฏิบตั ิการทงั้ สอง

Susaunradsiutsitsongma 48 ประเภท เพ่ือทําหน้าที่ทงั้ จดั การทรัพยากรภายในคอมพิวเตอร์และในระบบเครือข่าย แต่โดยส่วน ใหญ่ระบบปฏิบตั ิการทงั้ สองประเภทจะอย่ภู ายในตวั เดียวกนั เมื่อติดตงั้ ระบบปฏิบตั ิการเสร็จแล้ว ก็เพียงตดิ ตงั้ สว่ นที่เป็ นเครือขา่ ยเท่านนั้ ระบบปฏิบตั ิการเครือข่ายอาจเป็ นชุดซอฟต์แวร์ที่ต้องติดตงั้ เพ่ิมเติม หรืออาจจะเป็ น สว่ นหนึ่งของระบบปฏิบตั ิการทว่ั ๆไป ขนึ ้ อย่กู บั บริษัทท่ีผลิต ตวั อย่างเช่น เน็ตแวร์ (NetWare) ซงึ่ เป็ นซอฟต์ของบริษัท โนเวลล์ เป็ นระบบปฏิบัติการท่ีต้ องติดตัง้ เพิ่มเติมบนเคร่ื องท่ีมี ระบบปฏิบตั ิการอย่แู ล้ว ส่วนระบบปฏิบตั ิการวินโดวส์ NT/2000/2003/2008,วินโดวส์ 95/98/Me และยนู ิกซ์ ซงึ่ เป็ นระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือขา่ ยอยใู่ นตวั โดยไมต่ ้องตดิ ตงั้ เพม่ิ เตมิ ระบบปฏิบตั ิเครือขา่ ยในปัจจบุ นั มีให้เลือกใช้หลายตวั เช่น Windows server, Unix, Linux เป็ นต้น โดยขอนําเสนอตามลาํ ดบั ดงั นี ้ 3.1 ระบบปฏบิ ตั กิ าร Windows Server 2003 Windows Server 2003 เป็ นระบบปฏิบตั ิการสําหรับเครือขา่ ย (NOS) ท่ีพฒั นาโดย บริษัทไมโครซอฟท์ (Microsoft) โดยออกแบบและพัฒนาความสามารถต่าง ๆ มาจาก ระบบปฏิบตั กิ าร Windows 2000 Server และยงั เพ่ิมความสามารถใหม่ ๆ เข้าไปอีกหลายอยา่ ง ด้วยกนั วนิ โดวส์เซริ ์ฟเวอร์ 2003(ม.ป.ป.) อธิบายวา่ โดยวินโดวส์เซริ ์ฟเวอร์ 2003 ได้ออกวนั ที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2547 ซง่ึ นบั เป็ นหนึ่งผลิตภณั ฑ์ของ Windows Server System วินโดวส์เซริ ์ฟเวอร์ เป็ นระบบปฏิบัติการแรกที่ออกมาหลังจากไมโครซอฟท์ประกาศแนวทาง Trustworthy Computing จึงเป็ นผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงเรื่องความปลอดภยั โดยเน้นความปลอดภยั เป็ น หลกั เช่นหลงั จากการติดตงั้ เสร็จนนั้ ไม่มีส่วนประกอบเซิร์ฟเวอร์ที่เปิ ดการใช้งานเพื่อลดช่องทาง โจมตีตงั้ แตแ่ รกเร่ิม และได้มีการเปล่ียนแปลงอยา่ งมากใน IIS 6.0 โดยเกือบเขียนขนึ ้ มาใหมห่ มด เพื่อเพิ่มความปลอดภยั ประสทิ ธิภาพการทํางาน เซริ ์ฟเวอร์ (server) หรือ เครื่องแมข่ า่ ย คือ เคร่ืองหรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซงึ่ ทํางาน ให้บริการ ในระบบเครือข่ายแก่ลกู ข่าย(ซงึ่ ให้บริการผ้ใู ช้อีกทีหนึ่ง) เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่ทําหน้าที่ เป็ นเซิร์ฟเวอร์นีค้ วรจะมีประสิทธิภาพสงู มีความเสถียร สามารถให้บริการแก่ผ้ใู ช้ได้เป็ นจํานวน มาก ภายในเซิร์ฟเวอร์ให้บริการได้ด้วยโปรแกรมบริการ ซ่ึงทํางานอยู่บนระบบปฏิบัติการอีก ชนั้ หนง่ึ ตวั อยา่ งเซริ ์ฟเวอร์ได้แก่

Susaunradsiutsitsongma 49 o เวบ็ เซริ ์ฟเวอร์ o เมลเซริ ์ฟเวอร์ o เนมเซริ ์ฟเวอร์ o นิวส์เซริ ์ฟเวอร์ o วิดีโอสตรีมมง่ิ เซริ ์ฟเวอร์ o ไฟล์เซริ ์ฟเวอร์ Windows Server 2003 คือแพล็ตฟอร์มที่ช่วยเพ่ิมประสทิ ธิผลให้กบั ผ้ใู ช้ให้มมุ มอง ใหม่ของข่าวสารทางธุรกิจที่สําคญั ต่อผ้ใู ช้ เพ่ือจะสามารถทํางานร่วมกนั จดั การ และตอบสนอง ความเปลี่ยนแปลงในโลกแห่งการแขง่ ขนั ได้ดีขนึ ้ ระบบปฏิบตั ิการตระกลู Windows Server 2003 ทําให้งานด้าน IT มีประสิทธิภาพสงู ขึน้ พร้อมกับช่วยลดค่าใช้จ่าย สําหรับเครือข่ายขนาดเล็ก จนถึงศนู ย์ข้อมลู