รายงานผลการดาเนินงาน โครงการยกระดบั คณุ ภาพของกลุม่ สาระคณติ ศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563 คณิตกศลามุ่ สสตารระ์ การเรียนรู้ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศกึ ษาพิเศษ สังกดั สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการ ตามแผนปฏิบัติการประจาปี 2563 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ โครงการยกระดับคุณภาพของกล่มุ สาระคณติ ศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ สานักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
บันทึกขอ้ ความ สว่ นราชการ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ ท่ี วันที่ 28 มีนาคม 2563 เรือ่ ง รายงานผลการดาเนินงานโครงการยกระดับคณุ ภาพของกลมุ่ สาระคณติ ศาสตร์ เรยี น ผ้อู านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ สง่ิ ที่แนบมาด้วย 1. รายงานผลการดาเนนิ งานโครงการยกระดับคุณภาพของกล่มุ สาระคณิตศาสตร์ จานวน 1 ฉบับ ตน้ เรอื่ ง/เรื่องเดมิ ขา้ พเจา้ นางสาวปวรศิ า กา๋ วงค์วนิ ตาแหนง่ ครู คศ.1 ไดร้ ับมอบหมายให้เป็นผูร้ ับผิดชอบโครงการ ยกระดบั คณุ ภาพของกลุม่ สาระคณิตศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2563 เพื่อดาเนินการ บริหารโครงการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการ คือ 1) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุ่ม สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 2) เพื่อพัฒนาส่ือ/นวัตกรรมการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ 3) เพอ่ื พฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นดา้ นคณติ ศาสตร์ของนักเรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบร่วมมือ 4) เพ่ือให้นักเรียนมีทักษะในการคิดคานวณ ทางด้านการเรียนคณิตศาสตร์ 5) เพ่ือให้นกั เรียนมีสมาธิในการเรียนมากข้ึน 6) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความ เข้าใจกระบวนการทางคณิตศาสตร์ผ่านการเรียนรู้ด้วยการลงมือทาในรูปแบบกิจกรรมกลุ่มและกิจกรรมฐาน 7) เพ่ือให้นักเรียนได้เรียนรู้คณิตศาสตร์ด้วยความสนุกมากขึ้น 8) เพ่ือให้นักเรียนได้พัฒนากระบวนการทาง คณิตศาสตรข์ องตนเองและมีเจตคติท่ีดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ 9) เพ่ือเตรียมและส่งนักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน ทักษะทางการด้านคณิตศาสตร์ 10) เพ่อื ส่งเสริมการนาเสนอวิธีการคิด วิธแี ก้ปัญหาด้วยภาษาหรอื วธิ ีการของ ตนเอง 11) เพือ่ ส่งเสริมกาหนด คาดการณ์ตดั สินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผล และ 12) เพือ่ สง่ เสริมความคิดริเริ่ม สร้างสรรคผ์ ลงานดว้ ยความภาคภมู ใิ จ โดยมีระยะเวลาการดาเนนิ งานระหว่างวนั ท่ี 1 เม.ย. 2563 ถึง วนั ที่ 3 1 มีนาคม 2564) ข้อเทจ็ จรงิ บัดนี้ โครงการยกระดบั คุณภาพของกลุ่มสาระคณติ ศาสตร์ ได้ดาเนนิ การเสรจ็ ส้นิ เปน็ ทเี่ รยี บร้อยแล้ว ขอรายงานผลการดาเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ตามแบบรายงานของ เอกสารตามแนบ ข้อกฎหมายทีเ่ กยี่ วขอ้ ง -
ความเห็นเจ้าหนา้ ที่/ขอ้ ความพจิ ารณา กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ขอรายงานผลการดาเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพของ กล่มุ สาระคณิตศาสตรป์ กี ารศกึ ษา 2563 จงึ เรียนมาเพอ่ื โปรทราบ ลงชื่อ ผรู้ ายงาน (นางสาวปวริศา ก๋าวงคว์ ิน) ตาแหนง่ ครู คศ.1 ความคดิ เห็นรองผู้อานวยการ ลงช่อื (นายวเิ ศษ ฟองตา) รองผู้อานวยการฝ่ายบรหิ ารงานวิชาการ ความคิดเหน็ ผู้อานวยการ ลงชื่อ (นายอดิศร แดงเรือน) ผูอ้ านวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่
ก คำนำ รายงานการดาเนินงานโครงการยกระดับคณุ ภาพของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ จัดทาขึ้นเพ่ือรวบรวม หลักฐานเอกสารต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องการกับการดาเนินงานของโครงการ/กิจกรรม รูปแบบการจัดกิจกรรมที่ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีศักยภาพ การดาเนินงานท่ีส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนและหน่ วยงานภายนอก รายงานฉบับนี้ได้รวบรวมผลการดาเนินงาน การวิเคราะห์ผลการดาเนินงานตามตัวช้ีวัดความสาเร็จของ โครงการ/กิจกรรม การสรปุ ผลความสาเร็จและความพึงพอใจของผู้ทม่ี ีสว่ นรว่ มในการดาเนนิ งาน ประมวลภาพ การจัดกิจกรรม และหลักฐานท่ีเก่ียวข้อง ท้ังน้ีเพ่ือเป็นส่วนหนึ่งในการนาข้อมูลสาหรับการวางแผนการ ดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่เป็นข้อมูล พื้นฐานประกอบการตัดสินใจต่าง ๆ ของผู้บริหารในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนราชประชานุ- เคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ให้มีคุณภาพสามารถพัฒนานักเรียนให้มีมาตรฐานทางการศึกษา เป็นข้อมูล สาหรับบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้องสาหรับการจัดกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาของนักเรียน สรา้ งความเชื่อม่ันต่อสังคมต่อไป กลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ 28 ม.ี ค. 2563 รายงานโครงการกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2563
ข สำรบญั บนั ทกึ ข้อควำม รายงานผลการดาเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพของกล่มุ สาระคณิตศาสตร์ หนำ้ คำนำ สำรบญั ก แบบรำยงำนกำรดำเนนิ งำนโครงกำร/กิจกรรม ข 1 กิจกรรมท่ี 1 พฒั นาผลสัมฤทธ์กิ ารเรยี นรู้วิชาคณิตศาสตร์ 11 กจิ กรรมท่ี 2 วิจยั เพือ่ การเรียนการสอนของกล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ 18 กจิ กรรมที่ 3 พฒั นาสอ่ื นวัตกรรมการศึกษา 22 กิจกรรมที่ 4 พัฒนาส่อื นวัตกรรมการศกึ ษา 27 ภำคผนวก 31 รายละเอียดโครงการ/กจิ กรรม รายงานการประชมุ PLC ขอ้ มลู ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของกล่มุ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ ภาพประกอบการจัดโครงการ/กจิ กรรม รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
1 รายงานผลการดาเนินงานโครงการ โครงการ ยกระดบั คุณภาพของกลุ่มสาระคณติ ศาสตร์ ระยะเวลาการดาเนนิ งาน ปีการศึกษา 2563 ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ/กจิ กรรม ครูกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ สนองกลยุทธ์โรงเรียน ขอ้ ที่ 1. พฒั นาระบบการบริหารจัดการศึกษา 2 สง่ เสริม สนับสนุน ให้ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าทอี่ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3. เรง่ รดั พฒั นาคุณภาพผู้เรียนให้เปน็ ไปตามมาตรฐาน สนองกลยุทธ์ สพฐ. ข้อที่ 1. ดา้ นการจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความมน่ั คงของมนุษยแ์ ละของชาติ 2. ดา้ นการจดั การศึกษาเพ่อื เพิ่มความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ 4. ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาทมี่ ีคุณภาพ มมี าตรฐานและลดความเหล่ยี มล้าทางการศกึ ษา สนองมาตรฐานการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานของสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรียน ประเดน็ พจิ ารณา 1.1 ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผเู้ รยี น มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเป็นสา้ คญั 1. หลกั การและเหตผุ ล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบบั ที่ 4) พุทธศกั ราช 2542 ได้กล่าวว่า หมวด 4 แนวทางการ จัดการศึกษา มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักวา่ ผเู้ รียนทุกคนมีความสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเอง ได้ และถือว่าผู้เรียนมีความส้าคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาตแิ ละเต็มตามศักยภาพ (ราชกิจจานุเบกษา, 2562) ส้านกั รัฐมนตรแี ละกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมนี โยบาย พัฒนาคุณภาพการศึกษา ซ่ึงได้กา้ หนดไว้ในยทุ ธศาสตร์ชาตดิ ้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากร มนุษย์ และทางสา้ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั พืนฐาน ได้ตระหนักถงึ ความส้าคัญของยุทธศาสตร์ชาติ เป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศท่ียั่งยืน โดยเฉพาอย่างยิ่งยุทธศาสตร์ชาติด้านดงั กล่าว เป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศอย่างเป็นระบบ มุ่งเน้นการ พัฒนาและยกระดับคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ท่ีดี เก่ง และมีคุณภาพพร้อม ขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศไปขา้ งหนา้ ไดอ้ ย่างเต็มศักยภาพ ซึ่ง”คนไทยในอนาคต จะต้องพร้อมทังกาย ใจ สติปัญญา มพี ฒั นาการท่ดี ีรอบด้านและมสี ุขภาวะที่ดใี นทกุ ช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผอู้ ่ืน มธั ยัสถ์ อดออม โอบออ้ มอารี มีวินยั รกั ษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถกู ต้อง มที ักษะที่ จ้าเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 และอนุรักษ์ภาษาท้องถ่ิน มีนิสัยรักการ เรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยที่มีทักษะสูง เป็นพลวัตร นักคิด ผู้ประกอบการเกษตรยุคใหมแ่ ละอ่นื ๆโดยมสี ัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง” โดยมีเปา้ หมายขอ้ ท่ี 2 ผ้เู รียน รายงานโครงการกล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
2 ที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กีฬา ภาษาและอื่น ๆ ได้รับการพัฒนา อย่างเต็มตามศักยภาพ (สา้ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน, 2560) การจัดการศึกษา ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีวัด สมรรถนะที่ส้าคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ ตามที่ก้าหนดไว้ โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความส้าคัญท่ีสุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้ ยดึ ประโยชนท์ ่ีเกิดกับผู้เรยี น กระบวนการเรยี นรู้ต้อง ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนสามารถพฒั นาตนเอง ตามธรรมชาติและเตม็ ตามศักยภาพ ค้านึงถงึ ความแตกตา่ งบุคคลของ ผู้เรียนและพัฒนาการทางสมอง ความรู้ ความสามารถของผู้เรยี นแต่ละคนไม่เท่ากัน เนน้ ความสา้ คัญทงั ความรู้ และคุณธรรม ครผู สู้ อนต้องพยายามคัด สรรกระบวนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ศักยภาพและบริบทของผู้เรียน การก้าหนด บทบาทของครผู ู้สอนและผู้เรียน การใชส้ อ่ื นวัตกรรมประกอบการ เรียนรทู้ ี่หลากหลาย และการออกแบบการ วดั ผลประเมนิ ผล เพ่อื ให้ผเู้ รียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์มีบทบาทส้าคัญย่ิงต่อความส้าเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เนื่องจากคณิตศาสตร์ เปน็ สาระวิชาหลกั (Core Subjects) และชว่ ยให้มนุษย์มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ คดิ อย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบ ถ่ีถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถน้าไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนีคณิตศาสตร์ยังเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อ่ืน ๆ อันเป็น รากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ทัดเทียมกับ นานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จึงจ้าเป็นต้อมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพ่ือให้ทันสมัยและสอดคล้องกับ สภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วใน ยุคโลกาภวิ ัฒน์ (ส้านักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั พืนฐาน, 2560) ทางโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้เล็งเห็นความส้าคัญของการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษาในรายวิชาคณิตศาสตร์ซ่ึงเป็นรายวิชาที่มีเนือหาสาระค่อนข้างยาก ผู้เรียนส่วนใหญ่มี ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในระดับควรปรบั ปรุง ไม่สนใจเรียน ส่งผลให้ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของ กลุ่มสาระไม่เป็นไปตามเกณฑ์ท่ีก้าหนดไว้ ส่วนหนึ่งอาจเกิดขึนเนื่องจากรูปแบบวิธีการจัดการเรียนการสอน ของครูไม่มีกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย ส่งเสริมการพัฒนาทักษะความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ของผู้เรียน สอดคล้องกับผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม พบว่ามาตรฐานด้านการจัดการเรียนการ สอนของครู อยู่ในระดบั พอใช้ คณะกรรมการการประเมินได้ใหข้ ้อเสนอแนะในการพฒั นาการจัดการเรยี นการ สอนของครู กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ตระหนักถึงนโยบายของสถานศกึ ษาและให้ความส้าคัญของการ พัฒนารูปแบบจดั การเรียนการสอนคณติ ศาสตร์ ที่สง่ เสริมให้ผู้เรยี นได้คน้ คว้า ฝึกฝนด้วยตนเอง เกดิ การเรยี นรู้ เต็มตามศักยภาพสา้ หรบั ผู้เรยี นทกุ คนที่เรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ และจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรสา้ หรบั ผู้เรยี น ทมี่ คี วามสนใจ มคี วามสามารถดา้ นคณิตศาสตร์ เนน้ กระบวนการคดิ การแก้ปญั หา พัฒนาทกั ษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ ซึง่ จะส่งผลให้ผู้เรียนมคี ุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตลอดจนมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ในรายวชิ าคณิตศาสตรท์ ด่ี ขี ึนอย่างยง่ั ยืนต่อไป รายงานโครงการกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
