แรงงานสมั พนั ธ์นายพันธวิทย์ อนศุ รี หนง.พฒั นาทรพั ยากรบุคคลและแรงงานสัมพนั ธ์ บมจ.GHP
แรงงานสมั พันธ์คืออะไร แรงงานสัมพนั ธ์เปน็ เร่ืองเกย่ี วกับอะไร สภาพแรงงานไทยในปจั จุบันเป็นอยา่ งไร ข้อคิดเก่ียวกบั การแรงงานสมั พันธม์ ี อะไรบ้าง ทาไมจึงตอ้ งสร้างแรงงานสมั พนั ธใ์ นสถาน ประกอบการ
จดุ อ่อนท่ที าให้เกดิ ปญั หาแรงงานสัมพนั ธ์ (สาเหตุทที่ าให้เกดิ ปญั หาแรงงานสัมพันธ์) การเสรมิ สรา้ งจุดแขง็ และกาจดั จุดออ่ น (การปฏบิ ตั ติ ัวของนายจ้างลกู จา้ ง) การแรงงานสัมพนั ธ์ทีด่ มี ีประโยชนอ์ ย่างไร กลไกหรือตวั แบบในการขบั เคล่อื นแรงงาน สัมพันธ์
๑. แรงงานสมั พนั ธ์ คืออะไร?
แรงงานสมั พนั ธ์หมายถงึ แนววิธีการบริหารท่ีให้ความสนใจต่อความตอ้ งการของพนกั งานในการกาหนดนโยบายแผนงาน ตลอดจนแนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน ความสัมพันธ์ระหวา่ งองคก์ ารนายจ้างกบั ลกู จ้างความสมั พันธร์ ะหว่างพนักงานด้วยกนั
แรงงานสัมพนั ธห์ มายถงึ (ตอ่ ) ความสมั พนั ธร์ ะหว่างฝ่ายจดั การกบั พนักงานรายบคุ คล บรกิ ารและผลประโยชน์ ซ่งึ ฝา่ ย จดั การจัดให้พนกั งาน เช่น สวัสดกิ ารตา่ ง ๆ เบย้ี เลี้ยง วนั หยุดประเพณี วันลาปว่ ย การ ประกันชีวติ เปน็ ตน้
สรุป การแรงงานสมั พนั ธ์ หมายถึง ความสมั พันธร์ ะหวา่ งบคุ คลในองคก์ ร หรอื ความสัมพนั ธร์ ะหว่างนายจ้างกบั ลูกจา้ งในการจ้างงานจนออกจากงาน ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลและองคก์ ร ท่เี ก่ียวข้องกับการทางานและ การจ้างงาน
๒.แรงงานสัมพนั ธ์เป็นเรือ่ งเกย่ี วกับอะไร?
แรงงานสัมพนั ธเ์ ป็นเรือ่ งทีเ่ กยี่ วข้องกบัความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คลและองค์กรทเี่ กยี่ วข้องกับการจ้างงานอันไดแ้ ก่ฝ่ายนายจ้าง ฝา่ ยลูกจ้างและฝา่ ยรัฐกฎเกณฑ์และกระบวนการควบคมุ การทางานการแบง่ ปนั ผลประโยชนท์ เี่ กดิ จากการทางานความขัดแย้งทส่ี ืบเนอื่ งจากการควบคุมการทางานและการแบ่งปนั ผลประโยชน์จากการทางานบทบาทของรัฐบาลในการสง่ เสรมิ ความร่วมมือและระงบั ข้อขัดแย้งระหวา่ งนายจา้ งกบั ลูกจา้ ง
๓. สภาพแรงงานไทย ในปจั จบุ ันเป็นอย่างไร?