ขนาดใหญ่ โดยระบบปฏิบตั ิการตระกลู Windows Server 2003 สามารถช่วย ทํางานได้อย่างมีประสทิ ธิภาพ แอพพลิเคชน่ั ได้รับการพฒั นานําไปใช้ และทํางานได้ ดีขนึ ้ รวดเร็ว ขึน้ เพ่ิมผลการทํางานให้กับทุกส่วนขององค์กร การให้บริการอย่างต่อเน่ือง สามารถทํางานได้ ตลอดเวลา ด้วยการปรับปรุงด้านการทําคลสั เตอร์ ซง่ึ รองรับการมีเซริ ์ฟเวอร์ถงึ 8 เคร่ือง ความสามารถของระบบปฏิบตั ิการ Windows server 2003 ในการขยายระบบ สนบั สนนุ ทงั้ การเพ่ิมประสทิ ธิภาพให้เซริ ์ฟเวอร์ โดยรองรับการเพ่ิมโปรเซสเซอร์แบบ 64-บิต สงู สดุ ถึง 64 ตวั (SMP) และการเพ่ิมจํานวนเซิร์ฟเวอร์ให้กบั ระบบงาน ด้วยการทําคลสั เตอร์ รวมไปถึง การสนบั สนุนโปรเซสเซอร์ทงั้ แบบ 32 บิต และ 64 บิตด้วยความสามารถด้านการจดั การ ช่วยลด คา่ ใช้จ่ายด้านการดแู ลรักษาลง ด้วยการทํางานให้โดยอตั โนมตั ิ โดย Windows Server 2003 มี เครื่องมือช่วยในด้านการจดั การเช่น Active Directory? และ Group Policy, การใช้สคริปต์ และ wizard สําหรับปรับการทํางานของเซิร์ฟเวอร์ ความปลอดภยั โครงสร้างพืน้ ฐานท่ีปลอดภยั คือ ปั จจัยสําคัญที่มีผลต่อกลยุทธ์ทางธุรกิจ ในฐานะของผู้นําในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ไมโครซอฟท์มุ่งม่ันท่ีจะพัฒนาผลิตภัณฑ์ท่ีมีความปลอดภัย เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับระบบที่มีความ ปลอดภยั สงู ขนึ ้ กวา่ เดิม ดงั จะเห็นได้วา่ Windows Server 2003 ให้ความปลอดภยั สงู ขนึ ้ ไม่ว่าจะ เชื่อมต่อเข้าส่รู ะบบจากท่ีใด ด้วยอปุ กรณ์ใดๆ ก็ตาม ข้อมลู ท่ีสําคญั ของคณุ จะได้รับการปกป้ อง ตลอดเวลา Windows Server 2003 มีเว็บเซิร์ฟเวอร์ Internet Information Services (IIS) ที่ได้รับ การออกแบบใหม่ พร้อมรองรับโปรโตคอลท่ีมีความปลอดภยั สงู อย่างเช่น 802.1x และPEAP รวมถึงมี common language runtime ท่ีมีสว่ นทําให้สภาพแวดล้อมการทํางานปลอดภยั มากขนึ ้ การมีรากฐานท่ีแข็งแกร่ง ทําให้องค์กรธุรกิจสามารถเสนอบริการท่ีมีค่าใช้จ่ายน้อยลง แต่ให้

Susaunradsiutsitsongma 50 ประสิทธิภาพสงู ขึน้ และช่วยเพ่ิมความปลอดภยั ให้กบั สภาพแวดล้อมที่แตกต่างกนั ของลกู ค้าแต่ ละราย แอพพลเิ คชน่ั ที่ดขี นึ ้ และทํางานเร็วขนึ ้ กวา่ เดมิ Windows Server 2003 ใช้สถาปัตยกรรมที่มีเสถียรภาพ และสามารถขยายระบบได้ จึงเป็ นแพล็ตฟอร์มท่ีทรงพลงั สําหรับแอพพลิเคชนั่ โดยวางรากฐานท่ีแข็งแกร่งเพ่ือให้การพฒั นา และจัดการกับแอพพลิเคชน่ั ทําได้ง่าย อีกทงั้ ความสามารถในการขยายระบบและการปรับปรุง ประสทิ ธิภาพยงั ทําให้รันแอพพลเิ คชน่ั ท่ีมีอยไู่ ด้รวดเร็วขนึ ้ นอกจากนนั้ บริการสําหรับแอพพลิเคชน่ั เชน่ Microsoft .NET Framework, Message Queuing, COM+ และอ่ืนๆ จะรวมกนั เป็ นเคร่ืองมือ ท่ีนกั พฒั นาและผ้ดู แู ลระบบสามารถสร้างโซลชู นั่ ที่มีการเชื่อมตอ่ กนั ได้อยา่ งรวดเร็ว เพชรศรายธุ วชั ราวธุ พฒั นา (2551) Windows Server 2003 นนั้ มีเอดชิ นั หลกั ๆ จํานวน 5 เอดชิ นั โดยแตล่ ะเอดิชนั ยงั แยกออกตามสถาปัตยกรรมของการประมวลผลท่ีรองรับได้ ซง่ึ มี 3 แบบ คือ เอดชิ นั สําหรับใช้ในระบบสถาปัตยกรรมการประมวลผลแบบ 32 บติ (x86) เอดชิ นั สําหรับใช้ในระบบสถาปัตยกรรมการประมวลผลแบบ 64 บติ (x64) และเอดชิ นั สําหรับใช้ในระบบ สถาปัตยกรรมการประมวลผลแบบ Intel Itanium (IA64) โดยเป็ นระบบปฏิบตั