3 จากผลการด้าเนินงาน/ผลการประเมิน พบว่า (1) ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน ระดับ 3 ขึนไป คิดเป็น ร้อยละ 30.99 ซึ่งตงั คา่ เป้าหมายไวร้ ้อยละ 65 (2) พัฒนาห้องเรียน โดยสร้างบรรยากาศ สอ่ื การเรียนรู้ทส่ี ร้าง ความสนใจให้ผู้เกิดการเรียนรู้ จึงได้จัดท้าโครงการ/กิจกรรมยกระดับคุณภาพของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ เพื่อสอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนจึงได้จัดกิจกรรม (1) ยกระดับผลสัมฤทธิ์ (2) พัฒนางานวิจัย (3) พัฒนาส่ือ นวัตกรรม และ(4) ความเป็นเลิศ รองรับ เพื่อให้โครงการนีมีความเข้มแข็ง/ ย่งั ยนื 2. วตั ถุประสงคโ์ ครงการ 2.1 เพ่อื พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 2.2 เพือ่ พฒั นาสอ่ื /นวัตกรรมการเรียนการสอนของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 2.3 เพื่อพฒั นาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดา้ นคณิตศาสตรข์ องนกั เรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์๓๑ จังหวดั เชียงใหม่ โดยใชก้ ระบวนการเรยี นร้แู บบรว่ มมอื 2.4 เพื่อใหน้ กั เรยี นมที ักษะในการคดิ คา้ นวณทางด้านการเรยี นคณิตศาสตร์ 2.5 เพอ่ื ให้นกั เรียนมีสมาธิในการเรยี นมากขึน 2.6 เพอ่ื ใหน้ กั เรียนมคี วามร้คู วามเข้าใจกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ผา่ นการเรียนร้ดู ว้ ยการลงมือท้า ในรูปแบบกจิ กรรมกลมุ่ และกิจกรรมฐาน 2.7 เพ่ือให้นักเรยี นได้เรียนรคู้ ณิตศาสตรด์ ้วยความสนกุ มากขึน 2.8 เพอ่ื ให้นักเรยี นไดพ้ ฒั นากระบวนการทางคณิตศาสตรข์ องตนเองและมีเจตคตทิ ี่ดีต่อวชิ า คณติ ศาสตร์ 2.9 เพ่อื เตรียมและสง่ นกั เรียนเข้ารว่ มการแข่งขันทักษะทางการด้านคณติ ศาสตร์ 2.10 เพ่อื สง่ เสริมการนา้ เสนอวิธีการคดิ วธิ ีแก้ปญั หาดว้ ยภาษาหรอื วิธีการของตนเอง 2.11 เพอ่ื ส่งเสรมิ ก้าหนด คาดการณ์ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตผุ ล 2.12 เพ่อื สง่ เสรมิ ความคดิ ริเรมิ่ สรา้ งสรรค์ผลงานดว้ ยความภาคภูมิใจ 3. เป้าหมาย 3.1) ด้านปริมาณ 3.1.1 ผู้เรียนมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนระดบั 3 ให้อยู่ในระดับร้อยละ 65 ขนึ ไป 3.1.2 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นดา้ นคณติ ศาสตรข์ องผู้เรยี นกล่มุ ตัวอย่าง สงู ขึนกว่าปที ผ่ี ่านมา ร้อยละ 65 3.1.3 ครูผู้สอนมกี ารพฒั นาการจดั การเรียนรูท้ ่ีสอดคลอ้ งกบั ตัวชวี ดั ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.1.4 ผเู้ รยี นในระดบั ชนั ประถมศึกษาปีที่ 3 มผี ลสัมฤทธิร์ ะดับชาติ (NT) ด้านค้านวณ เพิ่มขึน จากปกี ารศึกษาทผี่ ่านมารอ้ ยละ 3 ขนึ ไป 3.1.5 ผเู้ รียนในระดบั ชันประถมศึกษาปที ่ี 6, มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 และมธั ยมศกึ ษาปีที่ 6 มผี ลสมั ฤทธิร์ ะดบั ชาติ (O-NET) เพม่ิ ขนึ จากปีการศกึ ษาที่ผา่ นมาร้อยละ 3 ขนึ ไป 3.1.6 ครสู ามารถผลิตสอ่ื /นวัตกรรมการจดั การเรยี นการสอนไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
4 3.2) ด้านคณุ ภาพ 3.2.1 ผู้เรียนโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ทกุ ระดบั ชนั ในปีการศึกษา 2563 3.2.2 ครผู ูส้ อนในกลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จา้ นวน 5 คน 3.2.3 ผลสัมฤทธร์ิ ะดับ (NT, O-NET) เพิ่มขึนจากปกี ารศกึ ษาที่ผ่านมาร้อยละ 3 ขนึ ไปของทกุ ชัน 4. ตัวช้ีวัดความสาเรจ็ / วิธกี ารประเมิน / เคร่อื งมอื การประเมินผลการปฏบิ ตั ิงาน ตวั ช้ีวัดผลสาเร็จ วธิ กี ารประเมิน เคร่ืองมือท่ใี ช้ 1. มีระบบการนเิ ทศ ก้ากบั ติดตามงาน 1. นิเทศ ก้ากบั ติดตามงาน 1.แบบนิเทศการสอน 2. มีระบบการบรหิ ารงานโดยใช้ ICT 1. นิเทศ กา้ กบั ตดิ ตามงาน 1.แบบนิเทศการสอน 2. สา้ รวจความพงึ พอใจ 2.แบบประเมินความพึงพอใจ 3. มกี ารวางแผนการพฒั นางานวิชาการที่ 1. ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ 1.แผนการจัดการเรียนการสอน เนน้ คุณภาพของผู้เรียนทุกกลมุ่ เป้าหมาย ของครผู ู้สอน 2.แบบนเิ ทศการสอน อยา่ งเปน็ รูปธรรม 4. มีการก้ากับติดตามประเมินผลการ 1. นิเทศ ก้ากับ ติดตามงาน 1.แบบนิเทศการสอน บริหารและการจดั การศึกษา 5. มีการใช้ระบบการประกนั คุณภาพ 1.ผลการทดสอบระดบั ชาติ 1.แบบทดสอบระดบั ชาติ ภายในเพอื่ ยกระดับคุณภาพการจัด (NT, O-NET) (NT, O-NET) การศกึ ษาให้ดียง่ิ ขนึ 2.ตรวจสอบการเปรียบเทยี บ 2.ตารางการเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธ์ิ ผลสมั ฤทธ์ิ 6. ครูรอ้ ยละ 100 มีการกา้ หนดเปา้ หมาย 1. ตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ 1.แผนการจัดการเรียนการสอน คุณภาพผู้เรยี นทงั ด้านความรูท้ ักษะ ของครผู ู้สอน 2.แบบนเิ ทศการสอน กระบวนการ สมรรถนะ และคุณลกั ษณะ 2.นิเทศการจัดการเรียนร้ใู นชัน ท่ีพงึ ประสงค์ เรียน 7. ครรู อ้ ยละ 100 มีการวิเคราะหผ์ ้เู รียน 1. ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ 1.แผนการจัดการเรยี นการสอน เป็นรายบคุ คลและใช้ขอ้ มูลในการวาง ของครผู สู้ อน 2.แบบนิเทศการสอน แผนการจดั การเรยี นรู้เพอื่ พัฒนา 2.นเิ ทศการจัดการเรียนร้ใู นชนั 3.แบบบันทกึ การวเิ คราะห์ผู้เรยี น ศกั ยภาพของผู้เรียน เรยี น เปน็ รายบุคคล (CAR) 8. ครรู ้อยละ 100 ออกแบบและการจัดการ 3.ตรวจสอบตารางการการ เรียนรทู้ ่ีตอบสนองความแตกตา่ งระหวา่ ง วเิ คราะห์ผ้เู รยี นเป็นรายบคุ คล บคุ คลและพฒั นาการทางสตปิ ญั ญา (CAR) รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
5 ตวั ชี้วัดผลสาเร็จ วธิ กี ารประเมิน เครื่องมอื ท่ใี ช้ 1.แบบนเิ ทศการสอน 9. ครูรอ้ ยละ 100 มีการวัดและ 1. นิเทศ กา้ กบั ตดิ ตามงาน 2.แบบประเมินความพึงพอใจ ประเมนิ ผลทีม่ ่งุ เนน้ การพัฒนาการเรยี นรู้ 2. สา้ รวจความพึงพอใจ 1.แบบนิเทศการสอน 2.แบบทดสอบก่อน-หลงั ของผเู้ รยี นดว้ ยวิธีการท่ีหลากหลาย ให้ ค้าแนะนา้ ค้าปรกึ ษาและแก้ไขปญั หา ให้แก่ผู้เรียนทงั ดา้ นการเรยี นและคณุ ภาพ ชวี ิตด้วยความเสมอภาค 10. ครรู อ้ ยละ 100 มกี ารศกึ ษาวจิ ัยและ 1. นิเทศ ก้ากับ ตดิ ตามงาน พัฒนาการจัดการเรียนรใู้ นวชิ าท่ีตน 2. ผลการวจิ ัย รับผดิ ชอบและใช้ผลในการปรับการสอน 5. ผเู้ ข้าร่วมโครงการ จ้านวนเปา้ หมาย 820 คน 829 คน จ้านวนผู้เขา้ รว่ มโครงการ / กิจกรรม ทังหมด 820 คน แบ่งเปน็ 9 คน 9 คน - พฒั นาผลสมั ฤทธิ์การเรยี นรวู้ ชิ าคณติ ศาสตร์ คน 829 - วิจัยเพ่อื การเรยี นการสอนของกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ - พัฒนาสื่อ นวตั กรรมการศึกษา - ความเป็นเลิศทางด้านคณิตศาสตร์ 6. งบประมาณโครงการ จ้านวนเงินโครงการ 40,652.- บาท ใช้ไปจา้ นวนเงิน 28,695.- บาท คงเหลือ 11,957.- บาท 7. สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามวตั ถปุ ระสงค์ ที่ วัตถุประสงคข์ อง สภาพความสาเร็จ ผลการการดาเนนิ งาน โครงการ/กิจกรรม บรรลุ ไมบ่ รรลุ 1 เพือ่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ ผลการเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิ พบวา่ ทางการเรียนของ 1. ร้อยละของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรยี นใน ภาพรวม มีผลสัมฤทธข์ิ องปกี ารศึกษา 2563 สูงกวา่ ปี นักเรียนในกลมุ่ สาระ การศึกษา 2562 อยู่ ร้อยละ 20.75 คณติ ศาสตร์ 2.ร้อยละของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นของนกั เรียนระดับ 2 เพ่ือสง่ เสริมใหค้ รูนา 2.00 ขนึ ไป มผี ลสมั ฤทธ์ขิ องปกี ารศึกษา 2563 สูงกวา่ ปี การศกึ ษา 2562 อยู่ ร้อยละ 19.37 กระบวนการวิจัยไป แก้ปัญหาในการจดั การ เรยี นการสอนในชน้ั เรียน รายงานโครงการกลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
6 ที่ วตั ถปุ ระสงคข์ อง สภาพความสาเรจ็ ผลการการดาเนนิ งาน โครงการ/กจิ กรรม บรรลุ ไมบ่ รรลุ 3 เพือ่ สง่ เสรมิ ให้ครูพัฒนา 3. รอ้ ยละของผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรยี นระดบั สอ่ื และนวตั กรรมในการ 3.00 ขนึ ไป มผี ลสัมฤทธข์ิ องปีการศึกษา 2563 สูงกว่า ปี จัดการเรียนการสอน การศึกษา 2562 อยู่ ร้อยละ 21.49 4. ครมู กี ระบวนการจัดการเรยี นรู้ในชันเรยี นทห่ี ลากหลายมาก ขนึ เชน่ การจดั ท้าสือ่ จากโปรแกรมตา่ ง ๆ จากระบบออนไลน์ จากส่ือเทคโนโลยีต่าง ๆ ฯลฯ 5. ครูมีการพฒั นาตนเองโดยการหาเทคนคิ การจดั กิจกรรมการ เรียนรู้ เช่น การจดั การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) การเรียนรูแ้ บบ (Active Learning) เป็นต้น 4 เพอื่ ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนมงุ่ เน่อื งจากมีโรคระบาดจึงไม่สามารถนา้ นักเรียนเข้ารว่ มการแข็ง สู่ความเป็นเลิศทาง ขันกิจกรรมตา่ ง ๆ เพอื่ สร้างประสบการณแ์ ละพฒั นาตนเองให้มี วชิ าการ ความเปน็ เลิศทางวชิ าการได้ แตท่ างกลุ่มสาระฯได้แก้ปญั หา โดยจัดกิจกรรมการเรียนรใู้ นรปู แบบต่าง ๆ และวิเคราะหผ์ ล โดยกลุ่ม PLC 8. สรุปผลการดาเนนิ งานตามตัวช้ีวัดความสาเร็จของโครงการ ท่ี ตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็ ของ สภาพความสาเรจ็ ผลการการดาเนนิ งาน โครงการ บรรลุ ไมบ่ รรลุ 1 มรี ะบบการนิเทศ ก้ากับ มกี ารนเิ ทศ ติดตาม การจดั การเรยี นรู้ของครผู สู้ อน โดย คู่บัดดี ติดตามงาน หัวหน้ากลมุ่ สาระฯ ผบู้ ริหาร และศกึ ษานิเทศกจ์ าก สพป. เชียงใหม่ เขต 6 2 มีการใช้ระบบการ กลุ่มสาระฯได้กา้ หนดค่าเป้าหมายของผลสัมฤทธก์ิ ลมุ่ สาระฯคอื ประกันคุณภาพภายใน มีผลสมฤทธิท์ างการเรยี นระดบั ดี ขนึ ไปรอ้ ยละ 65 และผลท่ีได้ เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพ อยูท่ รี่ อ้ ยละ 52.48 การจดั การศกึ ษาให้ดี ยง่ิ ขึน 3 ครรู ้อยละ 100 - ครูผูส้ อนทุกคนในกลุม่ สาระฯไดจ้ ัดทา้ หลักสตู รการจดั การ มกี ารก้าหนดเป้าหมาย เรยี นการสอน ประกอบดว้ ย โครงสรา้ งรายวิชา หนว่ ยการ คุณภาพผู้เรียนทังดา้ น เรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรียน รวมถงึ แบบ ความรทู้ ักษะ วัดและประเมนิ ผลผ้เู รียนกอ่ น-หลงั เป็นต้น กระบวนการ สมรรถนะ - ครทู กุ คนในกลุ่มสาระฯได้รับการนเิ ทศ กา้ กบั ติดตาม อย่าง และคุณลกั ษณะท่พี ึง สม่้าเสมอ ในรูปแบบ PLC ประสงค์ รายงานโครงการกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563
7 ท่ี ตัวชีว้ ัดความสาเร็จของ สภาพความสาเรจ็ ผลการการดาเนนิ งาน โครงการ บรรลุ ไมบ่ รรลุ 4 ครรู อ้ ยละ 100 มีการ - ครทู กุ คนในกลุ่มสาระฯได้วเิ คราะห์ผู้เรยี นทุกคนท่ี วิเคราะหผ์ ูเ้ รียนเป็น รับผิดชอบในการจดั การเรียนรแู้ ละรายงานผลในรูปแบบ รายบุคคลและใช้ขอ้ มูล การรายงานวเิ คราะหผ์ ูเ้ รยี นรายบุคคล (CAR) ในการวางแผนการ - ครผู ู้สอนในกล่มุ สาระได้จดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ของ ครูผูส้ อน จัดการเรียนร้เู พอ่ื - กลมุ่ สาระฯ ได้จดั ทาชมุ ชนแห่งการเรยี นรูใ้ นรปู แบบ พฒั นาศกั ยภาพของ กระบวนการของ PLC ทุกวันพฤหสั บดี คาบท่ี 7-8 ของทกุ ผู้เรียน สปั ดาห์ 5 ครูรอ้ ยละ 100 - ครทู กุ คนในกลุ่มสาระฯได้วิเคราะห์ผู้เรียนทกุ คนที่ ออกแบบและการจัดการ รับผิดชอบในการจดั การเรยี นรู้และรายงานผลในรปู แบบ เรยี นรทู้ ี่ตอบสนองความ การรายงานวิเคราะห์ผ้เู รยี นรายบุคคล (CAR) - ครูผูส้ อนทกุ คนในกล่มุ สาระฯไดจ้ ดั ท้าหลักสูตรการจดั การ แตกต่างระหว่างบุคคล เรยี นการสอน ประกอบด้วย โครงสร้างรายวิชา หน่วยการ และพฒั นาการทาง เรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรยี น รวมถงึ แบบ สติปญั ญา วดั และประเมินผลผเู้ รยี นกอ่ น-หลงั เป็นต้น - ครูทุกคนในกล่มุ สาระฯไดร้ บั การนเิ ทศ ก้ากับ ติดตาม อยา่ ง สม่้าเสมอ ในรปู แบบ PLC 6 ครูร้อยละ 100 มีการวดั - ครูผสู้ อนทุกคนในกลมุ่ สาระฯไดจ้ ัดทา้ หลักสูตรการจดั การ และประเมนิ ผลทม่ี ุ่งเน้น การพฒั นาการเรยี นรขู้ อง เรียนการสอน ประกอบดว้ ย โครงสรา้ งรายวชิ า หนว่ ยการ ผเู้ รยี นดว้ ยวธิ ีการที่ หลากหลาย ให้ค้าแนะนา้ เรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ การวิเคราะหผ์ เู้ รยี น รวมถึงแบบ ค้าปรึกษาและแก้ไขปัญหา ให้แกผ่ ู้เรียนทงั ด้านการ วดั และประเมนิ ผลผเู้ รียนกอ่ น-หลัง เป็นต้น เรียนและคุณภาพชีวติ ด้วย ความเสมอภาค - การจดั ท้าแบบทดสอบ เพอ่ื วัดและประเมินผลการจดั การ 7 ครรู อ้ ยละ 100 มี เรียนร้ขู องครผู สู้ อนทุกคนในกลมุ่ สาระฯ จะวดั ตามมาตรฐาน การศึกษาวิจยั และ พัฒนาการจดั การ ตวั ชีวดั ในระดับชันนัน ๆ ทไ่ี ดจ้ ัดการเรียนรู้ และมกี ารวัด 2 เรยี นรใู้ นวชิ าท่ตี น รับผดิ ชอบและใช้ผลใน แบบ คอื ปรนยั (ตัวเลอื ก เชงิ ซ้อน แบบสัมพนั ธ)์ และอัตนยั การปรบั การสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นส้าคญั ครูกลมุ่ สาระฯได้ร่วมกนั วิเคราะหถ์ งึ ปญั หาทผ่ี า่ นมา พบว่า ผูเ้ รียน สว่ นใหญ่มีเจคตใิ นดา้ นลบตอ่ วิชาคณติ ศาสตร์ ทางกลมุ่ สาระฯจงึ เห็นควรท่ีจะจัดท้าวิจยั รว่ มกันทังกลุ่ม เพื่อหาแนวทางในการแก้ไข ซ่งึ สรปุ ได้ว่า ไดจ้ ดั ทา้ วจิ ยั เรื่อง การศกึ ษาประสทิ ธิผลการจัดการ เรียนรูร้ ายวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการชุมนุมการเรียนร้ทู าง วชิ าชพี ของกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ และแบ่งหน้าทใี่ หค้ รทู กุ คน โดยเน้นที่ วชิ าคณติ ศาสตร์พนื ฐาน รายงานโครงการกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