สภาพของแรงงานไทยในปัจจุบนั กฎหม่อู ย่เู หนือกฎหมาย อาศัยช่องวา่ งของกฎหมายในการทากิจกรรม การเมืองแทรกแซงและใชเ้ ปน็ เครือ่ งมอื มีการชว่ งชิงอานาจระหวา่ งผ้นู าแรงงาน มีความไมเ่ ข้าใจกันระหวา่ งลกู จา้ งและนายจา้ ง องค์กรเอกชนทงั้ ในและนอกประเทศให้การ สนบั สนนุ
สภาพของแรงงานไทยในปัจจุบัน (ต่อ) นายจ้างไมป่ ฏบิ ัติตามข้อตกลงเกยี่ วกบั สภาพการจา้ ง ลกู จ้างไมป่ ฏบิ ตั ิตามขัน้ ตอนของกฎหมาย ทั้งลูกจา้ งและนายจา้ งขาดหลกั การแรงงานสมั พันธ์ ขาดเหตผุ ลและหลกั การทีถ่ กู ตอ้ ง นายจา้ งไมป่ ฏบิ ตั ิตามกฎหมาย เจ้าหนา้ ท่ีของรัฐดแู ลไม่ทัว่ ถงึ
๔.ข้อคิดเกย่ี วกบั แรงงานสัมพนั ธ์ มอี ะไรบ้าง ?
ข้อคดิ เร่อื งแรงงานสัมพันธ์ ดูอย่างผิวเผินเปน็ เรือ่ งง่าย แตท่ าใหเ้ กดิ ได้ยาก เป็นเรอ่ื งทมี่ โี อกาสสรา้ งความสุข และความทุกข์ ไมม่ ีกฎเกณฑ์ และมาตรฐานการช้วี ัด ประเมนิ ค่าใช้จ่ายไดย้ ากมาก อาจสูงมากหรือต่ามาก ผู้เกี่ยวขอ้ งต้องมคี วามต้ังใจจริงในการทางาน เร่ืองของการแรงงานสมั พันธต์ อ้ งอดทน อดกลั้นและเสยี สละ เปน็ หน้าท่ีของทกุ ๆ คน แรงงานสมั พนั ธจ์ ากระบบทวิภาคีดีกว่าไตรภาคี
ขอ้ คดิ เรอ่ื งแรงงานสัมพนั ธ์ (ตอ่ ) การบงั คบั ตามกฎหมายไม่ใช่การแรงงานสมั พนั ธ์ที่ดี แรงงานสมั พันธ์ชว่ ยเพ่มิ ประสิทธภิ าพและประสิทธิผล การแรงงานสมั พันธ์มใิ ช่การแขง่ ขัน ไมม่ ีผู้แพ้ ผชู้ นะ ประเมินผลความสาเรจ็ และการตอบแทนเปน็ ตัวเงนิ มไิ ด้ ค่าใช้จ่ายเพอ่ื การแรงงานสมั พนั ธเ์ ป็นการลงทนุ การแรงงานสมั พนั ธท์ ่ีดเี ปน็ รางวลั และค่าตอบแทนในการ ทางานชนิดหนง่ึ
๕. ทาไมจงึ ต้องสรา้ ง แรงงานสมั พันธ์ ในสถานประกอบการ?