กิ ารท่ีได้รับความ นิยมในด้านบริการหลังการขาย หากมีปัญหาสามารถโทรศัพท์ปรึกษาทางเทคนิคจากฝ่ าย Support ได้ทนั ที สาํ หรับ Windows Server 2003 มีให้เลือกใช้งานอยู่ 4 เวอร์ชนั คอื 1. Windows Server 2003 Web Edition เป็ นเอดชิ นั เหมาะสําหรับงานให้บริการ ทางด้านเว็บ (Web service) โดยออกแบบมาเพ่ือให้เหมาะกบั การรัน Internet Information Service 6.0 และสามารรองรับกบั เทคโนโลยี XML, ASP.NET และ .NET Framework ซงึ่ Web Edition นนั้ สามารถรองรับหนว่ ยความจําได้สงู สดุ 2 GB และโปรเซสเซอร์ 2 ตวั 2. Windows Server 2003 Standard Edition เป็ นเอดิชนั มาตรฐานสําหรับการใช้ งานทวั่ ไป เหมาะกบั องค์กรธุรกิจทกุ ขนาดและมีทงั้ เอดชิ นั สําหรับระบบสถาปัตยกรรมแบบ 32 บิต (x86) และระบบสถาปัตยกรรมแบบ 64 บติ (x64) โดยรองรับหน่วยความจําได้สงู สดุ 4 GB และ โปรเซสเซอร์ได้สูงสุด 4 ตวั สามารถนําไปประยุกต์ใช้งานต่างๆ ได้หลายอย่าง เช่น Active Directory, VPN/Remote Access Server และเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Internet Information Services 6.0) 3. Windows Server 2003 Enterprise Edition เหมะสําหรับองค์กรขนาดกลาง มี ความสามารถ (Feature) ตา่ งๆ ครอบคลมุ Standard Edition และมีความสามารถตา่ งๆ เพ่ิมขนึ ้ คือสามารถรองรับหน่วยความจําได้สงู สดุ 32 GB, โปรเซสเซอร์ได้สงู สดุ 8 ตวั , และรองรับการ ทําคลสั เตอร์ได้ 8 โหนด (Node) Enterprise Edition นนั้ เหมาะสําหรับงานที่ต้องการความ

51 น่าเชื่อถือและประสิทธิภาพสงู และมีทงั้ เอดิชนั สําหรับระบบสถาปัตยกรรมแบบ 32 บติ และระบบ สถาปัตยกรรมแบบ 64 บติ 4. Windows Server 2003 Data Center มีความสามารถ (Feature) ตา่ งๆ ครอบคลมุ Enterprise Edition แตจ่ ะตดั ความสามารถในการทํา Internet Connection Firewall (ICF) และ Internet Connection Sharing ออกไป สําหรับความสามารถต่างๆ เพ่ิมขนึ ้ คือ ใน เอดิชนั 32 บิต สามารถรองรับหน่วยความจําได้สงู สดุ 64 GB และ โปรเซสเซอร์ได้สงู สดุ 32 ตวั และในเอดชิ นั 64 บติ สามารถรองรับหน่วยความจําได้สงู สดุ 512 GB และโปรเซสเซอร์ได้สงู สดุ 64 ตวั Datacenter Edition นนั้ เหมาะสําหรับใช้งานเป็ นศนู ย์ข้อมลู (Data center) ท่ีต้องการ กําลงั ในการประมวลผลสงู ๆ หรืองานที่มีความสําคญั มากๆ หรือระบบท่ีต้องทํางานได้ตลอดเวลา (24x7) เป็ นต้น Susaunradsiutsitsongma ตารางท่ี 3.1 เปรียบเทียบคณุ สมบตั ขิ อง Windows 2003 server แตล่ ะ Edition คณุ สมบตั ิ Datacenter Enterprise Standard Web Edition Edition Edition Edition จํานวนโปรเซสเซอร์สงู สดุ 32 8 4 2 สาํ หรับเวอร์ชน่ั 32-บติ จํานวนโปรเซสเซอร์สงู สดุ 32 8 4 2 สําหรับเวอร์ชน่ั 32-บิต จํานวนหน่วยความจําสงู สดุ 64GB 32GB 4GB 2GB สําหรับเวอร์ชน่ั 32-บิต จํานวนโปรเซสเซอร์สงู สดุ 64 8 ไมส่ นบั สนนุ ไมส่ นบั สนนุ สําหรับเวอร์ชน่ั 64-บิต จํานวนหน่วยความจําสงู สดุ 512GB 64GB ไมส่ นบั สนนุ ไมส่ นบั สนนุ สาํ หรับเวอร์ชน่ั 64-บติ เช่ือมตอ่ เพื่อใช้ไฟล์ร่วมกนั ไมจ่ ํากดั ไมจ่ ํากดั ไมจ่ ํากดั ไมเ่ กิน 10CAL Print Server มี มี มี ไมม่ ี Active Directory Domain Domain Domain เซริ ์ฟเวอร์ใน Controller หรือ Controller หรือ Controller กลมุ่ เดียวกนั เซริ ์ฟเวอร์ใน เซริ ์ฟเวอร์ใน หรือเซริ ์ฟเวอร์ กลมุ่ เดียวกนั กลมุ่ เดียวกนั ในกลมุ่ เดียวกนั