8 ท่ี ตวั ชี้วัดความสาเร็จของ สภาพความสาเร็จ ผลการการดาเนนิ งาน โครงการ บรรลุ ไมบ่ รรลุ 8 ผูเ้ รยี นรอ้ ยละ 80 มี ผลสมั ฤทธิร์ วมของผูเ้ รียนอยูท่ ่รี อ้ ยละ 67.08 ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น ซง่ึ ไม่ถึงร้อยละ 80 เป็นไปตามเกณฑ์ 9 ผู้เรยี นร้อยละ 90 ผา่ น ผลการประเมินสมรรถนะสา้ คัญของนกั เรียนของ ปีการศกึ ษา 2563 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ เกณฑก์ ารประเมิน รอ้ ยละของนกั เรียนที่มผี ลการประเมนิ ดีเย่ียม ขนึ ไป อยทู่ ่ีร้อยละ 32.32 ร้อยละของนกั เรียนทีม่ ีผลการประเมิน สมรรถนะที่ส้าคัญตาม ดี ขึ้นไป อยู่ท่รี ้อยละ 86.46 และรอ้ ยละของนกั เรียนท่ีมี ผลการประเมนิ ผ่าน ขึนไป อยู่ทีร่ อ้ ยละ 99.63 หลักสูตร ในระดบั ดีขึน ผลการประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงคข์ องนักเรียนของ ไป ปกี ารศกึ ษา 2563 กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ร้อย ละของนกั เรยี นท่ีมีผลการประเมิน ดีเยย่ี ม ขนึ ไป อย่ทู ่ีร้อย 10 ผ้เู รยี นรอ้ ยละ 90 ขนึ ไป ละ 57.07ร้อยละของนกั เรียนทม่ี ีผลการประเมนิ ดี ขึนไป ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ อยู่ทรี่ อ้ ยละ 92.32 และรอ้ ยละของนักเรียนท่มี ผี ลการ คณุ ลกั ษณะอันพึง ประเมิน ผา่ น ขน้ึ ไป อยทู่ รี่ ้อยละ 100.00 ประสงคต์ ามหลกั สตู ร 9. ผลการประเมนิ โครงการ / กิจกรรม 9.1 ผลการประเมินสมรรถนะส้าคัญของนักเรียนของปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมิน ดีเย่ียม ขนึ ไป อยู่ที่ร้อยละ 32.32 ร้อยละของนกั เรียนที่มี ผลการประเมิน ดี ขึนไป อย่ทู ่ีรอ้ ยละ 86.46 และร้อยละของนักเรียนท่มี ีผลการประเมิน ผ่าน ขนึ ไป อย่ทู ี่รอ้ ย ละ 99.63 9.2 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนของปีการศึกษา 2563 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมิน ดีเย่ียม ขึนไป อยู่ทีร่ ้อยละ 57.07รอ้ ยละของนักเรียนที่มี ผลการประเมิน ดี ขนึ ไป อยู่ทรี่ ้อยละ 92.32 และร้อยละของนักเรียนที่มผี ลการประเมิน ผา่ น ขึนไป อยูท่ ี่รอ้ ย ละ 100.00 9.3 ครกู ลุ่มสาระฯได้ร่วมกนั วิเคราะหถ์ ึงปัญหาทีผ่ ่านมา พบว่า ผเู้ รียนส่วนใหญ่มเี จคตใิ นด้านลบต่อวชิ า คณติ ศาสตร์ ทางกลุม่ สาระฯจึงเหน็ ควรท่ีจะจดั ท้าวิจยั ร่วมกนั ทงั กลุ่ม เพื่อหาแนวทางในการแก้ไข ซง่ึ สรปุ ได้ว่า ได้จัดทา้ วิจัยเร่ือง การศึกษาประสทิ ธิผลการจัดการเรียนร้รู ายวิชาคณติ ศาสตร์ โดยใชก้ ระบวนการชุมนุมการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ และแบ่งหน้าท่ีใหค้ รทู ุกคน โดยเน้นท่ีวชิ าคณิตศาสตรพ์ ืนฐาน รายงานโครงการกล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563
9 9.4 ครูทุกคนในกลุม่ สาระฯได้รบั การนิเทศ ก้ากับ ติดตาม อย่างสม่้าเสมอ ในรูปแบบ PLC และมีการ นิเทศ ติดตาม การจัดการเรยี นรู้ของครูผู้สอน โดย คู่บดั ดี หวั หนา้ กลุ่มสาระฯ ผบู้ ริหาร และศึกษานิเทศกจ์ าก สพป. เชยี งใหม่ เขต 6 9.5 กลมุ่ สาระฯได้ก้าหนดค่าเป้าหมายของผลสัมฤทธิ์กลุม่ สาระฯ คือ มีผลสมฤทธิท์ างการเรยี นระดับ ดี ขึนไปร้อยละ 65 และผลทไี่ ด้ อย่ทู ี่ รอ้ ยละ 52.48 9.6 ครูผู้สอนทุกคนในกลุ่มสาระฯได้จัดท้าหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย โครงสร้าง รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรียน รวมถึงแบบวัดและประเมินผลผู้เรียน กอ่ น-หลัง เป็นต้น 10. สรปุ ในภาพรวม 10.1 จุดเดน่ ของโครงการ/กิจกรรม - เปน็ โครงการทค่ี วบคุมในด้านการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ซงึ่ ประกอบด้วย การจัดทา้ สอ่ื นวัตกรรม วิจัย รวมถงึ สร้างความเป็นเลิศทางวชิ าการใหแ้ กน่ กั เรยี น - ครูมีความสามัคคีในกลุ่มสาระการเรียนรู้มากขึน และได้ร่วมกันวิเคราะห์ถึงปัญหาท่ีผ่านมา และร่วมกนั หาแนวทางในการแก้ไข 10.2 จดุ ควรพัฒนาของโครงการ/กิจกรรม - การปฏบิ ตั งิ านตามแผนที่วางไว้ เนื่องด้านระยะเวลา และโรคระบาด สง่ ผลให้โครงการ/ กจิ กรรม บางสว่ นไมบ่ รรลุตามเปา้ หมายท่ีวางไว้ 10.3 ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนาโครงการ/กิจกรรม - ควรจดั ทา้ ปฏิทินการปฏิบตั ิงานอยา่ งชดั เจน และควรมกี ิจกรรมทส่ี ่งเสริมให้ผเู้ รยี นเกิดการ เรยี นรูใ้ ห้มากขึน มเี จตคติทดี่ ีต่อวชิ าคณติ ศาสตร์ ลงชอื่ ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ (นางสาวปวริศา กา๋ วงคว์ ิน) ตา้ แหน่ง ครู คศ.1 รายงานโครงการกล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
11 กิจกรรม พัฒนาผลสัมฤทธกิ์ ารเรียนรวู้ ิชาคณิตศาสตร์ ระยะเวลาการดาเนนิ งาน ปกี ารศกึ ษา 2563 (พ.ค. 2563 – ม.ี ค.2564) ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ/กิจกรรม ครกู ล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สนองกลยทุ ธ์โรงเรียน ข้อที่ 1, 2 และ 3 สนองกลยทุ ธ์ สพฐ. ข้อท่ี 1, 2 และ 4 สนองมาตรฐานการศึกษาขัน้ พ้นื ฐานของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น ประเดน็ พจิ ารณา 1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผเู้ รยี น มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผ้เู รียนเป็นสาคัญ 1. หลักการและเหตผุ ล รายวิชาคณิตศาสตร์เป็นรายวิชาท่ีมเี นื้อหาสาระค่อนข้างยาก ผูเ้ รยี นส่วนใหญ่มีทักษะกระบวนการ ทางคณติ ศาสตร์ ในระดับควรปรับปรุง ไม่สนใจเรยี น ส่งผลให้ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของกลุ่มสาระไมเ่ ปน็ ไป ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ส่วนหนึ่งอาจเกิดขึ้นเนื่องจากรูปแบบวิธีการจัดการเรียนการสอนของครูไม่มีกิจกรรม การเรยี นการสอนที่หลากหลาย สง่ เสรมิ การพฒั นาทกั ษะความสามารถดา้ นคณิตศาสตรข์ องผู้เรยี น สอดคลอ้ ง กบั ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง พบว่ามาตรฐานด้านการจัดการเรยี นการสอนของครู อยใู่ นระดับ พอใช้ คณะกรรมการประเมินได้ให้ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนของครู กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนารูปแบบจัดการเรียน การสอนคณิตศาสตร์ ที่ส่งเสริมให้ผเู้ รียนได้คน้ คว้า ฝึกฝนด้วยตนเอง เกิดการเรียนรู้เตม็ ตามศักยภาพสาหรับ ผู้เรียนทุกคนที่เรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ และจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรสาหรับผู้เรียนที่มีความสนใจ มีความสามารถด้านคณิตศาสตร์ เน้นกระบวนการคิด การแก้ปัญหา พัฒนาทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ ซ่ึงจะส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตลอดจนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใน รายวชิ าคณติ ศาสตร์ท่ีดีขน้ึ อย่างย่ังยืนต่อไป จากผลการดาเนินงาน/ผลการประเมิน พบว่า (1) ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน ระดับ 3 ข้ึนไป คิดเป็น ร้อยละ 30.99 ซ่ึงตั้งค่าเป้าหมายไวร้ ้อยละ 65 (2) พฒั นาห้องเรยี น โดยสรา้ งบรรยากาศ สื่อ การเรียนรทู้ ีส่ ร้าง ความสนใจใหผ้ ้เู กิดการเรียนรู้ จึงได้จัดทากิจกรรมพฒั นาผลสัมฤทธ์ิด้าน เพือ่ สอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนในห้องเรียนจึงได้จัดกิจกรรม (1) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (NT , O-NET) ให้สอดคล้องกับ ตั ว ชี้ วั ด (2 ) พั ฒ น าผ ล สั ม ฤ ท ธ์ิ ท างก าร เรีย น ร ะ ดั บ 3 ให้ อ ยู่ ใน ร ะ ดั บ ร้อ ย ล ะ 6 5 ร อ งรั บ 2. วัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ 1. เพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของนกั เรยี นในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ รายงานโครงการกลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2563
12 3. เป้าหมาย 3.1) ด้านปริมาณ 1) ผู้เรยี นร้อยละ 65 มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นในระดบั ดีขนึ้ ไป 3.1) ด้านคุณภาพ 1) ผเู้ รยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดบั ดีขึ้นไป 4. ตวั ชว้ี ัดความสาเรจ็ / วธิ ีการประเมิน / เคร่อื งมือการประเมนิ ผลการปฏิบัติงาน ตัวช้วี ัดผลสาเรจ็ วิธกี ารประเมิน เครอื่ งมือที่ใช้ 1. มรี ะบบการนเิ ทศ กากบั ตดิ ตามงาน 1. นเิ ทศ กากับ ติดตามงาน 1.แบบนิเทศการสอน 2. มีการใช้ระบบการประกนั คณุ ภาพ 1. นเิ ทศ กากับ ติดตามงาน 1.แบบนเิ ทศการสอน ภายในเพอื่ ยกระดบั คุณภาพการจดั 2. กระบวนการ PLC 2.แบบบนั ทกึ PLC การศกึ ษาใหด้ ียิง่ ขน้ึ 3. ครูร้อยละ 100 มกี ารกาหนด 1. ตรวจแผนการจดั การ 1.แผนการจัดการเรียนการสอน เปา้ หมายคณุ ภาพผเู้ รยี นท้ังดา้ นความรู้ เรียนร้ขู องครผู สู้ อน 2.แบบนิเทศการสอน ทกั ษะกระบวนการ สมรรถนะ และ 2. กระบวนการ PLC 3.แบบบันทกึ PLC คณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ 4. ครูร้อยละ 100 มกี ารวิเคราะห์ผเู้ รียน 1.ตรวจสอบตารางการการ 1.แบบบันทกึ การวเิ คราะหผ์ ู้เรยี นเปน็ เป็นรายบคุ คลและใช้ข้อมลู ในการวาง วิเคราะหผ์ ูเ้ รียนเป็น รายบคุ คล (CAR) แผนการจัดการเรยี นรเู้ พ่อื พฒั นา รายบุคคล (CAR) 2.แผนการจดั การเรยี นการสอน ศกั ยภาพของผ้เู รยี น 2. ตรวจแผนการจดั การ 3.แบบนิเทศการสอน เรียนรู้ของครผู ู้สอน 4.แบบบันทกึ PLC 3. กระบวนการ PLC 5. มีการใชร้ ะบบการประกันคณุ ภาพ 1.ผลการทดสอบระดบั ชาติ 1.แบบทดสอบระดับชาติ ภายในเพื่อยกระดบั คุณภาพการจดั (NT, O-NET) (NT, O-NET) การศกึ ษาให้ดีย่ิงข้นึ 2.ตรวจสอบการ 2.ตารางการเปรียบเทยี บผลสัมฤทธิ์ เปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ 6. ครูรอ้ ยละ 100 มกี ารวดั และ 1. ตรวจแผนการจัดการ 1.แผนการจัดการเรียนการสอน ประเมนิ ผลทีม่ ่งุ เนน้ การพัฒนาการเรยี นรู้ เรยี นรู้ของครูผูส้ อน 2.แบบนิเทศการสอน ของผ้เู รยี นดว้ ยวธิ ีการที่หลากหลาย ให้ 2. กระบวนการ PLC 3.แบบบันทกึ PLC คาแนะนา คาปรึกษาและแก้ไขปัญหา ให้แก่ผเู้ รียนทัง้ ด้านการเรียนและ คุณภาพชวี ิตดว้ ยความเสมอภาค รายงานโครงการกล่มุ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
13 ตัวชี้วัดผลสาเร็จ วธิ กี ารประเมนิ เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ 8. ผเู้ รียนร้อยละ 80 มีผลสมั ฤทธ์ิ 1.ผลการทดสอบระดับชาติ 1.แบบทดสอบระดับชาติ (NT, O-NET) ทางการเรียนเปน็ ไปตามเกณฑ์ (NT, O-NET) 2.ตารางการเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิ 2.ตรวจสอบการ 9. ผู้เรียนร้อยละ 90 ผ่านเกณฑก์ าร เปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิ์ 1.แบบประเมินสมรรถนะของผ้เู รยี น ประเมนิ สมรรถนะทส่ี าคญั ตามหลกั สูตร ระหว่างค่าเป้าหมายรอ้ ยละ ในระดบั ดขี ึ้นไป 65 รวมกับทุกกลุม่ สาระมี 1.แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึง 10. ผูเ้ รียนรอ้ ยละ 90 ขึ้นไปผา่ นเกณฑ์ ระดบั 3 ขนึ้ ไปร้อยละ 80 ประสงค์ การประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1.ประเมนิ สมรรถนะของ ตามหลักสูตร ผู้เรียน 1. ประเมินคุณลักษณะอัน พงึ ประสงค์ 5. ผ้เู ข้ารว่ มโครงการ 820 คน จานวนเปา้ หมาย 820 คน จานวนผู้เขา้ รว่ มโครงการ / กจิ กรรม ท้ังหมด 6. งบประมาณโครงการ 9,440.- บาท จานวนเงนิ โครงการ 9,440.- บาท ใช้ไปจานวนเงิน บาท คงเหลือ 0.- 7. สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามวตั ถปุ ระสงค์ สภาพความสาเรจ็ ผลการการดาเนนิ งาน บรรลุ ไมบ่ รรลุ ที่ วัตถุประสงคข์ องโครงการ/กจิ กรรม ผลการเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธิ์ พบวา่ 1. เพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของ 1. รอ้ ยละของผลสัมฤทธ์ิ นกั เรยี นในกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ทางการเรียนของนักเรยี นใน ภาพรวม มผี ลสมั ฤทธขิ์ องปี การศึกษา 2563 สูงกวา่ ปี การศึกษา 2562 อยู่ ร้อยละ 20.75 รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563