กาไร ความจาเปน็ ทต่ี อ้ งอยูร่ ว่ มกัน เงินเล้ยี งชีพ เพือ่ ใหเ้ กิดผลผลติ / บริการ฿ ลูกจา้ งนายจา้ งให้ทางานมาก ความเปน็ ปฏิปักษใ์ นทางเศรษฐกิจ ทางานน้อยจา่ ยค่าแรงน้อย ไดค้ ่าจ้างมากมีเงนิ ความรู้ ฯลฯ ความยตุ ิธรรม ใน มเี งิน ความรู้ ฯลฯ มากกวา่ สังคม น้อยกวา่ มโี อกาสเลอื ก มีโอกาสเลอื ก น้อยกว่า มากกวา่ กฎหมายแรงงานกฎหมายค้มุ ครอง สัมพนั ธ์ แรงงาน
ความปรารถนาของนายจ้าง การดาเนนิ ธรุ กิจเป็นไปอยา่ งราบร่นื เจรญิ กา้ วหนา้ มคี ่าใชจ้ า่ ยที่ต่า กาไรมาก ๆ มภี าพพจนท์ ี่ดี เป็นที่รู้จกั สินคา้ และผลิตภณั ฑไ์ ด้คุณภาพมาตรฐาน จาหนา่ ยไดม้ าก มีความสงบสขุ มรี ะเบยี บวนิ ยั รับผดิ ชอบต่องาน มอี านาจในการจดั การ
ความปรารถนาของลูกจา้ ง ค่าตอบแทนในการทางาน การยอมรบั นับถอื และเอาใจใส่ สวสั ดิการและสทิ ธิประโยชน์ การมีส่วนร่วมในกิจกรรม ความมัน่ คงในการทางาน ความเป็นธรรม ความกา้ วหน้าในตาแหน่งหน้าที่ การรกั ษาสญั ญาของนายจ้าง ความปลอดภยั ในการทางาน ความสงบราบร่ืน มบี รรยากาศในการ ความทันสมยั ของอปุ กรณ์ ทางานทดี่ ี เคร่ืองมือในการทางาน มคี วามเปน็ ประชาธิปไตย การพฒั นาชวี ิตการทางาน มีสว่ นร่วมในการเป็นเจ้าของกิจการ
๖.จุดอ่อนทีท่ าใหเ้ กดิ ปญั หา แรงงานสมั พนั ธ์(สาเหตุท่ที าใหเ้ กิดปัญหาแรงงานสัมพันธ)์
ปญั หาแรงงานสัมพนั ธ์ มสี าเหตเุ กดิ จากอะไร?ปัญหาทีเ่ กิดจากลกู จา้ ง ไม่มคี วามรู้พืน้ ฐานด้านแรงงาน รจู้ กั สทิ ธิ แต่ไม่รู้จกั หน้าท่ี ไมเ่ คารพสทิ ธิของฝา่ ยจัดการ ไมเ่ คยชินกบั การทางานในระบบอุตสาหกรรม ขาดระเบียบวินยั ขาดความตง้ั ใจในการทางาน ขาดงาน มาสาย ลาปว่ ยบอ่ ย
ปญั หาท่เี กิดจากลูกจ้าง (ต่อ) เช่อื ฟังคายุยงจากบุคคลภายนอก ไมม่ คี วามกลา้ ท่ีจะร้องเรียน แต่จะระเบิดเปน็ เรื่องรุนแรง ไม่ไว้ใจฝา่ ยจดั การ และมคี วามรู้สึกวา่ นายจา้ งเอาเปรียบ ไมไ่ ด้รับ ความเป็นธรรม ใชถ้ ้อยคากา้ วรา้ ว ใช้วิธชี มุ นมุ หรือประทว้ งเมือ่ ไม่พอใจ ไม่ปฏิบัติ ตามข้นั ตอนของกฎหมาย
ปัญหาแรงงานสมั พันธ์ มีสาเหตเุ กดิ จากอะไร?ปญั หาทเ่ี กดิ จากนายจ้างระเบยี บข้อบังคบั - เข้มงวดมีรายละเอียดปลกี ยอ่ ยมากเกนิ ไป ไมช่ ีแ้ จงเหตุผลหัวหนา้ งาน - ใชแ้ ตพ่ ระเดช ไมร่ ้จู กั ใช้พระคุณ - คนไมย่ ่งุ มงุ่ แต่งาน ขาดมนษุ ยส์ มั พนั ธ์ทด่ี ี - เอาแต่สัง่ ไมฟ่ งั เสยี งใคร - เลอื กที่รกั มกั ทีช่ งั - สอนงานไมเ่ ปน็ ได้แต่เค่ียวเข็ญดดุ า่