52 ตารางท่ี 3.1 (ต่อ) คณุ สมบตั ิ Datacenter Enterprise Standard Web Edition Edition Edition Edition Terminal Services โหมดผ้ดู แู ล โหมดผ้ดู แู ล โหมดผ้ดู แู ล โหมดผ้ดู แู ล ระบบ และ ระบบ และ ระบบ และ ระบบเทา่ นนั้ Susaunradsiutsitsongma แอพพลเิ คชนั่ แอพพลเิ คชน่ั แอพพลเิ คชนั่ Terminal Services Session Directory มี มี ไมม่ ี มี UDDI มี มี เฉพาะ ไมม่ ี ฐานข้อมลู ท่ีตวั เซริ ์ฟเวอร์เอง เทา่ นนั้ Fail-over Clustering 8-Node 8-Node ไมม่ ี ไมม่ ี Windows Media Server ระดบั สงู ระดบั สงู การทํางาน ไมม่ ี พืน้ ฐาน เชื่อมตอ่ VPN ไมจ่ ํากดั ไมจ่ ํากดั สงู สดุ ถงึ 1000 1 เชื่อมตอ่ ตอ่ เชื่อมตอ่ 1 ชนิดของสือ่ Internet Authentication Service (IAS) มี มี จํากดั ท่ี 50 ไมม่ ี อปุ กรณ์ Certificate Server มี มี ในระดบั ของ ไมม่ ี Windows 2000 WSRM มี มี ไมม่ ี ไมม่ ี ท่มี า : http://www.microsoft.com/thailand/windowsserver2003/prodinfo/editions.aspx จดุ เดน่ ของวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 คือ ความได้เปรียบทางด้านตลาด เนื่องจากคน สว่ นใหญ่จะนิยมใช้ซอฟแวร์ของไมโครซอฟต์ ถึงแม้ประสิทธิภาพอาจไม่ดีเท่าบริษัทอื่นก็ตามแต่ ไมโครซอฟต์ จะเน้นท่ีการใช้งานง่ายทําให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่นิยมนอกจากนีจ้ ุดเด่นของวินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ 2003 เหนือเน็ตแวร์ก็คือ แอพพลิเคชนั่ ที่รองรับกล่าวคือ เนื่องจากวินโดวส์เป็ น ระบบปฏิบตั ิการท่ีนิยมมากท่ีสดุ ทําให้แอพพลิเคชน่ั ท่ีสามารถใช้งานได้กบั วินโดวส์มีมาก หวั ใจ สาํ คญั ของวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 คือ ADS ซง่ึ เป็ นไดเร็คทอร่ีเซอร์วิสท่ีจะทําหน้าท่ีบริหารจดั การ ทรัพยากรตา่ งๆท่ีมีอยใู่ นระบบ พร้อมทงั้ ระบบรักษาความปลอดภยั ท่ีดี

Susaunradsiutsitsongma 53 เหตผุ ลที่คนสว่ นใหญ่เลือกใช้ Windows Server 2003 Enterprise Editionคือ เนื่องจากคนสว่ นใหญ่จะนิยมใช้ซอฟแวร์ของไมโครซอฟต์ ถึงแม้ประสิทธิภาพอาจไม่ดีเท่าบริษัท อ่ืนก็ตามแต่ไมโครซอฟต์ จะเน้นท่ีการใช้งานง่ายทําให้ผู้ใช้ส่วนใหญ่นิยมนอกจากนีจ้ ุดเด่นของ วินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 เหนือเน็ตแวร์ก็คือ แอพพลเิ คชน่ั ที่รองรับกลา่ วคือ เนื่องจากวินโดวส์เป็ น ระบบปฏิบตั ิการที่นิยมมากที่สดุ ทําให้แอพพลิเคชน่ั ท่ีสามารถใช้งานได้กบั วินโดวส์มีมาก หวั ใจ สําคญั ของวนิ โดวส์เซิร์ฟเวอร์ 2003 คือ ADS ซง่ึ เป็ นไดเร็คทอร่ีเซอร์วิสที่จะทําหน้าท่ีบริหารจดั การ ทรัพยากรตา่ งๆที่มีอย่ใู นระบบ พร้อมทงั้ ระบบรักษาความปลอดภยั ท่ีดี มีความสามารถ (Feature) ต่างๆ ครอบคลมุ Standard Edition และมีความสามารถต่างๆ เพิ่มขึน้ คือสามารถรองรับ หน่วยความจําได้สงู สดุ 32 GB, โปรเซสเซอร์ได้สงู สดุ 8 ตวั , และรองรับการทําคลสั เตอร์ได้ 8 โหนด (Node) Enterprise Edition นนั้ เหมาะสําหรับงานท่ีต้องการความน่าเชื่อถือและ ประสทิ ธิภาพสงู และมีทงั้ เอดชิ นั สาํ หรับระบบสถาปัตยกรรมแบบ 32 บติ และระบบสถาปัตยกรรม แบบ 64 บติ 3.2 ระบบปฏบิ ตั กิ าร Windows NT เป็ นระบบปฏิบตั กิ ารเครือขา่ ยที่ได้รับความนิยมในอดีต โดยพิเชษฐ์ (2552) ได้อธิบาย ไว้วา่ แตเ่ ดมิ หลงั จากระบบปฏบิ ตั