14 ท่ี วัตถุประสงคข์ องโครงการ/กจิ กรรม สภาพความสาเรจ็ ผลการการดาเนนิ งาน บรรลุ ไมบ่ รรลุ 2.ร้อยละของผลสมั ฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรียนระดับ 2.00 ข้ึนไป มีผลสัมฤทธข์ิ องปี การศึกษา 2563 สูงกว่า ปี การศกึ ษา 2562 อยู่ รอ้ ยละ 19.37 3. ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นของนกั เรยี นระดับ 3.00 ขนึ้ ไป มีผลสมั ฤทธิ์ของปี การศกึ ษา 2563 สูงกว่า ปี การศึกษา 2562 อยู่ ร้อยละ 21.49 4. ครูมีกระบวนการจัดการเรยี นรู้ ในช้ันเรยี นทห่ี ลากหลายมากขึ้น เชน่ การจัดทาสอ่ื จากโปรแกรม ต่าง ๆ จากระบบออนไลน์ จาก สื่อเทคโนโลยตี ่าง ๆ ฯลฯ 5. ครมู กี ารพัฒนาตนเองโดยการ หาเทคนิคการจัดกจิ กรรมการ เรียนรู้ เช่น การจดั การเรยี นรู้ แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) การเรยี นรู้แบบ (Active Learning) เป็นต้น 8. สรุปผลการดาเนนิ งานตามตัวช้วี ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ ท่ี ตวั ชีว้ ัดความสาเรจ็ ของ สภาพความสาเรจ็ ผลการการดาเนนิ งาน โครงการ บรรลุ ไมบ่ รรลุ 1 มีระบบการนิเทศ กากับ มกี ารนิเทศ ตดิ ตาม การจัดการเรยี นรู้ของครผู ูส้ อน โดยคู่ ติดตามงาน บดั ดี้ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ ผูบ้ รหิ าร และศึกษานิเทศก์จาก สพป. เชยี งใหม่ เขต 6 2 มกี ารใชร้ ะบบการประกนั กล่มุ สาระฯไดก้ าหนดค่าเป้าหมายของผลสมั ฤทธ์ิกลมุ่ คณุ ภาพภายในเพื่อ สาระฯคอื มีผลสมฤทธท์ิ างการเรียนระดับ ดี ขึน้ ไปร้อยละ ยกระดบั คณุ ภาพการจดั 65 และผลที่ได้ อยูท่ ี่ร้อยละ 52.48 การศึกษาให้ดยี ่ิงข้นึ รายงานโครงการกล่มุ สาระการเรียนร้คู ณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563
15 ที่ ตวั ชวี้ ัดความสาเร็จของ สภาพความสาเร็จ ผลการการดาเนนิ งาน โครงการ บรรลุ ไมบ่ รรลุ 3 ครูรอ้ ยละ 100 มกี าร - ครผู สู้ อนทุกคนในกลุ่มสาระฯไดจ้ ดั ทาหลกั สูตรการ กาหนดเปา้ หมายคณุ ภาพ จดั การเรียนการสอน ประกอบด้วย โครงสร้างรายวิชา ผู้เรียนท้ังด้านความรทู้ กั ษะ หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ การวิเคราะห์ ผเู้ รยี น รวมถงึ แบบวัดและประเมนิ ผลผูเ้ รียนก่อน-หลัง กระบวนการ สมรรถนะ เปน็ ต้น และคุณลักษณะท่พี งึ - ครทู กุ คนในกลมุ่ สาระฯไดร้ ับการนิเทศ กากับ ติดตาม ประสงค์ อยา่ งสม่าเสมอ ในรูปแบบ PLC 4 ครรู ้อยละ 100 มีการ - ครูทกุ คนในกลุ่มสาระฯได้วิเคราะห์ผู้เรียนทุกคนที่ วิเคราะห์ผเู้ รียนเป็น รับผิดชอบในการจดั การเรียนรู้และรายงานผลใน รายบุคคลและใชข้ ้อมลู ใน รปู แบบการรายงานวเิ คราะหผ์ เู้ รยี นรายบุคคล (CAR) การวางแผนการจดั การ - ครูผู้สอนในกลุ่มสาระไดจ้ ดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ เรยี นรู้เพอ่ื พัฒนาศกั ยภาพ ของครูผูส้ อน - กลมุ่ สาระฯ ได้จดั ทาชุมชนแห่งการเรยี นรใู้ นรปู แบบ ของผู้เรียน 5 มีการใช้ระบบการประกนั กระบวนการของ PLC ทุกวนั พฤหัสบดี คาบที่ 7-8 ของทกุ สัปดาห์ - ครูทกุ คนในกลุ่มสาระฯได้วิเคราะห์ผู้เรยี นทกุ คนที่ คณุ ภาพภายในเพ่อื ยกระดับ รบั ผดิ ชอบในการจดั การเรยี นรู้และรายงานผลใน คุณภาพการจัดการศกึ ษาให้ ดียิ่งข้ึน รปู แบบการรายงานวเิ คราะหผ์ เู้ รียนรายบุคคล (CAR) - ครผู ู้สอนทกุ คนในกลมุ่ สาระฯได้จัดทาหลกั สตู รการ จัดการเรยี นการสอน ประกอบดว้ ย โครงสรา้ งรายวิชา หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ การวิเคราะห์ ผูเ้ รียน รวมถึงแบบวัดและประเมินผลผเู้ รยี นก่อน-หลัง เปน็ ต้น - ครูทุกคนในกลมุ่ สาระฯได้รบั การนเิ ทศ กากบั ติดตาม อย่างสม่าเสมอ ในรูปแบบ PLC 6 ครูรอ้ ยละ 100 มีการวดั - ครผู ู้สอนทุกคนในกลุม่ สาระฯได้จดั ทาหลักสูตรการจัดการ และประเมนิ ผลทีม่ งุ่ เนน้ เรยี นการสอน ประกอบด้วย โครงสร้างรายวิชา หน่วยการ เรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ การวิเคราะห์ผเู้ รียน รวมถงึ การพัฒนาการเรยี นรขู้ อง แบบวัดและประเมินผลผเู้ รยี นก่อน-หลัง เปน็ ตน้ ผู้เรียนด้วยวิธกี ารท่ี - การจดั ทาแบบทดสอบ เพอื่ วดั และประเมนิ ผลการจดั การ เรยี นรูข้ องครูผสู้ อนทกุ คนในกล่มุ สาระฯ จะวดั ตามมาตรฐาน หลากหลาย ให้คาแนะนา ตัวชว้ี ัด ในระดบั ช้นั นั้น ๆ ที่ไดจ้ ัดการเรียนรู้ และมีการวัด 2 คาปรึกษาและแก้ไขปญั หา ใหแ้ กผ่ ้เู รียนท้งั ด้านการ เรยี นและคณุ ภาพชีวิตดว้ ย แบบ คอื ปรนยั (ตัวเลอื ก เชิงซอ้ น แบบสมั พนั ธ์) และอัตนัย ความเสมอภาค โดยเนน้ ผ้เู รยี นเป็นสาคญั รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
16 ท่ี ตวั ชี้วัดความสาเรจ็ ของ สภาพความสาเรจ็ ผลการการดาเนนิ งาน โครงการ บรรลุ ไมบ่ รรลุ ครกู ลุ่มสาระฯได้รว่ มกนั วเิ คราะหถ์ ึงปญั หาที่ผา่ นมา 7 ผ้เู รยี นร้อยละ 80 มี พบวา่ ผ้เู รยี นสว่ นใหญ่มเี จคตใิ นดา้ นลบตอ่ วิชา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คณิตศาสตร์ ทางกลุ่มสาระฯจึงเหน็ ควรทจ่ี ะจดั ทาวิจัย เป็นไปตามเกณฑ์ ร่วมกันท้ังกลุม่ เพอื่ หาแนวทางในการแกไ้ ข ซึง่ สรปุ ไดว้ า่ ไดจ้ ัดทา วิจยั เร่อื ง การศึกษาประสทิ ธผิ ลการจดั การ 8 ผเู้ รียนรอ้ ยละ 90 ผา่ น เรยี นรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ โดยใชก้ ระบวนการชุมนุมการ เรียนร้ทู างวิชาชพี ของกลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ เกณฑ์การประเมิน โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ และ สมรรถนะที่สาคัญตาม แบ่งหน้าที่ให้ครูทุกคน โดยเน้นที่วชิ าคณติ ศาสตร์พนื้ ฐาน หลกั สูตร ผลสมั ฤทธริ์ วมของผเู้ รยี นอยทู่ รี่ อ้ ยละ 67.08 ซึง่ ไมถ่ ึงร้อยละ 80 ในระดบั ดีขึน้ ไป 9 ผเู้ รยี นร้อยละ 90 ขึ้นไป ผลการประเมนิ สมรรถนะสาคัญของนักเรยี นของ ปกี ารศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ร้อยละของนักเรยี นท่ีมผี ลการประเมิน ดเี ย่ียม ข้ึนไป อยทู่ ร่ี อ้ ยละ 32.32 ร้อยละของนักเรยี นท่มี ผี ลการ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ประเมิน ดี ขึ้นไป อยูท่ รี่ ้อยละ 86.46 และรอ้ ยละ ตามหลกั สตู ร ของนกั เรยี นท่มี ผี ลการประเมิน ผา่ น ข้ึนไป อยทู่ รี่ อ้ ย ละ 99.63 9. ผลการประเมนิ โครงการ / กิจกรรม 9.1 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญของนักเรียนของปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ร้อยละของนกั เรยี นท่มี ีผลการประเมิน ดีเย่ียม ขึน้ ไป อยทู่ ่ีรอ้ ยละ 32.32 ร้อยละของนักเรยี นที่มี ผลการประเมนิ ดี ขึน้ ไป อยู่ท่ีร้อยละ 86.46 และร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมนิ ผ่าน ขน้ึ ไป อยู่ที่รอ้ ย ละ 99.63 9.2 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนของปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รอ้ ยละของนักเรยี นที่มผี ลการประเมิน ดเี ยี่ยม ขึ้นไป อยู่ท่ีร้อยละ 57.07ร้อยละของนักเรียนท่ีมผี ลการประเมิน ดี ข้ึนไป อยู่ที่ ร้อยละ 92.32 และร้อยละของนักเรยี นทม่ี ีผลการประเมนิ ผา่ น ขึ้นไป อยทู่ ่รี ้อยละ 100.00 9.3 กลมุ่ สาระฯได้กาหนดค่าเป้าหมายของผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระฯ คือ มีผลสมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ ดี ขน้ึ ไปร้อยละ 65 และผลทีไ่ ด้ อยูท่ ี่ ร้อยละ 52.48 รายงานโครงการกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563
17 9.4 ครูผสู้ อนทุกคนในกลุ่มสาระฯได้จัดทาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย โครงสร้าง รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรียน รวมถึงแบบวัดและประเมินผลผู้เรียน ก่อน-หลงั เปน็ ต้น 10. สรปุ ในภาพรวม 10.1 จุดเด่นของโครงการ/กิจกรรม - ครูมีความสามัคคีในกลุ่มสาระการเรียนรู้มากข้ึน และได้ร่วมกันวิเคราะห์ถึงปัญหาท่ีผ่านมา และร่วมกนั หาแนวทางในการแกไ้ ข 10.2 จุดควรพัฒนาของโครงการ/กจิ กรรม - การปฏิบตั ิงานตามแผนท่ีวางไว้ เนื่องด้านระยะเวลา และโรคระบาด สง่ ผลให้โครงการ/ กิจกรรม บางสว่ นไมบ่ รรลุตามเปา้ หมายที่วางไว้ 10.3 ข้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนาโครงการ/กจิ กรรม - ควรจัดทาปฏิทนิ การปฏิบัตงิ านอยา่ งชดั เจน และควรมกี จิ กรรมท่สี ่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นเกิดการ เรียนรู้ใหม้ ากขึน้ มเี จตคติที่ดีตอ่ วชิ าคณติ ศาสตร์ ลงชอื่ ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ (นางสาวปวรศิ า กา๋ วงคว์ ิน) ตาแหนง่ ครู คศ.1 รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2563
18 กิจกรรม วิจยั เพือ่ การเรยี นการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระยะเวลาการดาเนินงาน ปกี ารศกึ ษา 2563 (พ.ค. 2563 – ม.ี ค.2564) ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ/กิจกรรม ครูกลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณติ ศาสตร์ สนองกลยทุ ธโ์ รงเรียน ขอ้ ท่ี 1, 2 และ 3 สนองกลยทุ ธ์ สพฐ. ข้อท่ี 2 สนองมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐานของสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น ประเดน็ พิจารณา 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผูเ้ รยี น มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ 1. หลักการและเหตุผล กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตรไ์ ด้ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนารูปแบบจัดการเรียนการ สอนคณิตศาสตร์ ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นคว้า ฝึกฝนด้วยตนเอง เกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพสาหรับ ผู้เรียนทุกคนที่เรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ และจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรสาหรับผู้เรียนที่มีควา มสนใจ มีความสามารถด้านคณิตศาสตร์ เน้นกระบวนการคิด การแก้ปัญหา พัฒนาทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ ซ่ึงจะส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตลอดจนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใน รายวิชาคณิตศาสตร์ที่ดีข้ึนอยา่ งยง่ั ยืนต่อไป จากผลการดาเนินงาน/ผลการประเมิน พบว่า (1) ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน ระดับ 3 ขึ้นไป คิดเป็น ร้อยละ 30.99 ซ่ึงตั้งค่าเปา้ หมายไว้ร้อยละ 65 (2) พฒั นาหอ้ งเรยี น โดยสรา้ งบรรยากาศ สอื่ การเรียนรทู้ สี่ ร้าง ความสนใจให้ผู้เกิดการเรียนรู้ จึงได้จัดทากิจกรรมวิจัยเพื่อการเรียนการสอนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ เพ่ือสอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรยี นจึงได้จัดกิจกรรม (1) การพัฒนา กระบวนการจดั การเรียนการสอนของครกู ล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ โดยใชก้ ระบวนการชมุ ชนการเรยี นรู้ ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัด เชียงใหม่ รองรับ 2. วัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ 1. เพือ่ ส่งเสริมให้ครนู ากระบวนการวจิ ยั ไปแก้ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรยี น 3. เปา้ หมาย 3.1) ด้านปรมิ าณ 1) ครูรอ้ ยละ 100 นากระบวนการวจิ ยั ไปแก้ปญั หาในการจดั การเรยี นการสอนในช้ันเรียน 3.1) ด้านคุณภาพ 1) ครูสามารถแกป้ ัญหาในการจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563
19 4. ตวั ช้วี ัดความสาเรจ็ / วธิ ีการประเมนิ / เครื่องมอื การประเมินผลการปฏบิ ัติงาน ตวั ชวี้ ัดผลสาเรจ็ วิธีการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ 1. มรี ะบบการนเิ ทศ กากบั ตดิ ตามงาน 1. นิเทศ กากับ ติดตามงาน 1.แบบนเิ ทศการสอน 2. มีการใชร้ ะบบการประกันคณุ ภาพ 1. นเิ ทศ กากับ ตดิ ตามงาน 1.แบบนิเทศการสอน ภายในเพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการจัด 2. กระบวนการ PLC 2.แบบบนั ทึก PLC การศึกษาให้ดีย่งิ ขน้ึ 5. ผู้เขา้ รว่ มโครงการ 9 คน จานวนเป้าหมาย 9 คน จานวนผู้เขา้ รว่ มโครงการ / กิจกรรม ทัง้ หมด 6. งบประมาณโครงการ 0.- บาท จานวนเงนิ โครงการ 0.- บาท ใช้ไปจานวนเงิน 0.- บาท คงเหลือ 7. สรุปผลการดาเนนิ งานตามวัตถปุ ระสงค์ สภาพความสาเรจ็ ผลการการดาเนนิ งาน บรรลุ ไมบ่ รรลุ ที่ วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ/กิจกรรม ผลการเปรยี บเทียบผลสัมฤทธ์ิ พบว่า 1. เพื่อส่งเสริมให้ครนู ากระบวนการวจิ ยั ไป 1. ร้อยละของผลสมั ฤทธ์ิ แกป้ ัญหาในการจัดการเรียนการสอนใน ทางการเรียนของนกั เรยี นใน ช้ันเรียน ภาพรวม มีผลสัมฤทธขิ์ องปี การศกึ ษา 2563 สูงกวา่ ปี การศกึ ษา 2562 อยู่ รอ้ ยละ 20.75 2.รอ้ ยละของผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักเรยี นระดับ 2.00 ขึ้นไป มผี ลสัมฤทธ์ขิ องปี การศึกษา 2563 สงู กวา่ ปี การศกึ ษา 2562 อยู่ รอ้ ยละ 19.37 3. ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นของนักเรยี นระดบั รายงานโครงการกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