ปัญหาทเี่ กดิ จากนายจ้าง (ตอ่ )แนวความคดิ ของนายจา้ ง - ยดึ กฎหมายมากกว่าการทาความเข้าใจ - ไมเ่ คารพสทิ ธิและเสรีภาพของลกู จ้างการไมป่ ฏบิ ัตติ ามกฎหมายแรงงาน - เชน่ การปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายคมุ้ ครองแรงงานและแรงงานสมั พนั ธ์ - ไมย่ อมรบั ขอ้ เสนอ หรอื ข้อเรียกรอ้ ง - นาช่องวา่ งของกฎหมายมาใช้ - เปล่ยี นสภาพการจ้างโดยไม่ทาตามกฎหมาย
ปญั หาที่เกิดจากนายจ้าง (ต่อ)นโยบายดา้ นแรงงานของนายจ้าง - ขาดการวางแผนกาลังคนใหเ้ หมาะสมกบั ปรมิ าณงาน - ขาดการพฒั นาพนักงานให้มีความรคู้ วามสามารถกบั งาน - ขาดการดแู ลเอาใจใสพ่ นักงาน - ไม่เปิดโอกาสให้พนักงานมีส่วนรว่ มแสดงความคดิ เห็น เก่ยี วกบั การบรหิ ารท่มี ีผลโดยตรงกับพนกั งาน
ปญั หาที่เกดิ จากนายจ้าง (ต่อ)นโยบายคา่ จ้าง - ไมม่ ีนโยบายจูงใจพนักงานด้วยคา่ จ้างและผลประโยชน์ ตอบแทนตา่ งๆท่เี หมาะสมกบั ประสิทธภิ าพการทางาน และคา่ ครองชพีการสอื่ ขอ้ ความ - ส่ือข้อความโดยไม่มกี ารตรวจสอบความเข้าใจและปฏกิ ริ ิยา - ขาดการชแ้ี จงข้อเท็จจรงิ เก่ียวกบั นโยบายการบรหิ าร - การส่อื ข้อความท่ีไมเ่ หมาะสม เช่นคลุมเครอื ไม่ทั่วถึง
ปัญหาทีเ่ กดิ จากนายจ้าง (ตอ่ )ระบบการร้องทุกข์ - ขาดระบบการรอ้ งทุกข์ เพ่อื เปิดโอกาสใหพ้ นักงานได้รบั การ พจิ ารณาในเร่อื งความคบั ข้องใจต่างๆสภาพการจา้ งและการทางาน - หากไมด่ หี รือไม่เหมาะสมหรือตา่ กว่ามาตรฐานที่กฎหมายกาหนด ยอ่ มทาให้พนักงานขาดขวัญกาลังใจ - ขาดการปรับปรงุ เม่ือสภาพทางเศรษฐกจิ ของนายจ้างดีข้ึน
ปญั หาแรงงานสัมพันธ์ มสี าเหตุเกดิ จากอะไร?สาเหตุจากภายนอกอืน่ ๆภาวะคา่ ครองชพี ทสี่ งู ขึน้ หรอื เศรษฐกจิ ท่ตี กตา่ - ท้ังสองฝา่ ยไม่ชว่ ยกนั หรอื ร่วมกันแก้ปัญหา - ลูกจา้ งมกั ใช้วิธีเรยี กร้องเพิ่มค่าจา้ ง รายได้ - นายจ้างใช้วธิ ีลดคา่ ใช้จ่ายโดยการลดคน ลดสวัสดิการ ฯลฯ ทาให้ลกู จา้ งขาดขวัญและกาลงั ใจ ทจี่ ะทางานต่อไป
สาเหตจุ ากภายนอกอื่นๆ (ตอ่ ) การปฏิบัตติ ามอย่างกัน - ยืน่ ข้อเรยี กร้องเหมอื นท่ีอื่นๆ - ใช้พลังบังคับ - ดาเนินการด้วยวธิ ีรนุ แรง การแทรกแซงของบุคคลภายนอก
๗.การเสรมิ จดุ แขง็ และกาจัดจุดออ่ น (การป้องกนั - การแกไ้ ขปัญหา และการปฏิบัติตัวของนายจ้าง และลกู จ้าง)