กิ าร Windows 3.1ออกสทู่ ้องตลาดและเป็ นท่ีสนใจอย่างมากของ ผ้ใู ช้งานคอมพิวเตอร์ทว่ั ไป บริษัทไมโครซอร์ฟได้พยายามขยายฐานลกู ค้าออกไป แต่เน่ืองจาก ระบบพืน้ ฐานท่ีออกแบบมานนั้ ผกู ติดกบั ระบบขนาดเล็กในระบบ PC และซีพียขู อง Intel มาก เกินไป ทําให้ไมส่ ามารถพฒั นาได้ตอ่ เนื่องได้มากนกั ดงั นนั้ ไมโครซอร์ฟจึงได้สร้างระบบปฏิบตั กิ าร ตวั ใหม่ ภายใต้ชื่อ Windows NT ซง่ึ ความหมายของ NT คือ New Technology แตถ่ ึงอย่างไรไม โครซอร์ฟก็ยงั คงพฒั นาระบบปฏิบตั ิการเดิมด้วยเพ่ือรักษาฐานลกู ค้าเดิม โดยมีเวอร์ชน่ั ท่ีออก ตามมา คือ Windows 95, 98 และ Windows ME โดย Windows NT แบง่ ออกได้เป็ น 2 แบบ ได้ ดงั นี ้ o Windows NT Workstation o Windows NT Server นอกจากนีย้ งั มีรุ่นพิเศษทําหรับองค์กรขนาดใหญ่คือ Windows NT Server รุ่น คือ Enterprise Edition และ Windows NT เป็ นระบบปฏิบตั ิการท่ีเน้นการทํางานในระบบเครือข่าย โดยเฉพาะ (Network)

Susaunradsiutsitsongma 54 Service Pack คืออะไร หลาย ๆ คนคงเคยได้ยินรุ่นของ Windows 95 ว่ามีรุ่น Windows 95 OSR2 สว่ น Windows 98 ก็จะมีรุ่น Windows 98 SE (Second Edition) รุ่นพิเศษ เหลา่ นีก้ ็มีความหมายเช่นเดียวกนั กบั Service Pack ของ NT นน่ั คือรุ่นที่แก้ไขข้อบกพร่องของ เวอร์ชน่ั เดิมนนั่ เอง ปัจจบุ นั มี Service Pack ของ NT ตงั้ แตร่ ุ่น Service Pack 1, 2, 3, 4 และคาด วา่ จะมีตามออกมาเร่ือยๆดงั นนั้ การเลอื กใช้งานก็ควรเลือกรุ่นที่ใช้ Service Pack ใหมล่ า่ สดุ ถึงจะดี แต่ในปัจจุบนั ระบบปฏิบตั ิการดงั กล่าวได้รับความนิยมลดน้อยลงและถูกแทนท่ีด้วย Windows Server แล้ว แตใ่ นเร่ืองของ Service Pack ก็ยงั มีการนํามาใช้งานอยู่ คณุ สมบตั เิ ดน่ ๆของ Windows NT ทํางานได้บนเคร่ืองที่ใช้ซีพียตู า่ งกนั รองรับซีพียู ได้หลายประเภท เชน่ Intel, RISC,DEC Alphe และ Power PC ทํางานในระบบ Muli-Tasking คือ ทํางานได้หลายโปรแกรมพร้อมกนั (ปัจจบุ นั Windows 95,98 ก็ทําได้เหมือนกนั ) มีระบบ Security ท่ีดี (Windows 95,98 ยงั ไม่มี) สนบั สนนุ การทํางานในระบบเครือขา่ ย รวมทงั้ ระบบ Web server รองรับหน่วยความจําที่ใหญ่และฮาร์ดดสิ ก์ที่ใหญ่มาก ๆ รองรับระบบไฟล์ FAT, NTFS (NT File System), CDFS (CD File System) รองรับการตงั้ ช่ือไฟล์ยาว ๆเชน่ เดียวกบั Windows 95,98 สําหรับความแตกตา่ งของ Windows NT workstation ถกู ออกแบบมาให้ใช้งานได้ เช่นเดียวกบั Windows 95, 98 (บางซอร์ฟแวร์ออกไม่ support คือใช้งานไม่ได้) แตย่ งั สามารถ ทํางานเป็ น Server ได้ด้วย (Limit ผ้ใู ช้ไมเ่ กิน 10 คน) สว่ น Windows NT Server เหมาะสําหรับ การทําเป็ น Network OS ซง่ึ สามารถรองรับการทํางานของผ้ใู ช้งานพร้อมกนั ได้ไม่จํากดั จํานวน แล้วแตจ่ ํานวน License... ระบบไฟล์ของ Windows NT เป็ น NTFS (NT File System) เป็ นระบบ เฉพาะสําหรับ Windows NT โดยเฉพาะ ระบบนีไ้ ม่มีใน Windows 95,98 (ไม่สามารถสร้าง harddisk เป็ นระบบ NTFS ได้) NTFS ถกู ออกแบบมาเพ่ือใช้สําหรับการประมวลผลข้อมลู ที่มี ขนาดใหญ่ สนบั สนุนการ Compression (ทําให้ประหยดั เนือ้ ท่ีได้ถึง 40%-50%) และระบบ Cluster (ตรวจสอบและแก้ไข Bad Sector ให้อตั โนมตั ิ) สว่ นจดุ เดน่ ที่สําคญั ท่ีสดุ ของ NTFS คือ เรื่อง Security ซงึ่ มีมากกวา่ ระบบ FAT ทว่ั ๆ ไป กลา่ วคือเราสามารถกําหนดระบบการใช้งานของ ผ้ใู ช้แตล่ ะคนว่า สามารถดไู ฟล์ โฟลเดอร์ ไหน ๆ ได้บ้าง ไฟล์ไหนดไู ด้อย่างเดียว ห้ามแก้ไข หรือ ห้ามลบทิง้ เป็ นต้น