20 ที่ วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ/กจิ กรรม สภาพความสาเร็จ ผลการการดาเนนิ งาน บรรลุ ไมบ่ รรลุ 3.00 ข้ึนไป มีผลสัมฤทธขิ์ องปี การศกึ ษา 2563 สงู กวา่ ปี การศกึ ษา 2562 อยู่ ร้อยละ 21.49 4. ครูมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ ในชั้นเรียนทห่ี ลากหลายมากขึ้น เชน่ การจดั ทาสือ่ จากโปรแกรม ต่าง ๆ จากระบบออนไลน์ จาก สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ ฯลฯ 5. ครูมกี ารพัฒนาตนเองโดยการ หาเทคนิคการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ เช่น การจดั การเรยี นรู้ แบบร่วมมือ (Cooperative Learning) การเรียนรู้แบบ (Active Learning) เป็นต้น 8. สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามตัวชีว้ ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ ท่ี ตัวชีว้ ัดความสาเรจ็ ของ สภาพความสาเรจ็ ผลการการดาเนนิ งาน โครงการ บรรลุ ไมบ่ รรลุ 1 มีระบบการนเิ ทศ กากบั มีการนิเทศ ติดตาม การจัดการเรียนร้ขู องครผู ู้สอน โดยคู่ ติดตามงาน บดั ดี้ หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ ผบู้ รหิ าร และศกึ ษานิเทศก์จาก สพป. เชียงใหม่ เขต 6 2 มกี ารใช้ระบบการประกนั กลมุ่ สาระฯไดก้ าหนดคา่ เปา้ หมายของผลสัมฤทธ์กิ ลมุ่ คุณภาพภายในเพื่อ สาระฯคือ มผี ลสมฤทธ์ทิ างการเรียนระดบั ดี ขึ้นไปร้อยละ ยกระดับคณุ ภาพการจัด 65 และผลทไี่ ด้ อยทู่ ่รี อ้ ยละ 52.48 การศกึ ษาใหด้ ียงิ่ ขึน้ 9. ผลการประเมนิ โครงการ / กจิ กรรม 9.1 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญของนักเรียนของปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ร้อยละของนกั เรียนทีม่ ีผลการประเมิน ดเี ยี่ยม ขน้ึ ไป อยทู่ ี่ร้อยละ 32.32 ร้อยละของนักเรียนท่ีมี ผลการประเมิน ดี ขึ้นไป อยทู่ ี่รอ้ ยละ 86.46 และร้อยละของนักเรียนทมี่ ีผลการประเมิน ผ่าน ขึน้ ไป อยทู่ ี่ร้อย ละ 99.63 รายงานโครงการกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563
21 9.2 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรยี นของปีการศกึ ษา 2563 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ร้อยละของนักเรียนท่ีมีผลการประเมิน ดีเยี่ยม ข้ึนไป อยู่ทรี่ ้อยละ 57.07ร้อยละของนักเรียนที่มี ผลการประเมิน ดี ขึ้นไป อยู่ทร่ี ้อยละ 92.32 และร้อยละของนักเรียนที่มผี ลการประเมนิ ผา่ น ขึ้นไป อยูท่ ่ีร้อย ละ 100.00 9.3 ครูกลมุ่ สาระฯได้รว่ มกนั วิเคราะห์ถงึ ปัญหาทผ่ี ่านมา พบว่า ผเู้ รยี นส่วนใหญ่มีเจคตใิ นด้านลบตอ่ วิชา คณติ ศาสตร์ ทางกล่มุ สาระฯจึงเห็นควรทจ่ี ะจดั ทาวิจัยร่วมกันทง้ั กลมุ่ เพือ่ หาแนวทางในการแก้ไข ซึ่งสรุปได้ว่า ได้จัดทา วจิ ัยเรอ่ื ง การศึกษาประสิทธิผลการจัดการเรียนร้รู ายวิชาคณิตศาสตร์ โดยใช้กระบวนการชุมนุมการ เรียนรู้ทางวิชาชีพ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ และแบ่งหนา้ ท่ใี ห้ครทู ุกคน โดยเนน้ ทว่ี ิชาคณิตศาสตรพ์ ้ืนฐาน 9.4 ครูทุกคนในกล่มุ สาระฯได้รับการนิเทศ กากับ ติดตาม อย่างสม่าเสมอ ในรปู แบบ PLC และมีการ นิเทศ ตดิ ตาม การจดั การเรยี นรู้ของครผู ู้สอน โดย คู่บดั ดี้ หัวหน้ากล่มุ สาระฯ ผูบ้ ริหาร และศึกษานเิ ทศก์จาก สพป. เชยี งใหม่ เขต 6 10. สรุปในภาพรวม 10.1 จุดเด่นของโครงการ/กจิ กรรม - เปน็ โครงการทีค่ วบคุมในดา้ นการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ซ่ึงประกอบดว้ ย การจดั ทาสอ่ื นวัตกรรม วิจยั รวมถึงสร้างความเป็นเลิศทางวิชาการให้แก่นกั เรียน - ครูมีความสามัคคีในกลุ่มสาระการเรียนรู้มากข้ึน และได้ร่วมกันวิเคราะห์ถึงปัญหาท่ีผ่านมา และร่วมกันหาแนวทางในการแกไ้ ข 10.2 จุดควรพฒั นาของโครงการ/กิจกรรม - การปฏบิ ัตงิ านตามแผนท่ีวางไว้ เนื่องด้านระยะเวลา และโรคระบาด สง่ ผลให้โครงการ/ กิจกรรม บางสว่ นไม่บรรลุตามเป้าหมายทว่ี างไว้ 10.3 ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นาโครงการ/กิจกรรม - ควรจดั ทาปฏิทนิ การปฏิบตั งิ านอยา่ งชัดเจน และควรมกี จิ กรรมท่สี ง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การ เรยี นรู้ใหม้ ากข้ึน มเี จตคตทิ ดี่ ีต่อวิชาคณติ ศาสตร์ ลงชอ่ื ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ (นางสาวปวริศา กา๋ วงคว์ ิน) ตาแหน่ง ครู คศ.1 รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563
22 กิจกรรม พฒั นาสือ่ และนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน ระยะเวลาการดาเนินงาน ปีการศกึ ษา 2563 (พ.ค. 2563 – มี.ค.2564) ผรู้ ับผิดชอบโครงการ/กิจกรรม ครูกลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ สนองกลยทุ ธ์โรงเรยี น ข้อที่ 1, 2 และ 3 สนองกลยุทธ์ สพฐ. ข้อที่ 1 และ 2 สนองมาตรฐานการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานของสถานศกึ ษา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น ประเดน็ พจิ ารณา 1.1 ผลสมั ฤทธ์ทิ างวิชาการของผูเ้ รียน มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 1. หลักการและเหตผุ ล หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดให้ครูจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็น สาคญั ใหผ้ ้เู รียนไดเ้ รยี นรูด้ ว้ ยตนเอง จากการลงมอื ปฏิบัตกิ จิ กรรมการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนได้พัฒนา อยา่ งเต็ม ศักยภาพ ทั้ง 3 ด้าน คือด้านความรู้ ดา้ นทักษะกระบวนการ และด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ใน การจัดการเรียนรู้ เพ่ือให้ผเู้ รยี นเปน็ ผู้ลงมือปฏบิ ัติดว้ ยตนเองและบรรลุเป้าหมายการเรียนรูท้ ัง้ 3 ด้านอย่างเต็ม ศกั ยภาพนั้นจาเป็นต้อง มีส่ือการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียนและลักษณะเน้ือหาหรือกิจกรรม นัน้ ๆ ด้วย เน่อื งจากส่ือ/ นวัตกรรมที่เหมาะสมและมีประสทิ ธิภาพ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และบรรลุ เปา้ หมายการเรียนรใู้ นเวลา อันรวดเร็ว กลุม่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ได้เลง็ เห็นความสาคัญของการใช้ส่อื / นวัตกรรมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จึงมีการส่งเสริมให้ครูผลิตและพัฒนาสื่อการสอนโดยใช้ โปรแกรม GSP และโปรแกรมทางคณิตศาสตร์อ่ืน ๆ ซึ่งเป็นการใช้นวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อให้สอดคลอ้ ง กับยคุ สมัย จากผลการดาเนินงาน/ผลการประเมิน พบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ระดับ 3 ข้ึนไป คิดเป็น ร้อยละ ๓๐.๙๙ ซึ่งตั้งค่าเป้าหมายไว้ร้อยละ 65 (2) พัฒนาห้องเรียน โดยสร้างบรรยากาศ สื่อ การเรียนรู้ที่ สร้างความสนใจให้ผู้เกิดการเรียนรู้ จึงได้จัดทากิจกรรมพัฒนาสื่อและนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน เพื่อสอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนจึงได้จัดกิจกรรม (1) พัฒนาสื่อในระดับ มัธยมศกึ ษาโดยใชโ้ ปรแกรม GSP (2) พัฒนาส่ือการเรียนรู้ทส่ี อดคล้องกบั ตัวชีว้ ดั ของหลกั สตู ร (3) พัฒนาสอื่ ใน ระดับประถมศกึ ษา เร่ือง เรขาคณติ รองรับ 2. วตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ 1. เพือ่ ส่งเสรมิ ให้ครพู ฒั นาสอ่ื และนวตั กรรมในการจดั การเรียนการสอน รายงานโครงการกลุ่มสาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2563
23 3. เปา้ หมาย 3.1) ด้านปริมาณ 1) ครูรอ้ ยละ 80 มีการพัฒนาส่ือและนวัตกรรมในการจดั การเรยี นการสอน 3.1) ดา้ นคุณภาพ 1) ครพู ฒั นาสอื่ และนวัตกรรมในการจดั การเรยี นการสอนได้อยา่ งหลากหลายและเหมาะสมกบั ผูเ้ รียน 4. ตัวช้วี ัดความสาเร็จ / วธิ ีการประเมนิ / เคร่ืองมือการประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงาน ตวั ชว้ี ัดผลสาเรจ็ วธิ ีการประเมนิ เคร่ืองมอื ที่ใช้ 1. มีระบบการนิเทศ กากับ ตดิ ตามงาน 1. นเิ ทศ กากับ ติดตามงาน 1.แบบนเิ ทศการสอน 2. มกี ารใชร้ ะบบการประกนั คณุ ภาพ 1. นิเทศ กากบั ติดตามงาน 1.แบบนเิ ทศการสอน ภายในเพือ่ ยกระดบั คุณภาพการจัด 2. กระบวนการ PLC 2.แบบบนั ทกึ PLC การศึกษาใหด้ ียงิ่ ขึน้ 3. ครรู ้อยละ 100 มีการกาหนด 1. ตรวจแผนการจัดการ 1.แผนการจัดการเรยี นการสอน เปา้ หมายคณุ ภาพผู้เรียนท้งั ด้านความรู้ เรยี นรขู้ องครผู สู้ อน 2.แบบนิเทศการสอน ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และ 2. กระบวนการ PLC 3.แบบบนั ทึก PLC คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ 5. ผู้เขา้ ร่วมโครงการ 9 คน จานวนเป้าหมาย 9 คน จานวนผเู้ ข้าร่วมโครงการ / กจิ กรรม ทงั้ หมด 6. งบประมาณโครงการ 7,980.- บาท จานวนเงินโครงการ 0.- บาท ใช้ไปจานวนเงิน บาท คงเหลือ 7,980.- 7. สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามวตั ถปุ ระสงค์ สภาพความสาเรจ็ ผลการการดาเนนิ งาน บรรลุ ไมบ่ รรลุ ท่ี วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ/กจิ กรรม ผลการเปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ิ พบว่า 1. เพอื่ ส่งเสริมให้ครูพฒั นาส่อื และ 1. ร้อยละของผลสัมฤทธิ์ นวัตกรรมในการจดั การเรียนการสอน ทางการเรียนของนกั เรยี นใน ภาพรวม มีผลสมั ฤทธ์ิของปี รายงานโครงการกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2563
24 ท่ี วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ/กจิ กรรม สภาพความสาเร็จ ผลการการดาเนนิ งาน บรรลุ ไม่บรรลุ การศึกษา 2563 สูงกวา่ ปี การศึกษา 2562 อยู่ ร้อยละ 20.75 2.รอ้ ยละของผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรียนของนักเรียนระดับ 2.00 ขึน้ ไป มีผลสัมฤทธ์ขิ องปี การศึกษา 2563 สงู กวา่ ปี การศกึ ษา 2562 อยู่ รอ้ ยละ 19.37 3. ร้อยละของผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นของนักเรยี นระดับ 3.00 ขึน้ ไป มีผลสัมฤทธ์ขิ องปี การศกึ ษา 2563 สงู กวา่ ปี การศกึ ษา 2562 อยู่ รอ้ ยละ 21.49 4. ครูมีกระบวนการจัดการเรียนรู้ ในช้ันเรยี นทหี่ ลากหลายมากข้ึน เช่น การจดั ทาสอ่ื จากโปรแกรม ต่าง ๆ จากระบบออนไลน์ จาก ส่ือเทคโนโลยตี า่ ง ๆ ฯลฯ 5. ครมู ีการพัฒนาตนเองโดยการ หาเทคนิคการจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ เช่น การจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมอื (Cooperative Learning) การเรยี นรู้แบบ (Active Learning) เป็นต้น 8. สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามตัวชี้วัดความสาเร็จของโครงการ ท่ี ตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ ของ สภาพความสาเร็จ ผลการการดาเนนิ งาน โครงการ บรรลุ ไม่บรรลุ 1 มีระบบการนเิ ทศ กากับ มีการนเิ ทศ ติดตาม การจัดการเรยี นรูข้ องครผู สู้ อน โดยคู่ ตดิ ตามงาน บดั ด้ี หัวหนา้ กลมุ่ สาระฯ ผ้บู รหิ าร และศกึ ษานเิ ทศก์จาก สพป. เชยี งใหม่ เขต 6 รายงานโครงการกล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2563
25 ท่ี ตัวชวี้ ดั ความสาเรจ็ ของ สภาพความสาเรจ็ ผลการการดาเนนิ งาน โครงการ บรรลุ ไม่บรรลุ กลมุ่ สาระฯไดก้ าหนดคา่ เปา้ หมายของผลสัมฤทธิก์ ลุม่ 2 มีการใช้ระบบการประกนั สาระฯคอื มผี ลสมฤทธิ์ทางการเรียนระดบั ดี ข้นึ ไปร้อยละ 65 และผลท่ีได้ อยู่ทร่ี อ้ ยละ 52.48 คณุ ภาพภายในเพอื่ ยกระดับคณุ ภาพการจดั - ครูผูส้ อนทุกคนในกลุ่มสาระฯได้จดั ทาหลักสตู รการ การศึกษาใหด้ ียง่ิ ขึน้ จดั การเรยี นการสอน ประกอบด้วย โครงสรา้ งรายวชิ า 3 ครรู ้อยละ 100 มีการ หนว่ ยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ ผู้เรยี น รวมถึงแบบวดั และประเมินผลผู้เรียนก่อน-หลัง กาหนดเป้าหมายคณุ ภาพ เป็นต้น ผูเ้ รยี นท้ังดา้ นความรู้ทักษะ - ครูทุกคนในกลุม่ สาระฯได้รับการนิเทศ กากับ ติดตาม อย่างสม่าเสมอ ในรูปแบบ PLC กระบวนการ สมรรถนะ และคณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ 9. ผลการประเมนิ โครงการ / กิจกรรม 9.1 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญของนักเรียนของปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมิน ดีเยี่ยม ข้ึนไป อยู่ท่ีรอ้ ยละ 32.32 ร้อยละของนกั เรียนที่มี ผลการประเมนิ ดี ขนึ้ ไป อยู่ที่รอ้ ยละ 86.46 และร้อยละของนักเรียนที่มีผลการประเมนิ ผ่าน ขนึ้ ไป อยทู่ ี่ร้อย ละ 99.63 9.2 ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนของปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ร้อยละของนักเรียนท่ีมผี ลการประเมิน ดเี ยี่ยม ขน้ึ ไป อยู่ทรี่ ้อยละ 57.07ร้อยละของนักเรียนท่ีมผี ลการประเมนิ ดี ข้ึนไป อยู่ท่ี ร้อยละ 92.32 และร้อยละของนกั เรียนท่ีมีผลการประเมิน ผ่าน ขน้ึ ไป อยู่ท่ีรอ้ ยละ 100.00 9.3 กลุ่มสาระฯได้กาหนดค่าเป้าหมายของผลสัมฤทธ์ิกลุ่มสาระฯ คือ มีผลสมฤทธิท์ างการเรียนระดบั ดี ขนึ้ ไปร้อยละ 65 และผลท่ีได้ อยทู่ ี่ ร้อยละ 52.48 9.4 ครูผูส้ อนทุกคนในกลุ่มสาระฯได้จัดทาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย โครงสร้าง รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรียน รวมถึงแบบวัดและประเมินผลผู้เรียน กอ่ น-หลงั เปน็ ต้น 10. สรปุ ในภาพรวม 10.1 จดุ เด่นของโครงการ/กจิ กรรม - ครูมีความสามัคคีในกลุ่มสาระการเรียนรู้มากข้ึน และได้ร่วมกันวิเคราะห์ถึงปัญหาท่ีผ่านมา และรว่ มกนั หาแนวทางในการแกไ้ ข 10.2 จุดควรพฒั นาของโครงการ/กจิ กรรม รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563
26 - การปฏบิ ัตงิ านตามแผนทว่ี างไว้ เนื่องดา้ นระยะเวลา และโรคระบาด ส่งผลให้โครงการ/ กจิ กรรม บางสว่ นไมบ่ รรลตุ ามเป้าหมายท่วี างไว้ 10.3 ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนาโครงการ/กิจกรรม - ควรจัดทาปฏิทนิ การปฏบิ ตั ิงานอยา่ งชัดเจน และควรมีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการ เรยี นรู้ใหม้ ากขน้ึ มเี จตคติท่ีดีตอ่ วชิ าคณิตศาสตร์ ลงชอื่ ผู้รับผิดชอบโครงการ (นางสาวปวริศา ก๋าวงคว์ ิน) ตาแหนง่ ครู คศ.1 รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2563