การป้องกันและแกไ้ ขปญั หาแรงงานสัมพนั ธ์ นายจา้ งและลูกจ้างจะตอ้ งพยายามปรับปรุงและ แกไ้ ขตวั เอง การรับฟงั ขอ้ เสนอแนะ ควรเปิดใจรับฟังความคดิ เห็นของลูกจ้างทีเ่ สนอแนะ ด้วยวาจา ควรมกี ล่องรบั ฟงั ความคิดเห็นเพือ่ นาไปแก้ไขหรือ ทาความเข้าใจ
การป้องกันและแก้ไขปัญหาแรงงานสัมพนั ธ์(ตอ่ ) - การทากิจกรรมรว่ มกัน เช่นกิจกรรมกฬี า กรรมการรา้ นคา้ ฯ - คณะกรรมการลกู จ้าง - คณะกรรมการร่วมปรกึ ษาหารอื - ความร่วมมอื ระหว่างสหภาพกับฝ่ายจัดการ - ระบบการร้องทุกข์
นายจา้ งควรปฏบิ ัตติ ัวอย่างไร เพ่ือให้เกิดแรงงานสัมพนั ธ์ทดี่ ี มรี ะบบการบรหิ ารงานบุคคลทที่ ันสมยั และมปี ระสทิ ธภิ าพ มีความรู้กฎหมายแรงงาน และปฏบิ ัตใิ ห้ถกู ตอ้ ง ผ้จู ดั การ หวั หนา้ งานทุกระดบั จะตอ้ งมีความรู้ด้านแรงงาน มกี ารส่ือขอ้ ความทีด่ ี ทวั่ ถึงและชดั แจ้งเพ่ือป้องกนั ข้อขัดแย้ง จดั ใหม้ ีการฝกึ อบรมตามความเหมาะสม มีมนษุ ยส์ ัมพนั ธ์ทดี่ ีและมีความจริงใจต่อลกู จ้าง มรี ะบบร้องทกุ ข์ท่ีมปี ระสิทธิภาพ จัดทาข้อบังคับให้เหมาะสม และควบคมุ ใหม้ กี ารปฏิบตั ิอย่างเปน็ ธรรม ดาเนินการใหล้ ูกจ้างเกิดความรสู้ ึกม่ันคงกา้ วหน้าและมีความปลอดภยั ในการทางาน
ลกู จ้างควรปฏบิ ตั ิตวั อย่างไร เพอ่ื ให้เกดิ แรงงานสมั พันธท์ ีด่ ี เคารพสิทธขิ องนายจ้าง เชน่ การสง่ั งาน การควบคมุ งาน การ เปลย่ี นแปลงหนา้ ทท่ี ีเ่ ปน็ ธรรม ปฏบิ ัตติ ามคาสัง่ ระเบียบ ขอ้ บงั คบั โดยถูกต้องเคร่งครดั ตงั้ ใจปฏบิ ตั ิหน้าท่ตี ามทไี่ ด้รับมอบหมาย มีความรู้ด้านแรงงานพอสมควร เพ่ือร้สู ทิ ธแิ ละหน้าที่ มคี วามกลา้ ท่เี หมาะสมในการท่ีจะเสนอความคิดเหน็ หรือการร้อง ทกุ ข์ ปฏิบตั ิตามขัน้ ตอนของกฎหมาย
ลักษณะของแรงงานสัมพนั ธท์ ี่ดี กระทาการต่างๆภายในขอบเขตของสทิ ธิทม่ี ี และเคารพสทิ ธิของกนั และกนั ปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่างมคี วามรบั ผดิ ชอบ ไม่ขดั ขวางการปฏิบัติ หน้าทีข่ องอีกฝ่ายหนงึ่ ร่วมมือกนั ปฏบิ ัตงิ านเพื่อใหบ้ รรลผุ ลอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ประสานผลประโยชนอ์ ย่างเหมาะสมและเปน็ ธรรม มกี ารสือ่ ข้อความที่ดีต่อกนั มวี ธิ ีแกไ้ ขข้อขัดแยง้ ทีม่ ีประสิทธิภาพ มมี นษุ ยส์ มั พนั ธ์ทีด่ ีตอ่ กัน
๘.การแรงงานสัมพันธท์ ีด่ ี มีประโยชน์อยา่ งไร?