Susaunradsiutsitsongma 55 3.3 ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือข่าย UNIX เป็ นระบบปฏิบตั ิการสําหรับใช้ระบบหรือองค์กรขนาดใหญ่เป็ นหลกั แต่อย่างไรก็ดี ปัจจุบนั มีการนํามาใช้งานกันในองค์กรขนาดกลางและขนาดเล็กกันมากขึน้ เน่ืองจากมีความ เที่ยงตรงสูง ทํางานบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่มีประสิทธิภาพสูง เช่น มินิคอมพิวเตอร์ เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ และซูเปอร์คอมพิวเตอร์ เป็ นต้น ตวั อยา่ งระบบ UNIX ที่ได้รับความนิยมกนั ในปัจจบุ นั เชน่ Solaris, AIX, HP ระบบปฏิบตั ิการ UNIX (2550)อธิบายถึงประวตั ิความเป็ นมาของระบบปฏิบตั ิการ ยนู ิกซ์ (UNIX) ว่ามีต้นกําเนิดจากห้องปฏิบตั ิการวิจยั Bell ประเทศสหรัฐอเมริกา โดย Ken Thompson และ Dennis Ritchie ปี พ.ศ. 2512 ที่สถาบนั MIT (Massascusetts Institute of Technology) ในห้องปฏิบตั ิการวิจยั AT&T Bell Labs และบริษัท GE (General Electric) ร่วมกนั พฒั นาโครงการ Multics ในปี 1960 เพื่อพฒั นาระบบปฏิบตั ิการสําหรับ Mainframe Computer รุ่น GE 635 โดยให้ระบบปฏิบตั กิ ารนีม้ ีความสามารถทํางานแบบโต้ตอบ (Interactive) มีระบบ อํานวยความสะดวกต่อการใช้แฟ้ มและข้อมลู ร่วมกนั ได้ แตเ่ กิดปัญหาหลายประการ จนกระทง่ั Bell Labs ได้ลาออกจากโครงการ แต่โครงการก็ยงั ดําเนินการตอ่ โดย Ken Thompson และ Dennis Ritchie ซง่ึ ทํางานกบั Bell Labs พร้อมๆ กนั ไปด้วย ตอ่ มา Ken & Dennis ได้ร่วมกนั พฒั นาระบบปฏิบตั ิการใหม่ เพ่ือทํางานบนเคร่ือง PDP-7 และใช้ชื่อว่าระบบปฏิบตั ิการ UNIX เพ่ือให้ออกเสียงใกล้เคยี งกบั ระบบ Multics ดงั นนั้ ต้นกําหนดของ UNIX ก็คอื Multics นนั่ เอง ไมว่ า่ จะเป็ นชื่อ ระบบแฟ้ มข้อมลู ท่ีใช้ แนวคดิ ของตวั แปรคําสง่ั (Shell) หลงั จากนนั้ ทงั้ สองได้พฒั นามา เป็ น Version 2 เพ่ือทํางานบนเคร่ืองรุ่น PDP-11/20 โดยใช้ภาษา Assembly และได้พฒั นา ปรับปรุงด้วยภาษา C (ภาษา C ก็พฒั นาที่ห้องวิจยั Bell Labs เช่นกนั เพ่ือทํางานบนระบบ UNIX) และเผยแพร่ไปสมู่ หาวทิ ยาลยั ตา่ งๆ ด้วย Version 6 ในปี ค.ศ. 1976 ในปี ค.ศ. 1978 Version 7 ก็ถกู พฒั นาออกมา ซง่ึ เป็ นต้นแบบของระบบ UNIX รุ่น ใหมๆ่ หลงั จากนนั้ AT&T ซง่ึ เป็ นองค์กรแมข่ อง Bell Labs ได้เป็ นผ้รู ับผิดชอบ และควบคมุ การออก ตวั ระบบปฏิบตั ิการ UNIX ดงั นนั้ UNIX จึงกลายเป็ นผลิตภณั ฑ์ แทนที่จะเป็ นเครื่องมือวิจยั AT&T ได้พฒั นา UNIX ออกมาใช้งานภายนอก ภายใต้ช่ือ System III ในปี 1982 และปี 1983 ก็ออก System V และพฒั นามาเรื่อยๆ จนได้รับความนิยมในปัจจบุ นั หลงั จากนนั้ ก็มีผ้พู ฒั นา UNIX เพิ่ม ขนึ ้ มา เช่น University of California at Berkley ได้พฒั นา BSD UNIX (Berkley Software Distribution) ต่อมาหน่วยงานกระทรวงกลาโหมของสหรัฐฯ (Defense Advanced Research