27 กจิ กรรม ความเป็นเลิศทางด้านคณติ ศาสตร์ ระยะเวลาการดาเนนิ งาน ปีการศึกษา 2563 (พ.ค. 2563 – ม.ี ค.2564) ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ/กจิ กรรม ครกู ลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ สนองกลยุทธ์โรงเรยี น ขอ้ ท่ี 1, 2 และ 3 สนองกลยุทธ์ สพฐ. ขอ้ ท่ี 1 และ 2 สนองมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานของสถานศกึ ษา มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผ้เู รยี น ประเดน็ พจิ ารณา 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผ้เู รียน มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสาคัญ 1. หลักการและเหตผุ ล หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) เป็นการจัด การศกึ ษาเพ่ือปวงชนทเี่ ปดิ โอกาสใหน้ กั เรียนทุกคนได้เรยี นรูว้ ิชาคณิตศาสตร์อย่างตอ่ เน่อื งและเหมาะสมตลอด ชีวิตและตามศักยภาพ ให้ผู้เรียนเป็นผู้เรียนท่ีมีความรู้ความสามารถทางคณิตศาสตร์เพียงพอที่จะสามารถนา ความรู้ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ทจ่ี าเปน็ ไปพัฒนาคณุ ภาพชีวิตใหด้ ีย่งิ ขึ้น ซึ่งตอ้ งสามารถนาไป เป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ เป็นพื้นฐานสาคัญสาหรับการศึกษาต่อในระดับชั้นที่สูงข้ึนไปและได้ กาหนดให้ครูจัดการเรยี นรู้โดยยึดผเู้ รียนเป็นสาคัญใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรู้ด้วยตนเอง จากการลงมือปฏิบัติกิจกรรม การเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาอย่างเต็ม ศักยภาพ ท้ัง 3 ด้าน คือด้านความรู้ ด้านทักษะ กระบวนการ และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติด้วย ตนเองและบรรลุเป้าหมายการเรยี นรู้ทั้ง 3 ด้านอย่างเต็มศักยภาพ ในการจัดทากิจกรรมในคร้ังนี้ เป็นการจัด กจิ กรรมแบบมีสว่ นรว่ มกับการเรียนร้เู ชงิ รุก เสริมสรา้ งทัศนคตเิ ชงิ บกุ ใหก้ บั รายวชิ าคณติ ศาสตร์ เน้นการเรียนรู้ ผ่านการปฏบิ ตั ิ หรือการลงมอื กระทาซึง่ การเรียนรทู้ ่เี กดิ ขน้ึ เป็นความรู้ท่ีได้จากประสบการณ์ และกระบวนการ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ ่ีผู้เรียนต้องไดม้ ีโอกาสลงมือกระทามากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว จัดกิจกรรม ใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รียนรู้โดยการตอบโต้และคิดวิเคราะห์ปญั หา อกี ท้ังให้ผ้เู รียนไดใ้ ช้กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การ วเิ คราะห์และการสังเคราะห์ ซ่ึงจดั การเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานความรเู้ พอื่ ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีบทบาทหลัก ในการเรยี นรู้ของตวั เองและสร้างองค์ความรู้ใหม่ดว้ ยตวั เอง การฝึกทักษะกระบวนการคิดคานวณเลขได้คล่องแคล่ว รวดเร็วและถูกต้องแม่นยา นับว่ามี ความสาคัญ เพราะในชีวิตประจาวันของมนุษย์ตอ้ งประสบกับปญั หาต่าง ๆ มากมาย มนุษย์จึงต้องมีความรู้ ความสามารถในการคิดคานวณ ซ่ึงเป็นความสามารถขั้นพ้ืนฐานของมนุษย์เพ่ือใหป้ รบั ตัวอยใู่ นสงั คมได้อย่างมี ความสุข ดังน้ัน ความสามารถในการคิดคานวณจึงต้องปลูกฝังให้เกิดข้ึนในตัวของนักเรียน จากเหตุผลและ ความสาคญั ดงั กลา่ ว จงึ ไดท้ ากิจกรรมนีข้ น้ึ จากผลการดาเนินงาน/ผลการประเมิน พบว่ากลุ่มสาระคณิตศาสตรม์ ีผลสัมฤทธ์ิที่ต่ากว่าเปา้ หมาย ท่ีวางไว้และนักเรียนบางคนมีเจตคติที่ไม่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์ จึงได้จัดทากิจกรรมความเป็นเลิศทางด้าน รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ปีการศึกษา 2563
28 คณิตศาสตร์ แต่เพื่อให้โครงการน้ีมีความเข้มแข็ง/ยั่งยืน จึงได้จัดกิจกรรม (1) พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ลูกคิด (2) ปลูกจิตรักคณติ ด้วยกจิ กรรมหรรษา รองรับ 2. วัตถปุ ระสงคโ์ ครงการ 1. เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นมงุ่ สู่ความเป็นเลศิ ทางวิชาการ 3. เป้าหมาย 3.1) ดา้ นปริมาณ 1. ผเู้ รยี นร้อยละ 100 ไดร้ ับการพัฒนาสคู่ วามเป็นเลิศทางวิชาการ 3.1) ดา้ นคณุ ภาพ 1. ผเู้ รียนได้รบั การพฒั นาทางวิชาการตามความถนัดและความสนใจอย่างท่ัวถึง 4. ตวั ชี้วัดความสาเรจ็ / วธิ ีการประเมิน / เครอ่ื งมือการประเมินผลการปฏิบัตงิ าน ตวั ชีว้ ัดผลสาเรจ็ วิธีการประเมนิ เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ 1. มรี ะบบการนิเทศ กากบั ตดิ ตามงาน 1. นเิ ทศ กากบั ตดิ ตามงาน 1.แบบนเิ ทศการสอน 2. มรี ะบบการบริหารงานโดยใช้ ICT 1. นิเทศ กากับ ติดตามงาน 1.แบบนิเทศการสอน 2. สารวจความพึงพอใจ 2.แบบประเมนิ ความพึงพอใจ 3. มกี ารวางแผนการพัฒนางานวิชาการท่ี 1. ตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ 1.แผนการจัดการเรียนการสอน เน้นคุณภาพของผู้เรยี นทุกกล่มุ เป้าหมาย ของครูผู้สอน 2.แบบนิเทศการสอน อย่างเป็นรปู ธรรม 4. มกี ารกากับตดิ ตามประเมนิ ผลการ 1. นิเทศ กากับ ตดิ ตามงาน 1.แบบนิเทศการสอน บริหารและการจัดการศึกษา 5. ผเู้ ข้าร่วมโครงการ 829 คน จานวนเปา้ หมาย 829 คน จานวนผู้เขา้ ร่วมโครงการ / กจิ กรรม ทง้ั หมด บาท 6. งบประมาณโครงการ 23,232.- บาท จานวนเงนิ โครงการ 19,255.- บาท ใช้ไปจานวนเงนิ 3,977.- คงเหลอื รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ปกี ารศึกษา 2563
29 7. สรุปผลการดาเนนิ งานตามวตั ถุประสงค์ สภาพความสาเร็จ ผลการการดาเนนิ งาน บรรลุ ไม่บรรลุ ท่ี วัตถปุ ระสงคข์ องโครงการ/กิจกรรม เนอื่ งจากมโี รคระบาดจงึ ไม่สามารถนา นกั เรยี นเขา้ รว่ มการแข็งขันกิจกรรมตา่ ง ๆ 1. เพอ่ื สง่ เสริมใหน้ กั เรยี นม่งุ สคู่ วาม เพ่ือสรา้ งประสบการณแ์ ละพฒั นาตนเอง เปน็ เลศิ ทางวิชาการ ให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการได้ แต่ทาง กลุ่มสาระฯไดแ้ ก้ปญั หาโดยจัดกจิ กรรม การเรยี นร้ใู นรูปแบบต่าง ๆ และวิเคราะห์ ผลโดยกลุ่ม PLC 8. สรุปผลการดาเนนิ งานตามตวั ช้วี ดั ความสาเร็จของโครงการ ที่ ตัวชี้วดั ความสาเรจ็ ของ สภาพความสาเรจ็ ผลการการดาเนนิ งาน โครงการ บรรลุ ไม่บรรลุ 1 มีระบบการนเิ ทศ กากบั มีการนิเทศ ตดิ ตาม การจัดการเรยี นรู้ของครผู สู้ อน โดยคู่ ตดิ ตามงาน บัดด้ี หัวหน้ากลุ่มสาระฯ ผู้บริหาร และศกึ ษานิเทศก์จาก สพป. เชียงใหม่ เขต 6 2 มีการใชร้ ะบบการประกัน กลุม่ สาระฯได้กาหนดค่าเป้าหมายของผลสมั ฤทธ์ิกล่มุ คุณภาพภายในเพือ่ สาระฯคอื มีผลสมฤทธ์ทิ างการเรียนระดับ ดี ขนึ้ ไปร้อยละ ยกระดบั คณุ ภาพการจัด 65 และผลทไ่ี ด้ อยู่ท่ีร้อยละ 52.48 การศึกษาให้ดยี ่ิงขึ้น 3 ครรู ้อยละ 100 มกี าร - ครูผ้สู อนทกุ คนในกล่มุ สาระฯได้จัดทาหลักสูตรการ กาหนดเป้าหมายคณุ ภาพ จัดการเรยี นการสอน ประกอบดว้ ย โครงสรา้ งรายวิชา ผูเ้ รยี นท้ังดา้ นความรทู้ ักษะ หน่วยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ ผูเ้ รียน รวมถงึ แบบวดั และประเมนิ ผลผู้เรยี นกอ่ น-หลัง กระบวนการ สมรรถนะ เปน็ ต้น และคุณลักษณะทพ่ี ึง - ครทู กุ คนในกลมุ่ สาระฯได้รบั การนเิ ทศ กากบั ติดตาม ประสงค์ อยา่ งสม่าเสมอ ในรปู แบบ PLC 4 ครรู ้อยละ 100 มีการ - ครทู ุกคนในกล่มุ สาระฯได้วิเคราะห์ผู้เรยี นทกุ คนที่ วเิ คราะห์ผู้เรียนเป็น รบั ผิดชอบในการจัดการเรยี นรแู้ ละรายงานผลใน รายบคุ คลและใช้ขอ้ มูลใน รูปแบบการรายงานวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล (CAR) การวางแผนการจดั การ - ครูผู้สอนในกลุ่มสาระได้จดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ เรียนรู้เพอ่ื พัฒนาศักยภาพ ของผูเ้ รียน ของครูผ้สู อน - กลุ่มสาระฯ ได้จัดทาชุมชนแหง่ การเรยี นรูใ้ นรูปแบบ กระบวนการของ PLC ทกุ วนั พฤหสั บดี คาบท่ี 7-8 ของทุกสัปดาห์ รายงานโครงการกล่มุ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
30 9. ผลการประเมนิ โครงการ / กิจกรรม 9.1 ผลการประเมินสมรรถนะสาคัญของนักเรียนของปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ร้อยละของนกั เรยี นที่มีผลการประเมิน ดีเยี่ยม ขนึ้ ไป อยู่ท่ีรอ้ ยละ 32.32 ร้อยละของนกั เรยี นท่ีมี ผลการประเมิน ดี ข้ึนไป อย่ทู ่ีรอ้ ยละ 86.46 และร้อยละของนักเรียนทมี่ ีผลการประเมนิ ผ่าน ขึ้นไป อยทู่ ่ีรอ้ ย ละ 99.63 9.2 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนของปีการศึกษา 2563 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ร้อยละของนักเรยี นที่มีผลการประเมิน ดีเย่ียม ขึ้นไป อยู่ท่ีรอ้ ยละ 57.07ร้อยละของนักเรียนที่มผี ลการประเมิน ดี ข้ึนไป อยู่ที่ ร้อยละ 92.32 และร้อยละของนักเรยี นทมี่ ผี ลการประเมนิ ผ่าน ข้ึนไป อยูท่ ร่ี อ้ ยละ 100.00 9.3 กล่มุ สาระฯได้กาหนดค่าเป้าหมายของผลสมั ฤทธิ์กลมุ่ สาระฯ คือ มีผลสมฤทธทิ์ างการเรียนระดบั ดี ข้นึ ไปร้อยละ 65 และผลทไี่ ด้ อยูท่ ี่ รอ้ ยละ 52.48 9.4 ครูผ้สู อนทุกคนในกลุ่มสาระฯได้จัดทาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย โครงสร้าง รายวิชา หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ การวิเคราะห์ผู้เรียน รวมถึงแบบวัดและประเมินผลผู้เรียน กอ่ น-หลัง เป็นต้น 10. สรุปในภาพรวม 10.1 จดุ เด่นของโครงการ/กิจกรรม - ครูมีความสามัคคีในกลุ่มสาระการเรียนรู้มากข้ึน และได้ร่วมกันวิเคราะห์ถึงปัญหาท่ีผ่านมา และรว่ มกนั หาแนวทางในการแกไ้ ข 10.2 จุดควรพฒั นาของโครงการ/กิจกรรม - การปฏบิ ัตงิ านตามแผนที่วางไว้ เนือ่ งด้านระยะเวลา และโรคระบาด สง่ ผลใหโ้ ครงการ/ กิจกรรม บางสว่ นไม่บรรลตุ ามเป้าหมายทวี่ างไว้ 10.3 ข้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนาโครงการ/กิจกรรม - ควรจัดทาปฏิทินการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน และควรมีกจิ กรรมทส่ี ง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นเกิดการ เรียนรใู้ ห้มากข้ึน มีเจตคติท่ีดีตอ่ วชิ าคณติ ศาสตร์ ลงชื่อ ผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ (นางสาวปวรศิ า กา๋ วงคว์ ิน) ตาแหน่ง ครู คศ.1 รายงานโครงการกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2563
31 ภาคผนวกแนบท้าย หลกั ฐานประกอบการรายงานผลการจดั โครงการ 1) รายละเอยี ดโครงการ/กจิ กรรมและกาหนดการ 2) รายงานการประชมุ PLC 3) ข้อมูลผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ 4) ภาพประกอบการจัดโครงการ/กจิ กรรม รายงานโครงการกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ปกี ารศกึ ษา 2563
1. รายละเอยี ดโครงการ/กจิ กรรม และกาหนดการ
แผนงาน/โครงการ ประจาปีงบประมาณ 2563 กลุ่มงาน บริหารงานวชิ าการ ช่ือโครงการยกระดับคณุ ภาพของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ลักษณะโครงการ : สนองมาตรฐานการศกึ ษา สนองงานตามโครงสรา้ ง อื่น ๆ (ระบ)ุ กลมุ่ บริหารงาน กลมุ่ บริหารงานวิชาการ กลมุ่ งานสง่ เสริมวิชาการ กลมุ่ งานตามนโนยาย กลมุ่ บริหารงานบุคคล กลมุ่ อานวยการ กลุ่มงานอาคารสถานท่ี กลุ่มแผนงานและสินทรัพย์ กลุ่มสง่ เสรมิ กิจการนักเรียน กลมุ่ งานวนิ ัย กลมุ่ บรหิ ารงานประถมศึกษา ลกั ษณะโครงการ : โครงการ/งาน/กจิ กรรม ใหม่ ตอ่ เนื่อง พเิ ศษ ระยะเวลาดาเนนิ งาน : พฤษภาคม ๒๕๖๓ - มนี าคม ๒๕๖๔ ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ : ครูกลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ ๑. นางสาวปวรศิ า ก๋าวงค์วิน ตาแหน่ง ครู คศ.1 ๒. นางสาวรกั ชนก วงษ์ซ่ือ ตาแหน่ง ครู คศ.1 ๓. นางสาวสริ ริ ักณ์ ดวงสิริ ตาแหน่ง พนักงานราชการ ๔. นายธนากร ชานาญ ตาแหน่ง พนักงานราชการ ๕. นางสาวจริญญา เทพอินทร์ ตาแหน่ง พนกั งานราชการ สนองยทุ ธศาสตร์ สศศ. ๑. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับอัตลักษณ์แห่งตนด้วยระบบข้อมูล สารสนเทศทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ ๒. พัฒนา ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถจัดการศึกษาสาหรับเด็กด้วยโอกาสได้ อย่างมีคณุ ภาพ ๓. พฒั นาหลกั สูตร และการจัดการเรยี นรู้อยา่ งหลากหลาย ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