ประโยชนข์ องแรงงานสมั พันธท์ ด่ี ี ประโยชน์ต่อนายจ้าง - สามารถดาเนนิ กิจการไดอ้ ย่างตอ่ เนื่องและมปี ระสทิ ธภิ าพ ชว่ ยใหก้ ิจการมีผลกาไรและเจริญก้าวหนา้ - ไมต่ ้องเสยี เวลา เสียเงนิ เสยี ความร้สู ึก เสยี หนา้ เน่อื งจาก เกิดขอ้ ขดั แย้ง ข้อรอ้ งทกุ ข์ หรือคดีแรงงาน - สามารถรักษาระเบยี บวินยั ความสงบเรยี บรอ้ ยใน สถานประกอบการ
ประโยชน์ของแรงงานสัมพนั ธ์ท่ดี ีประโยชน์ตอ่ ลกู จ้าง มขี วัญกาลังใจ และความพงึ พอใจในงาน ได้รบั การปรบั ปรงุ คา่ จา้ ง สวัสดกิ าร สภาพการทางาน ช่วยใหค้ ุณภาพชีวติ การทางานดีขน้ึ มโี อกาสแสดงความคดิ ริเรม่ิ และความสามารถในการ ทางานเพอื่ พัฒนาตนเองใหก้ ้าวหนา้ ในอาชีพการงานย่งิ ขึ้น มีความมัน่ คงในการทางาน
ประโยชนข์ องแรงงานสัมพนั ธ์ที่ดีประโยชน์ตอ่ ประชาชนทั่วไป มีผลให้การดาเนินการของสถานประกอบการ ดาเนนิ ไปอย่างมีประสิทธิภาพทาให้ประชาชน ทั่วไปในฐานะผบู้ ริโภคไดร้ ับสนิ ค้าและบริการท่ีดี
ประโยชน์ของแรงงานสัมพันธท์ ี่ดีประโยชนต์ ่อประเทศชาติ ชว่ ยใหเ้ กิดความสงบสขุ ในวงการอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นปจั จัยสาคญั ในการสง่ เสริมบรรยากาศการ ลงทนุ และการขยายตัวของธุรกจิ อุตสาหกรรม ซึ่งเป็น ผลดีต่อการเตบิ โตของเศรษฐกิจของประเทศ ช่วยไม่ให้เกดิ ข้อขดั แยง้ ขอ้ พพิ าทแรงงาน การ นดั หยุดงานหรือการปดิ งาน ยดื เย้อื ซึง่ อาจนาไปสู่ เหตุการณ์ทก่ี อ่ ให้เกดิ ความไมส่ งบสุขในสงั คม
๙. กลไกหรอื ตัวแบบ ในการขบั เคลอ่ื น แรงงานสัมพันธ์
รปู แบบการส่งเสรมิ แรงงานสัมพันธ์ระบบทวิภาคี ระบบไตรภาคี
ระบบทวภิ าคี เป็นระบบท่ีนายจา้ งเปดิ โอกาสให้ลกู จา้ งเข้ามามสี ่วนร่วมใน การให้ข้อเสนอแนะ แสดงความคิดเห็น รว่ มปรกึ ษาหารอื และ ร่วมตัดสนิ ใจเกย่ี วกับการจัดการในระดับต่างๆตามความ เหมาะสม เช่น กล่องแสดงความคิดเห็น ระบบใหข้ ้อเสนอแนะ การร่วมปรกึ ษาหารือกนั ระหวา่ งสหภาพแรงงานกบั ฝา่ ยจดั การ