Susaunradsiutsitsongma 56 Projects Agency - DARPA) ได้ให้ทนุ กบั Berkley ในการพฒั นา UNIX และเกิด Version 4BSD เพื่อสนบั สนนุ เครือข่ายของ DARPA ท่ีใช้โปรโตคอลในการสื่อสาร คือ TCP/IP Version ลา่ สดุ ของ Berkley คือ 4.4BSD ที่ออกมาในปี ค.ศ. 1993 โดยมีความสามารถสนบั สนนุ Protocol X.25 หลงั จากนนั้ Berkley ก็หยดุ การพฒั นา UNIX นอกจาก Berkley ยงั มีผ้พู ฒั นารายอื่น เช่น บริษัทซนั ไมโครซสิ เตม็ ก็ได้พฒั นา SunOS และ Solaris บริษัท DEC ได้พฒั นา Ultrix และเปล่ียน ชื่อเป็ น OSF/1 บริษัทไมโครซอฟต์พฒั นา XENIX บริษัทไอบเี อม็ พฒั นา AIX แตไ่ มว่ า่ จะเป็ นคา่ ยใด ก็ตาม ตา่ งก็ยดึ แนวทางของ BSD หรือไมก่ ็ Sytem ทงั้ นนั้ ปัจจบุ นั UNIX เป็ นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียน (Registered Trademark) ของ หน่วยงานท่ีชื่อ The Open Group ซงึ่ จะทําการกําหนด และรับรองมาตรฐานของระบบปฏิบตั ิการ UNIX ระบบปฏบิ ตั กิ าร UNIX มี 2 ลกั ษณะ คือ o ระบบปฏบิ ตั กิ ารที่ได้มาตรฐาน UNIX เป็ นระบบปฏิบตั กิ ารท่ีใช้มาตรฐานของ The Open Group ในการพฒั นาขนึ ้ มา เช่น Digital UNIX, SCO UNIX, IBM's OpenEdition MVS o ระบบปฏิบตั ิการคล้าย UNIX (UNIX Compatible) เป็ นระบบปฏิบตั ิการท่ีมี ลกั ษณะคล้ายระบบ UNIX แตย่ งั ไมไ่ ด้จดทะเบยี น รับรองเป็ นทางการ เชน่ Sun Solaris, IBM AIX, Linux เป็ นต้น 3.4 ระบบปฏบิ ตั กิ าร Linux ระบบปฏิบตั ิลีนกุ ซ์ คือระบบปฏิบตั ิการที่ได้รับการพฒั นาตอ่ มาจาก ระบบ UNIX ที่ นิยมใช้งานกันในเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีมีประสิทธิภาพสูง (Mini Computer, Mainframe computer) เพ่ือให้สามารถใช้งานได้กบั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนบคุ คลทวั่ ไป โดยไม่เสียคา่ ใช้จ่าย ภายใต้ลิขสิทธ์ิแบบ GPL (General Public License) เป็ นลิขสิทธ์สาธารณะมาการเปิ ดเผย ซอร์สโค้ด (Oper Source) ทําให้ในปัจจบุ นั มีผ้พู ฒั นาลีนกุ ซ์กนั มากขนึ ้ ออกแบบหลายตวั ดงั เชน่ o RedHat Linux เข้าไปศกึ ษาได้ท่ี www.redhat.com o Fedora Linux เข้าไปศกึ ษาได้ที่ fedora.red.com o Mandrake Linux เข้าไปศกึ ษาได้ท่ี www.mandriva.com o SuSE Linux เข้าไปศกึ ษาได้ที่ www.novel.com/linux/suse o Slackware Linux เข้าไปศกึ ษาได้ท่ี www.slackware.com

Susaunradsiutsitsongma 57 ระบบปฏิบตั ิการ Linux .(ม.ป.ป) อธิบายเพ่ิมเติมถึงระบบปฏิบตั ิการลีนกุ ซ์ว่าเป็ น ระบบปฏิบตั ิการแบบ 32 บติ ท่ีเป็ นยนู ิกซ์โคลน สําหรับเคร่ืองพีซี และแจกจ่ายให้ใช้ฟรี สนบั สนนุ การใช้งานแบบหลากงาน หลายผ้ใู ช้ (MultiUser-MultiTasking) มีระบบ X วินโดวส์ ซงึ่ เป็ นระบบ การติดต่อผ้ใู ช้แบบกราฟฟิ ก ท่ีไม่ขึน้ กบั โอเอสหรือฮาร์ดแวร์ใดๆ (มกั ใช้กนั มากในระบบยนู ิกซ์) และมาตรฐานการส่ือสาร TCP/IP ท่ีใช้เป็ นมาตรฐานการสอื่ สารในอนิ เทอร์เนตมาให้ในตวั ลีนกุ ซ์มี ความเข้ากนั ได้ (compatible) กบั มาตรฐาน POSIX ซงึ่ เป็ นมาตรฐานอินเทอร์เฟสที่ระบบยนู ิกซ์ สว่ นใหญ่จะต้องมีและมีรูปแบบบางสว่ นท่ีคล้ายกบั ระบบปฏิบตั ิการยนู ิกซ์จากคา่ ย Berkeley และ System V โดยความหมายทางเทคนิคแล้วลีนกุ ซ์ เป็ นเพียงเคอร์เนล (kernel) ของระบบปฏิบตั ิการ ซง่ึ จะทําหน้าท่ีในด้านของการจดั สรรและบริหารโพรเซสงาน การจดั การไฟล์และอปุ กรณ์ I/O ตา่ งๆ แตผ่ ้ใู ช้ทวั่ ๆไปจะรู้จกั ลีนกุ ซ์ผ่านทางแอพพลิเคชนั่ และระบบอินเทอร์เฟสท่ีเขาเหลา่ นนั้ เห็น (เช่น Shell หรือ X วินโดวส์) ถ้าคณุ รันลีนกุ ซ์บนเครื่อง 386 หรือ 486 ของคณุ มนั จะเปลี่ยนพีซีของคณุ ให้กลายเป็ นยนู ิกซ์เวอร์กสเตชนั