สนองยทุ ธศาสตร์ สพฐ. 1. ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพ่ือความมั่นคงของมนุษย์และของชาติ 2. ด้านการจดั การศึกษาเพอ่ื เพ่ิมความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 4. ดา้ นการสร้างโอกาสในการเขา้ ถงึ บริการการศึกษาทีม่ คี ุณภาพ มมี าตรฐานและลดความเหลย่ี มลา ทางการศกึ ษา สนองมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพผเู้ รยี น ประเด็นพจิ ารณา 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ สนองมาตรฐานคุณภาพการศึกษาโรงเรียน พันธกจิ กลยทุ ธ์ เป้าประสงค์ ตัวช้วี ัดความสาเร็จ 1.พัฒนาระบบการ 1. พัฒนาระบบ 1. สถานศกึ ษามี 2. มรี ะบบการนิเทศ กากับ ติดตามงาน จัดการศึกษาใหม้ ี การบรหิ ารจดั ระบบการบริหาร 13. มกี ารใช้ระบบการประกนั คุณภาพ การศึกษา จดั การทมี่ คี ุณภาพ ภายในเพอื่ ยกระดับคุณภาพการจดั ประสิทธภิ าพ การศกึ ษาใหด้ ยี ่งิ ขนึ 2.พฒั นาและ 2 สง่ เสรมิ 3. ครูสามารถ 16. ครูรอ้ ยละ 100 มกี ารกาหนด ส่งเสรมิ ใหค้ รูเป็น สนบั สนุน ใหค้ รู ปฏิบัติงานตาม เป้าหมายคณุ ภาพผู้เรียนทงั ด้านความรู้ ปฏิบตั ิงานตาม บทบาทหน้าท่ีอย่าง ทกั ษะกระบวนการ สมรรถนะ และ ครมู อื อาชีพ บทบาทหนา้ ท่ี มปี ระสทิ ธิภาพ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ อยา่ งมี 17. ครรู อ้ ยละ 100 มกี ารวิเคราะห์ผ้เู รียน ประสทิ ธภิ าพ เป็นรายบคุ คลและใชข้ อ้ มูลในการวาง แผนการจัดการเรยี นร้เู พื่อพฒั นาศกั ยภาพ ของผู้เรียน 18. ครูรอ้ ยละ 100 ออกแบบและการ จัดการเรยี นรู้ที่ตอบสนองความแตกต่าง ระหวา่ งบคุ คลและพฒั นาการทางสตปิ ัญญา 19. ครูร้อยละ 100 มกี ารวดั และ ประเมินผลทม่ี ่งุ เนน้ การพัฒนาการเรียนรู้ ของผเู้ รียนดว้ ยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย ให้ คาแนะนา คาปรกึ ษาและแก้ไขปญั หาใหแ้ ก่ ผูเ้ รียนทงั ด้านการเรยี นและคณุ ภาพชีวิต ดว้ ยความเสมอภาค 20. ครรู ้อยละ 100 มกี ารศกึ ษาวิจัยและ พฒั นาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตน รับผิดชอบและใช้ผลในการปรับการสอน
พนั ธกจิ กลยทุ ธ์ เปา้ ประสงค์ ตัวช้วี ัดความสาเร็จ 3.พัฒนาและ 3. เร่งรัดพัฒนา 4. ผ้เู รียนมคี ุณภาพ 31. ผเู้ รียนร้อยละ 80 มีผลสมั ฤทธิ์ทางการ สง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนมี คณุ ลักษณะตาม คณุ ภาพผู้เรียน เปน็ ไปตาม เรยี นเปน็ ไปตามเกณฑ์ หลกั สตู รและ อัตลกั ษณ์ของ ใหเ้ ป็นไปตาม มาตรฐานการศึกษา 34. ผู้เรยี นร้อยละ 90 ผา่ นเกณฑก์ าร สถานศึกษา มาตรฐาน ประเมนิ สมรรถนะที่สาคญั ตามหลกั สูตร ในระดบั ดขี ึนไป 35. ผูเ้ รียนรอ้ ยละ 90 ขึนไปผา่ นเกณฑ์ การประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตาม หลกั สตู ร สรปุ ผลการประเมนิ โครงการ วงรอบที่ 1 ผลการประเมนิ ปี 2562 การจัดกิจกรรมรองรับปี 2563 1. ผลสัมฤทธข์ิ องนักเรยี น ระดับ ๓ ขึนไป คดิ เป็น กจิ กรรมท่ี ๑ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ รอ้ ยละ ๓๐.๙๙ ซงึ่ ตังค่าเป้าหมายไว้ร้อยละ ๖๕ ๑. พฒั นาผลสมั ฤทธ์ริ ะดบั ชาติ (NT , O-NET) ให้ 2. พัฒนาหอ้ งเรยี น โดยสรา้ งบรรยากาศ สอ่ื การ สอดคล้องกบั ตัวชวี ัด เรียนรทู้ ี่สรา้ งความสนใจให้ผู้เกิดการเรยี นรู้ ๒. พฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นระดบั ๓ ให้อย่ใู น ระดบั รอ้ ยละ ๖๕ กจิ กรรมท่ี ๒ พัฒนางานวจิ ัย ๑. การพฒั นากระบวนการจัดการเรียนการสอนของ ครูกลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ โดยใช้ กระบวนการชุมชนการเรียนรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community : PLC) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ กจิ กรรมที่ ๓ พัฒนาส่ือ นวตั กรรม ๑.พัฒนาสื่อในระดบั มธั ยมศกึ ษาโดยใช้โปรแกรม GSP 2.พฒั นาส่ือการเรยี นรู้ที่สอดคลอ้ งกบั ตัวชวี ัดของ หลักสตู ร 3. พัฒนาส่อื ในระดบั ประถมศึกษา เร่ือง เรขาคณิต กิจกรรมที่ ๔ ความเปน็ เลิศ ๑. พฒั นาทักษะทางคณติ ศาสตร์โดยใชล้ ูกคิด ๒. ปลกู จติ รักคณติ ด้วยกิจกรรมหรรษา
1.หลกั การและเหตผุ ล พระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแห่งชาติ (ฉบบั ที่ 4 ) พทุ ธศักราช 2542 ไดก้ ลา่ ววา่ หมวด 4 แนวทางการ จัดการศกึ ษา มาตรา 22 การจดั การศึกษาต้องยดึ หลักวา่ ผู้เรียนทกุ คนมีความสามารถเรยี นรูแ้ ละพัฒนาตนเอง ได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ (ราชกิจจานุเบกษา, 2562) สานักรัฐมนตรีและกระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งได้กาหนดไว้ในยทุ ธศาสตรช์ าติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ และทางสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน ได้ตระหนักถึงความสาคัญของ ยุทธศาสตร์ชาติเป็นอย่างยิ่ง เพราะเป็นแนวทางในการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน โดยเฉพาอย่างยิ่งยุทธศาสตร์ ชาติด้านดงั กล่าวเป็นยุทธศาสตร์ที่เน้นการวางรากฐานการพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยข์ องประเทศอย่างเป็นระบบ มุ่งเน้นการพัฒนาและยกระดับคนในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ท่ีดี เก่ง และมีคุณภาพ พร้อมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศไปข้างหน้าได้อย่างเต็มศักยภาพ ซึ่ง”คนไทยในอนาคต จะต้องพร้อม ทังกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อ สังคมและผู้อื่น มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดท่ี ถูกต้อง มีทักษะท่ีจาเป็นในศตวรรษท่ี 21 มีทักษะส่ือสารภาษาอังกฤษและภาษาท่ี 3 และอนุรักษ์ภาษ า ท้องถ่ิน มีนิสัยรักการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต สู่การเป็นคนไทยท่ีมีทักษะสูง เป็นพลวัตร นักคิด ผู้ประกอบการเกษตรยุคใหม่และอื่น ๆโดยมีสัมมาชีพตามความถนัดของตนเอง ” โดยมเี ป้าหมายข้อที่ 2 ผเู้ รียนที่มคี วามสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ศิลปะ ดนตรี กฬี า ภาษา และอื่น ๆได้รับการพัฒนาอย่างเต็มตามศักยภาพ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน, 2560) การจดั การศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขันพืนฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นการจัด กิจกรรมการ เรียนรู้ เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนร้แู ละตวั ชีวดั สมรรถนะทส่ี าคญั ของผเู้ รียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามที่กาหนดไว้ โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสาคัญท่ีสุด เชื่อว่าทุกคนมี ความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ท่ีเกิดกับผู้เรียน กระบวนการเรียนรู้ต้อง ส่งเสริมให้ ผ้เู รยี นสามารถพฒั นาตนเองตามธรรมชาตแิ ละเต็มตามศกั ยภาพ คานึงถึงความแตกต่างบุคคลของ ผ้เู รยี นและ พัฒนาการทางสมอง ความรู้ความสามารถของผู้เรียนแต่ละคนไม่เท่ากัน เน้นความสาคัญทังความรู้ และ คุณธรรม ครูผู้สอนต้องพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้ การออกแบบการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ศักยภาพ และบริบทของผู้เรียน การกาหนดบทบาทของครูผู้สอนและผู้เรียน การใชส้ ื่อ นวัตกรรมประกอบการ เรยี นรู้ท่ี หลากหลาย และการออกแบบการวัดผลประเมนิ ผล เพื่อใหผ้ ้เู รียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ คณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญยิ่งต่อความสาเร็จในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เน่ืองจากคณิตศาสตร์ เป็นสาระวชิ าหลัก(Core Subjects) และชว่ ยให้มนุษย์มีความคิดริเรมิ่ สร้างสรรค์ คิดอยา่ งมีเหตุผล เปน็ ระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างรอบคอบ ถี่ถ้วน ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหา ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถนาไปใช้ในชีวิตจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนีคณิตศาสตร์ยังเป็นเคร่ืองมือในการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และศาสตร์อื่น ๆ อันเป็น รากฐานในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของชาติให้มีคุณภาพและพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้ทัดเทียมกับ นานาชาติ การศึกษาคณิตศาสตร์จึงจาเป็นต้อมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับ สภาพเศรษฐกิจ สังคม และความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็วในยุค โลกาภวิ ฒั น์ (สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั พืนฐาน, 2560)
ทางโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ ได้เล็งเห็นความสาคัญของการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาในรายวิชาคณิตศาสตร์ซ่ึงเป็นรายวิชาที่มีเนือหาสาระค่อนข้างยาก ผู้เรียนส่วนใหญ่มีทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ในระดับควรปรบั ปรุง ไม่สนใจเรียน ส่งผลให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลมุ่ สาระไมเ่ ปน็ ไปตามเกณฑท์ ี่กาหนดไว้ ส่วนหนึง่ อาจเกิดขนึ เนอ่ื งจากรูปแบบวธิ ีการจดั การเรียนการสอนของครู ไม่มีกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย ส่งเสริมการพัฒนาทักษะความสามารถด้านคณิตศาสตร์ของ ผู้เรียน สอดคล้องกับผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม พบว่ามาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอน ของครู อยูใ่ นระดบั พอใช้ คณะกรรมการการประเมินได้ให้ขอ้ เสนอแนะในการพัฒนาการจดั การเรียนการสอน ของครู กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ตระหนักถึงนโยบายของสถานศึกษาและให้ความสาคัญของการ พัฒนารปู แบบจดั การเรยี นการสอนคณติ ศาสตร์ ทสี่ ง่ เสริมให้ผูเ้ รียนได้ค้นคว้า ฝึกฝนดว้ ยตนเอง เกิดการเรียนรู้ เต็มตามศักยภาพสาหรับผ้เู รยี นทกุ คนทเี่ รียนรายวชิ าคณิตศาสตร์ และจัดกิจกรรมเสรมิ หลักสูตรสาหรับผู้เรียน ท่มี คี วามสนใจ มคี วามสามารถด้านคณิตศาสตร์ เน้นกระบวนการคิด การแก้ปญั หา พัฒนาทกั ษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ ซ่งึ จะส่งผลใหผ้ ู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตลอดจนมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาคณติ ศาสตร์ท่ีดขี ึนอย่างย่งั ยนื ตอ่ ไป จากผลการดาเนินงาน/ผลการประเมิน พบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ระดับ ๓ ขึนไป คิดเป็น ร้อยละ ๓๐.๙๙ ซึ่งตังค่าเป้าหมายไว้ร้อยละ ๖๕ (2) พัฒนาห้องเรียน โดยสร้างบรรยากาศ สื่อ การเรียนรู้ท่ี สร้างความสนใจให้ผู้เกิดการเรียนรู้ จึงได้จัดทาโครงการ/กิจกรรมยกระดับคุณภาพของกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ เพ่ือสอดคล้องกับการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในห้องเรียนจึงได้จัดกิจกรรม (๑) ยกระดับผลสัมฤทธิ์ (๒) พัฒนางานวิจัย (๓) พฒั นาสอ่ื นวตั กรรม และ(๔) ความเป็นเลศิ รองรับ เพ่ือใหโ้ ครงการนีมีความเขม้ แข็ง/ ยั่งยืน 2.วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี นของนกั เรียนในกลุม่ สาระคณิตศาสตร์ 2.๒ เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ครนู ากระบวนการวิจัยไปแกป้ ญั หาในการจดั การเรียนการสอนในชันเรียน 2.๓ เพื่อสง่ เสรมิ ให้ครูพัฒนาส่ือและนวตั กรรมในการจัดการเรียนการสอน 2.๔ เพือ่ ส่งเสริมใหน้ ักเรียนมุง่ ส่คู วามเปน็ เลิศทางวิชาการ 3.เปา้ หมาย 3.1 เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ 3.1.1 ผเู้ รียนรอ้ ยละ 65 มีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนในระดับดขี ึนไป 3.1.2 ครรู อ้ ยละ 100 นากระบวนการวิจยั ไปแกป้ ญั หาในการจัดการเรียนการสอนในชนั เรียน 3.1.3 ครูรอ้ ยละ 80 มีการพัฒนาสอ่ื และนวตั กรรมในการจดั การเรยี นการสอน 3.1.4 ผู้เรยี นรอ้ ยละ 100 ได้รับการพฒั นาส่คู วามเปน็ เลิศทางวชิ าการ 3.2 เป้าหมายเชงิ ปรมิ าณ 3.2.1 ผู้เรียนมีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนในระดับดีขึนไป 3.2.2 ครูสามารถแก้ปญั หาในการจดั การเรยี นการสอนในชันเรียนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3.2.3 ครูพัฒนาสื่อและนวัตกรรมในการจัดการเรียนการสอนได้อย่างหลากหลายและเหมาะสมกบั ผู้เรยี น 3.2.4 ผู้เรยี นได้รบั การพฒั นาทางวิชาการตามความถนดั และความสนใจอย่างทว่ั ถึง
4.กิจกรรม/รายละเอยี ดทรพั ยากร/ผู้รับผดิ ชอบ (ตวั อย่าง) โรงเรียนวถิ พี ุทธ ท่ี กจิ กรรม ทรพั ยากรโครงการ ระยะเวลา ผ้รู ับผิดชอบ 9,440.- บาท ตลอดปี 1. พฒั นาผลสมั ฤทธิก์ ารเรยี นรู้วิชาคณติ ศาสตร์ - การศกึ ษา ครกู ลมุ่ สาระการ เรียนรู้คณติ ศาสตร์ 2. วิจยั เพือ่ การเรียนการสอนของกลุ่มสาระการ 7,970.- บาท เรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ทกุ คน 3. พัฒนาส่ือ นวัตกรรมการศึกษา 17,008.- บาท 4. ความเปน็ เลิศทางด้านคณติ ศาสตร์ 5,446.- บาท กจิ กรรมท่ี 1 พฒั นาทักษะทางคณิตศาสตร์ 39,864.- บาท โดยใชล้ ูกคิด กิจกรรมท่ี 2 ปลกู จิตรักคณิตด้วยกิจกรรม หรรษา รวมทงั สิน 5.ทม่ี าของงบประมาณ 39,864.- บาท เงินงบประมาณ 39,864.- บาท - งบอดุ หนุน
6.การประเมนิ ผล ตัวช้วี ัดผลสาเร็จ วิธกี ารประเมนิ เคร่อื งมอื ที่ใช้ 1. มีระบบการนิเทศ กากับ ติดตามงาน 1. นิเทศ กากบั ตดิ ตามงาน 1.แบบนิเทศการสอน 2. มีการใชร้ ะบบการประกันคุณภาพ 1. นิเทศ กากบั ติดตามงาน 1.แบบนิเทศการสอน ภายในเพ่ือยกระดบั คุณภาพการจดั 2. กระบวนการ PLC 2.แบบบนั ทึก PLC การศกึ ษาใหด้ ยี ่ิงขึน 3. ครรู อ้ ยละ 100 มีการกาหนด 1. ตรวจแผนการจดั การ 1.แผนการจดั การเรียนการสอน เปา้ หมายคุณภาพผ้เู รียนทังดา้ นความรู้ เรียนรขู้ องครูผู้สอน 2.แบบนิเทศการสอน ทกั ษะกระบวนการ สมรรถนะ และ 2. กระบวนการ PLC 3.แบบบันทึก PLC คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 4. ครูร้อยละ 100 มกี ารวเิ คราะห์ 1.ตรวจสอบตารางการการ 1.แบบบันทึกการวิเคราะห์ผู้เรยี นเป็น ผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คลและใชข้ ้อมลู ใน วเิ คราะหผ์ ู้เรียนเปน็ รายบุคคล (CAR) การวางแผนการจดั การเรยี นรู้เพ่ือ รายบุคคล (CAR) 2.แผนการจดั การเรียนการสอน พฒั นาศกั ยภาพของผเู้ รียน 2. ตรวจแผนการจัดการ 3.แบบนิเทศการสอน เรยี นรู้ของครผู สู้ อน 4.แบบบนั ทึก PLC 3. กระบวนการ PLC 5. ครูร้อยละ 100 ออกแบบและการ 1. ตรวจแผนการจดั การ 1.แผนการจดั การเรยี นการสอน จดั การเรียนรู้ทต่ี อบสนองความแตกต่าง เรยี นรขู้ องครูผสู้ อน 2.แบบนิเทศการสอน ระหว่างบุคคลและพฒั นาการทาง 2. กระบวนการ PLC 3.แบบบนั ทกึ PLC สติปญั ญา 6. ครูร้อยละ 100 มกี ารวดั และ 1. ตรวจแผนการจัดการ 1.แผนการจดั การเรียนการสอน ประเมินผลทม่ี งุ่ เนน้ การพัฒนาการเรยี นรู้ เรียนรขู้ องครผู สู้ อน 2.แบบนเิ ทศการสอน ของผ้เู รยี นดว้ ยวิธีการทหี่ ลากหลาย ให้ 2. กระบวนการ PLC 3.แบบบนั ทกึ PLC คาแนะนา คาปรึกษาและแกไ้ ขปัญหา ใหแ้ กผ่ ู้เรยี นทังดา้ นการเรียนและ คณุ ภาพชีวติ ดว้ ยความเสมอภาค 7. ครูร้อยละ 100 มีการศกึ ษาวิจัย 1. ตรวจแผนการจดั การ 1.แผนการจัดการเรยี นการสอน และพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ในวชิ าที่ตน เรียนรู้ของครูผสู้ อน 2.แบบนิเทศการสอน รบั ผดิ ชอบและใช้ผลในการปรับการ 2. กระบวนการ PLC 3.แบบบนั ทกึ PLC สอน 8. ผเู้ รียนร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ 1.ผลการทดสอบระดับชาติ 1.แบบทดสอบระดบั ชาติ (NT, O-NET) ทางการเรียนเปน็ ไปตามเกณฑ์ (NT, O-NET) 2.ตารางการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ 2.ตรวจสอบการ เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ ระหวา่ งคา่ เป้าหมายร้อยละ 65 รวมกับทกุ กลุ่มสาระมี ระดบั 3 ขึนไปรอ้ ยละ 80
ตวั ชวี้ ัดผลสาเร็จ วิธีการประเมิน เครอื่ งมือที่ใช้ 1.แบบประเมนิ สมรรถนะของผูเ้ รียน 9. ผู้เรยี นร้อยละ 90 ผา่ นเกณฑ์การ 1.ประเมินสมรรถนะของ 1.แบบประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึง ประเมนิ สมรรถนะที่สาคัญตามหลักสูตร ผูเ้ รยี น ประสงค์ ในระดบั ดขี นึ ไป 10. ผู้เรยี นร้อยละ 90 ขึนไปผา่ นเกณฑ์ 1. ประเมินคณุ ลกั ษณะอัน การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ พงึ ประสงค์ ตามหลักสตู ร 7.ผลทคี่ าดวา่ จะไดร้ บั ๗.1 ผ้เู รยี นมีเจตคตทิ ีด่ ีตอ่ รายวิชาคณิตศาสตร์ ๗.๒ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิและคุณลกั ษณะอันพึงประสงคต์ ามเกณฑข์ องหลักสตู รท่ีสถานศกึ ษากาหนด 7.๓ ครเู ปน็ ครมู ืออาชพี ๗.๔ สถานศกึ ษามมี าตรฐานการประกันคณุ ภาพการศึกษาเป็นที่ยอมรับและน่าเชือ่ ถือ 8.สถานท่ดี าเนนิ การ ภายในสถานศกึ ษา แหล่งเรยี นรนู้ อกสถานศกึ ษา
กิจกรรมท่ี 1 พฒั นาผลสัมฤทธ์ิการเรียนรูว้ ิชาคณติ ศาสตร์ ลกั ษณะโครงการ : สนองมาตรฐานการศึกษา สนองงานตามโครงสร้าง อืน่ ๆ (ระบ)ุ ลักษณะโครงการ : โครงการ/งาน/กจิ กรรม ใหม่ ตอ่ เนื่อง พเิ ศษ ระยะเวลาดาเนนิ งาน : พฤษภาคม ๒๕๖๓ - มนี าคม ๒๕๖๔ ผ้รู ับผิดชอบโครงการ : ครกู ลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ๑. นางสาวปวรศิ า กา๋ วงค์วนิ ตาแหนง่ ครู คศ.1 ๒. นางสาวรกั ชนก วงษซ์ ่อื ตาแหน่ง ครู คศ.1 ๓. นางสาวสิรริ ักณ์ ดวงสริ ิ ตาแหนง่ พนักงานราชการ ๔. นายธนากร ชานาญ ตาแหนง่ พนักงานราชการ ๕. นางสาวจรญิ ญา เทพอนิ ทร์ ตาแหนง่ พนกั งานราชการ สนองยทุ ธศาสตร์ สศศ. ๑. พัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ เหมาะสมกับอัตลักษณ์แห่งตนด้วยระบบข้อมูล สารสนเทศทมี่ ีประสิทธิภาพ ๒. พัฒนา ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาให้สามารถจัดการศึกษาสาหรับเด็กด้วยโอกาสได้ อยา่ งมีคณุ ภาพ ๓. พัฒนาหลักสตู ร และการจดั การเรียนรอู้ ยา่ งหลากหลาย ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนองยุทธศาสตร์ สพฐ. 1. ดา้ นการจัดการศกึ ษาเพอ่ื ความมัน่ คงของมนุษยแ์ ละของชาติ 2. ดา้ นการจดั การศึกษาเพอ่ื เพม่ิ ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ 4. ดา้ นการสร้างโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศึกษาท่มี คี ุณภาพ มมี าตรฐานและลดความเหล่ยี มลา ทางการศกึ ษา สนองมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพผู้เรยี น ประเด็นพจิ ารณา 1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของผู้เรียน มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคญั สนองมาตรฐานคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรียน พันธกจิ กลยุทธ์ เปา้ ประสงค์ ตวั ชี้วัดความสาเร็จ 1.พัฒนาระบบการ 1. พฒั นาระบบการ 1. สถานศกึ ษามี 2. มีระบบการนิเทศ กากบั ติดตาม จัดการศกึ ษาให้มี บริหารจัดการศึกษา ระบบการบริหาร งาน ประสทิ ธภิ าพ จัดการทมี่ คี ุณภาพ 13. มกี ารใช้ระบบการประกันคุณภาพ ภายในเพือ่ ยกระดับคุณภาพการจัด การศึกษาใหด้ ียงิ่ ขึน 2.พัฒนาและ 2 ส่งเสรมิ สนบั สนุน 3. ครสู ามารถ 16. ครรู อ้ ยละ 100 มกี ารกาหนด ส่งเสรมิ ใหค้ รเู ป็น ใหค้ รูปฏิบัติงานตาม ปฏิบตั งิ านตาม เป้าหมายคณุ ภาพผู้เรียนทังดา้ นความรู้ บทบาทหนา้ ทอ่ี ย่างมี บทบาทหนา้ ทีอ่ ย่าง ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และ ครูมืออาชพี ประสทิ ธิภาพ มปี ระสิทธภิ าพ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค์
พันธกจิ กลยทุ ธ์ เป้าประสงค์ ตวั ชว้ี ัดความสาเร็จ 3.พฒั นาและ 3. เรง่ รัดพฒั นา 17. ครูร้อยละ 100 มีการวเิ คราะห์ สง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นมี คุณภาพผู้เรียนให้ คุณลกั ษณะตาม เป็นไปตามมาตรฐาน ผูเ้ รยี นเปน็ รายบุคคลและใช้ข้อมลู ใน หลักสตู รและ อตั ลักษณข์ อง การวางแผนการจดั การเรยี นรู้เพ่ือ สถานศกึ ษา พัฒนาศกั ยภาพของผ้เู รยี น 19. ครูร้อยละ 100 มีการวดั และ ประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการ เรียนร้ขู องผเู้ รียนด้วยวิธกี ารที่ หลากหลาย ให้คาแนะนา คาปรึกษา และแก้ไขปญั หาใหแ้ ก่ผ้เู รยี นทังดา้ น การเรยี นและคุณภาพชวี ิตด้วยความ เสมอภาค 4. ผู้เรยี นมคี ณุ ภาพ 31. ผูเ้ รียนร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ เปน็ ไปตาม ทางการเรียนเปน็ ไปตามเกณฑ์ มาตรฐานการศกึ ษา 34. ผ้เู รียนร้อยละ 90 ผ่านเกณฑก์ าร ประเมนิ สมรรถนะทส่ี าคญั ตาม หลกั สูตร ในระดบั ดขี นึ ไป 35. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 90 ขึนไปผา่ น เกณฑ์การประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึง ประสงคต์ ามหลักสูตร สรปุ ผลการประเมินโครงการ วงรอบท่ี 1 ผลการประเมนิ ปี 2562 การจดั กิจกรรมรองรับปี 2563 1. ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ระดับ ๓ ขนึ ไป คดิ เป็น กจิ กรรมท่ี ๑ ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ รอ้ ยละ ๓๐.๙๙ ซึง่ ตังคา่ เป้าหมายไว้ร้อยละ ๖๕ ๑. พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ระดบั ชาติ (NT , O-NET) ให้ 2. พัฒนาห้องเรียน โดยสร้างบรรยากาศ สื่อ การ สอดคลอ้ งกับตวั ชวี ดั เรยี นร้ทู สี่ ร้างความสนใจให้ผู้เกิดการเรยี นรู้ ๒. พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นระดบั ๓ ใหอ้ ยใู่ น ระดับรอ้ ยละ ๖๕
หลกั การและเหตุผล รายวิชาคณิตศาสตร์เป็นรายวิชาท่ีมีเนือหาสาระค่อนข้างยาก ผู้เรียนส่วนใหญ่มีทักษะกระบวนการ ทางคณิตศาสตร์ ในระดบั ควรปรับปรงุ ไมส่ นใจเรียน ส่งผลให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของกลุม่ สาระไม่เป็นไป ตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ ส่วนหนึ่งอาจเกิดขึนเน่ืองจากรูปแบบวิธีการจัดการเรียนการสอนของครูไมม่ ีกิจกรรม การเรียนการสอนทห่ี ลากหลาย ส่งเสรมิ การพัฒนาทักษะความสามารถด้านคณิตศาสตร์ของผู้เรียน สอดคล้อง กบั ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง พบวา่ มาตรฐานด้านการจัดการเรียนการสอนของครู อย่ใู นระดับ พอใช้ คณะกรรมการประเมนิ ไดใ้ ห้ข้อเสนอแนะในการพฒั นาการจัดการเรยี นการสอนของครู กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ได้ตระหนักถึงความสาคัญของการพัฒนารูปแบบจัดการเรียน การสอนคณิตศาสตร์ ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นคว้า ฝึกฝนด้วยตนเอง เกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพสาหรบั ผู้เรียนทุกคนท่ีเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ และจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรสาหรับผู้เรียนท่ีมีความสนใจ มีความสามารถด้านคณิตศาสตร์ เน้นกระบวนการคิด การแก้ปัญหา พัฒนาทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ ซ่ึงจะส่งผลให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตลอดจนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใน รายวชิ าคณติ ศาสตร์ทีด่ ีขึนอยา่ งย่งั ยืนตอ่ ไป จากผลการดาเนินงาน/ผลการประเมิน พบว่า (1) ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ระดับ ๓ ขึนไป คิดเป็น ร้อยละ ๓๐.๙๙ ซึ่งตังค่าเป้าหมายไว้ร้อยละ ๖๕ (2) พัฒนาห้องเรียน โดยสร้างบรรยากาศ สื่อ การเรียนรู้ที่ สรา้ งความสนใจใหผ้ ูเ้ กิดการเรียนรู้ จงึ ได้จัดทากจิ กรรมพัฒนาผลสัมฤทธ์ิด้าน เพื่อสอดคล้องกับการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนในห้องเรียนจึงได้จัดกิจกรรม (๑) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ระดับชาติ (NT , O-NET) ให้สอดคล้อง กับตัวชีวัด (๒) พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับ ๓ ให้อยู่ในระดับร้อยละ ๖๕ รองรับ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรียนในกลมุ่ สาระคณิตศาสตร์ เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ 1) ผเู้ รียนร้อยละ 65 มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนในระดับดีขนึ ไป เชงิ คณุ ภาพ 1) ผูเ้ รียนมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนในระดบั ดขี ึนไป
กจิ กรรม/รายละเอยี ดทรพั ยากร/ผู้รับผดิ ชอบ (รายละเอยี ดใหช้ ดั เจนในการใชง้ บประมาณ) ท่ี กจิ กรรม ทรพั ยากรโครงการ ระยะเวลา ผู้รบั ผดิ ชอบ ครู จานวน ราคาตอ่ รวม หนว่ ย กลุ่มสาระฯ คณิตศาสตร์ กิจกรรมที่ ๑ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ พ.ค. 63 – วธิ ดี าเนนิ การ ม.ี ค. 64 1.ประชมุ ครูกลมุ่ สาระฯ เพือ่ วเิ คราะห์ พ.ค. และ ต.ค. 63 ถงึ ปัญหาด้านผลสมั ฤทธิข์ องผเู้ รยี น ตลอดปี และวางแผนเพ่ือแกไ้ ขปัญหา การศึกษา 2563 2.จัดกิจกรรมส่งเสรมิ และพฒั นาด้าน พ.ค. – ก.ค. ส.ค. – มี.ค. ผลสัมฤทธ์ขิ องผู้เรียน คอื ตามปฏทิ นิ กิจกรรมท่ี 1.1 พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ วิชาการ ตามปฏิทนิ ระดับชาติ (NT , O-NET) วชิ าการ กจิ กรรมที่ 1.2 พัฒนาผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน 3.ตรวจสอบ นเิ ทศ ติดตามและ ประเมนิ การจัดการเรียนการสอนในชนั เรียน 4.จัดกระบวนการ PLC เพือ่ นาผลจาก ขอ้ 3 มาวิเคราะหแ์ ละแก้ไขรว่ มกัน 1 กิจกรรมที่ 1.1 พัฒนาผลสมั ฤทธิ์ ระดับชาติ (NT , O-NET) วธิ ดี าเนินการ 1.ประชุมครกู ลุ่มสาระฯเพือ่ วางแผน 2.จดั กิจกรรมสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนฝึกการ คดิ วเิ คราะห์ อยา่ งมีเหตผุ ล เพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ดังนี 2.1 วเิ คราะหม์ าตรฐานและตัวชีวัด ของผล NT , O-NET ที่นกั เรียนไมผ่ ่าน 2.2 ศึกษา ค้นคว้า และจัดทา ข้อสอบและส่ือท่นี า่ สนใจ เพ่ือ เตรยี มการจดั การเรยี นใหแ้ ก้ผู้เรียน 3.จดั ติว NT และ O-NET 4. นเิ ทศ ติดตามการจัดการเรยี นการ สอนในชันเรียน เดือนละ 1 (ชว่ งกลางเดอื น)
ท่ี กจิ กรรม ทรพั ยากรโครงการ ระยะเวลา ผูร้ บั ผดิ ชอบ จานวน ราคาตอ่ รวม หน่วย 4.จัดประชุม PLC เดอื นละ 1 ตามปฏิทนิ เพอ่ื แก้ปัญหา (ช่วงปลายเดือน) วชิ าการ วัสดอุ ุปกรณ์ 1. กระดาษ A4 70g Quality 5 ริม 115 575 พ.ค. 63 – 2. หนังสือประกอบการตวิ NT 1 เลม่ 300 300 มี.ค. 64 3. หนงั สือประกอบการตวิ O-NET 3 เล่ม 300 900 2 กิจกรรมที่ 1.2 พฒั นาผลสมั ฤทธท์ิ าง การเรยี น วิธีดาเนนิ การ 1.ประชุมครกู ลมุ่ สาระฯเพื่อวางแผน พ.ค. และ ครู ต.ค. 63 กลุม่ สาระฯ คณิตศาสตร์ 2.วิเคราะหผ์ เู้ รยี นเปน็ รายบุคคล พ.ค. – ก.ค. พร้อมทดสอบก่อนเรยี น และ 3.จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ ต.ค. – พ.ย. 4.ตรวจสอบแผนการจัดการเรยี นรู้ พ.ค. – ก.ค. คณะ นิเทศ ติดตามและประเมินการจัดการ และ ผบู้ ริหาร เรยี นการสอนในชนั เรยี น สถานศกึ ษา ต.ค. – พ.ย. 5.นิเทศ ตดิ ตามการจัดการเรียนการ เดอื นละ 1 และหวั หนา้ สอนในชันเรียน เดือนละ 1 ครัง กลุม่ สาระฯ คณิตศาสตร์ (ชว่ งกลางเดือน) 4.จัดประชุม PLC เดือนละ 1 เพือ่ แกป้ ัญหา (ชว่ งปลายเดือน) 5.รายงานผลการพฒั นา/ผลสมั ฤทธิ์ ก.ย. 63 ครู และ กลุม่ สาระฯ วัสดุอุปกรณ์ ม.ี ค. 64 คณิตศาสตร์ 1. ชดุ เรขาคณิตสาหรบั ครูผู้สอน 5 ชดุ 1,300 6,500 2. ลกู เต๋า พลาสติก 6 ดา้ น 14.5 มม. 10 ลกู 59 590 พ.ค. 63 – 3. กระดาษ A4 70g Quality 5 รมิ 115 575 ม.ี ค. 64 รวมทงั้ สิน้ 9,440 ท่มี าของงบประมาณ 9,440.- บาท 9,440.- บาท เงนิ งบประมาณ - งบอุดหนุน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104