ระบบทวิภาคี (ตอ่ ) คณะกรรมการร่วมปรึกษาหารอื คณะกรรมการท่ีปรกึ ษา คณะกรรมการคิว.ซี.ซี คณะกรรมการลูกจา้ ง คณะกรรมการเฉพาะกจิ ระบบการยุติข้อรอ้ งทุกข์
แนวทางการส่งเสริมแรงงานสัมพนั ธ์ระบบทวิภาคี ฝ่ายจดั การกาหนดเปน็ นโยบายทส่ี าคญั ทจ่ี ะใชร้ ะบบนน้ั ในการส่งเสริมแรงงานสมั พนั ธ์ เผยแพร่ความรเู้ กย่ี วกับระบบทวิภาคีที่จะมขี นึ้ ในสถาน ประกอบการให้ทุกฝ่ายทราบ ให้การศกึ ษาทุกฝา่ ย ทราบถงึ กจิ กรรมและบทบาทของ แตล่ ะฝ่าย
แนวทางการส่งเสริมแรงงานสัมพนั ธ์ระบบทวิภาคี (ตอ่ ) จัดตัง้ คณะทางานเพอ่ื ศึกษาและยกร่างระเบยี บขอ้ ปฏิบัติของระบบนัน้ เมื่อจดั ตัง้ แล้ว ให้การศึกษาแกผ่ ้ทู จี่ ะทาหนา้ ท่เี พือ่ ใหเ้ ขา้ ใจบทบาทหนา้ ท่คี วามรบั ผิดชอบและขอบเขตการดาเนนิ การอยา่ งถอ่ งแท้
ประโยชน์ของการปรึกษาหารอื ลดปญั หาในการยนื่ ข้อเรียกร้องและข้อพิพาท เสรมิ สรา้ งความสมั พนั ธอ์ ันดีต่อกนั ลดความขดั แยง้ ความคับขอ้ งใจทอ่ี าจเกดิ ข้ึน เป็นสอ่ื กลางในการพัฒนาหรือเพม่ิ ประสทิ ธิภาพ ในการทางาน
ประโยชน์ของการปรึกษาหารือ(ต่อ) เปน็ ดัชนที ่จี ะชใี้ หฝ้ ่ายจัดการได้ทราบทา่ ที และทศั นคตขิ อง ลูกจา้ ง เปิดโอกาสให้ลกู จา้ งได้เรียนร้วู ิธีการทางานเป็นกล่มุ รจู้ กั ขัน้ ตอนและวิธีการแก้ปัญหา เป็นไปตามหลกั บรหิ าร หรอื การจัดการสมยั ใหมท่ ี่เนน้ ให้ ทุกฝา่ ยมสี ่วนร่วมในการทางาน
ขอบเขตการปรกึ ษาหารอื การผลติ เช่นต้นทุน ปรับปรงุ วิธกี ารผลติ การใชเ้ ครื่องจกั รการ ลดความสญู เสยี การให้การศึกษา เชน่ หลักสตู รอบรม การปฐมนิเทศน์ งานด้านบุคคล เช่นหลกั เกณฑ์การเลื่อน ข้นั เล่ือนตาแหน่ง วนิ ยั การลงโทษทางวนิ ัย
ขอบเขตการปรึกษาหารอื (ตอ่ ) ความปลอดภยั ในการทางาน เช่นการป้องกันอบุ ตั เิ หตุ การใชเ้ ครอ่ื งปอ้ งกันการสร้างจิตสานึกในการรกั ษา ความปลอดภยั สวัสดิการ เชน่ วิธีการจดั สวสั ดกิ าร การส่ือข้อความ เช่นการสือ่ สารเรื่องราวในงาน
Search