ที่มีความสามารถสงู เคยมีผ้เู ทียบประสิทธิภาพระหว่างลีนกุ ซ์บน เครื่องเพนเทียม และเคร่ืองเวอร์กสเตชนั ของซนั ในระดบั กลาง และได้ผลออกมาวา่ ให้ประสทิ ธิภาพ ท่ีใกล้เคียงกนั และนอกจากแพลตฟอร์มอนิ เทลแล้ว ปัจจบุ นั ลีนกุ ซ์ยงั ได้ทําการพฒั นาระบบเพ่ือให้ สามารถใช้งานได้บนแพลตฟอร์มอื่นๆด้วย เช่น DEC Alpha , Motorolla Power-PC , MIPS เมื่อ คณุ สร้างแอพพลเิ คชนั ขนึ ้ มาบนแพลตฟอร์มใดแพลตฟอร์มหนึง่ แล้ว คณุ ก็สามารถย้ายแอพพลเิ ค ชนั ของคณุ ไปว่ิงบนแพลตฟอร์มอื่นได้ไม่ยาก ลีนุกซ์มีทีมพฒั นาโปรแกรมท่ีต่อเน่ือง ไม่จํากัด จํานวนของอาสาสมคั รผ้รู ่วมงาน และสว่ นใหญ่จะติดตอ่ กนั ผ่านทางอินเทอร์เนต เพราะที่อย่อู าศยั จริงๆของแตล่ ะคนอาจจะอยไู่ กลคนละซีกโลกก็ได้ และมีแผนงานการพฒั นาในระยะยาว ทําให้เรา มน่ั ใจได้วา่ ลีนกุ ซ์เป็ นระบบปฏิบตั กิ ารท่ีมีอนาคต และจะยงั คงพฒั นาตอ่ ไปได้ตราบนานเทา่ นาน ประวตั ิของลีนกุ ซ์ ลีนกุ ซ์ถือกําเนิดขนึ ้ ในฟิ นแลนด์ ปี คศ. 1980 โดยลีนสุ โทรวลั ด์ส (Linus Trovalds)นกั ศกึ ษาภาควิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร์ (Computer Science) ในมหาวิทยาลยั เฮลซงิ กิ ลีนสุ เห็นวา่ ระบบมนิ ิกซ์ (Minix) ที่เป็ นระบบยนู ิกซ์บนพีซใี นขณะนนั้ ซงึ่ ทําการพฒั นาโดย ศ.แอนดรูว์ ทาเนนบาวม์ (Andrew S. Tanenbaum) ยงั มีความสามารถไม่เพียงพอแก่ความ ต้องการ จึงได้เริ่มต้นทําการพฒั นาระบบยนู ิกซ์ของตนเองขึน้ มา โดยจดุ ประสงค์อีกประการ คือ ต้ องการทําความเข้ าใจในวิชาระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ด้ วยเมื่อเขาเริ่ มพัฒนาลีนุกซ์ไป ช่วงหน่ึงแล้ว เขาก็ได้ทําการชกั ชวนให้นกั พฒั นาโปรแกรมอ่ืนๆมาช่วยทําการพฒั นาลีนกุ ซ์ ซึ่ง ความร่วมมือสว่ นใหญ่ก็จะเป็ นความร่วมมือผา่ นทางอนิ เทอร์เนต ลนี สุ จะเป็ นคนรวบรวมโปรแกรม ท่ีผ้พู ฒั นาตา่ งๆได้ร่วมกนั ทําการพฒั นาขนึ ้ มาและแจกจ่ายให้ทดลองใช้เพ่ือทดสอบหาข้อบกพร่อง

58 ที่น่าสนใจก็คอื งานตา่ งๆเหลา่ นีผ้ ้คู นทงั้ หมดตา่ งก็ทํางานโดยไมค่ ดิ คา่ ตอบแทน และทํางานผา่ นอนิ เทอร์เนตทงั้ หมด ปัจจบุ นั เวอร์ชนั ล่าสดุ ของระบบลีนกุ ซ์ที่ได้ประกาศออกมาคือเวอร์ชนั 2.0.13 ข้อสงั เกตในเร่ืองเลขรหัสเวอร์ชันนีก้ ็คือ ถ้ารหัสเวอร์ชันหลงั ทศนิยมตัวแรกเป็ นเลขคู่เช่น 1.0.x,1.2.x เวอร์ชนั เหลา่ นีจ้ ะถือวา่ เป็ นเวอร์ชนั ท่ีเสถียรแล้วและมีความมนั่ คงในระดบั หนง่ึ แตถ่ ้า เป็ นเลขค่ีเช่น 1.1.x, 1.3.x จะถือว่าเป็ นเวอร์ชนั ทดสอบ ซงึ่ ในเวอร์ชนั เหลา่ นีจ้ ะมีการเพิ่มเติม ความสามารถใหมๆ่ ลงไป และยงั ต้องทําการทดสอบ หาข้อผิดพลาดตา่ งๆอยู่ 3.5 ระบบปฏบิ ตั กิ ารเครือข่ายท่คี วรศกึ ษา ตามที่เราได้ศึกษาถึงลักษณะการทํางานและความจําเป็ นที่ต้องมีการใช้ งาน ระบบปฏิบัติการเครื อข่ายกันมาแล้ ว หลายๆ ตัว โดยผู้เรี ยบเรี ยงขอแนะนําให้ ศึกษา ระบบปฏิบตั ิการเครือข่ายต่อไปนีท้ ี่คาดว่าจะได้รับความสนใจและมีอนาคตท่ีดี คือ Windows Server 2003, Windows server 2008, FreeBSD, Ubuntu เป็ นต้น อยา่ งไรก็ตามหากเลือกศกึ ษา ตวั ไหนแล้วก็ให้ศกึ ษาให้ลึกซงึ ้ เพื่อจะได้มีความเชียวชาญเฉพาะด้าน โดยหากสามารถศึกษาถึง สว่ นของคอมไพล์เคอร์เนล (Kernel) ได้จะดมี าก Susaunradsiutsitsongma


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook