Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการอบรมสัมมนาของ นศ. มร.ชม. ครั้งที่ 1_2564

รายงานการอบรมสัมมนาของ นศ. มร.ชม. ครั้งที่ 1_2564

Published by pavarisa.1450, 2021-05-06 04:46:36

Description: รายงานการอบรมสัมมนาของ นศ. มร.ชม. ครั้งที่ 1_2564

Search

Read the Text Version

ายงานการประชุม/สมั มนา รเร่ืองกา สัมมนาเชิงปฏิบตั กิ ารบคุ ลากรรว่ มผลติ วิชาชพี ครู ภาคเรียนที่ 1 2564ปกี ารศกึ ษา นางสาวปวริศา ก๋าวงคว์ นิ ตาแหน่ง ครู งานเครอื ขา่ ยโรงเรยี น โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สงั กดั สานักงานการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

รายงานการประชมุ /สัมมนา เรอื่ ง การสมั มนาเชงิ ปฏบิ ัติการบคุ ลากรรว่ มผลิตวชิ าชีพครู ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 1. ข้อมลู ทัว่ ไป นางสาวปวริศา ก๋าวงค์วนิ ตาแหน่ง ครู คศ.1 ชือ่ – สกุล หน่วยงาน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ 2. หลกั สูตรหรอื เรือ่ งทเี่ ขา้ ร่วมประชุม/สมั มนา/อบรม “การสมั มนาเชิงปฏิบตั ิการบคุ ลากรร่วมผลิตวชิ าชีพครู ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564” 3. วิทยากรในการประชมุ /สัมมนา/อบรม 1. ผศ.เยย่ี มลักษณ์ อุดาการ คณบดีคณะครุศาสตร์ 2. รศ.ดร.มนตรี แยม้ กสกิ ร ประธานดาเนนิ งาน E-PLC คุรุสภา 4. หน่วยงานทีจ่ ดั ประชุม/สัมมนา/อบรม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่ 5. ระยะเวลาทเ่ี ข้าประชุม/สมั มนา/อบรม วนั ที่ 5 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ.2564 เวลา 13.00 – 16.00 น. 6. งบประมาณทใ่ี ช้ในการประชุม/สัมมนา/อบรม - 7. วัตถปุ ระสงคใ์ นการประชมุ /สัมมนา/อบรม เพ่อื ชีแ้ จงกระบวนการดาเนนิ งานระหวา่ งมหาวิทยาลยั กับโรงเรยี นท่เี ขา้ รว่ มผลิตวชิ าชีพครู ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 ในการผลิตครูในอนาคต 8. สรุปเนอื้ หาของการประชุม/สัมมนา/อบรม 1. ปีการศึกษา 2564 ทางมหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงใหมม่ ีการประสานงานการผลิตนักศึกษารว่ มกับครุ ุ สภาและรว่ มกบั โรงเรียนท่เี ข้าร่วมผลิตวิชาชีพครู ในรปู แบบ E – PLC ซึ่งนกั ศกึ ษาตอ้ งนาไปใช้ในโรงเรยี นท่ี ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพครู 2. การประชมุ ชแ้ี จงแนวทางการดาเนินโครงการ ETHIC – PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITY (E- PLC) 2.1 ขอบข่ายการนาเสนอ เร่ือง ชุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) กับการส่งเสรมิ จรรยาบรรณ วิชาชีพครู เน้นเรอ่ื ง จรรยาบรรณต่อผู้รับบรหิ าร (นักเรียน)

-2- 2.2 Next Generation Education : Four Categories of 21ST – Century Skills : การศึกษายคุ ใหม่ 4 ทักษะเพ่ือการดารงชีวิตในศตวรรษท่ี 21 ดงั นี้ 1) Ways of thinking: ทกั ษะการคิด “ไมร่ ู้วันนี้ วนั หนา้ กห็ าได้” - Creativity, Critical thinking, Problem-solving, Decision-making - Learning 2) Ways of working: เคร่ืองมือในการทางาน “การทางานเป็นทมี ” - Communication - Collaboration 3) Skills for living in the world: ทกั ษะการใช้ชวี ติ ในโลก - Citizenship, - Life and career, - Personal & social responsibility 4) Tools for working: เครอ่ื งมอื ในการทางาน - Information and communications technology (ICT) 2.3 Thailand 4.0 (Smart Industry + Smart City + Smart People) : Creativity + Innovation Smart Thailand 2.4 สรุปการวิจัยของ Michael Barber.2009 ในเรื่องการศกึ ษา ซ่งึ ไดก้ ลา่ วว่า - คุณภาพของระบบการศึกษาไม่มีวนั ทจ่ี ะสูงกว่าคณุ ภาพของครูไปได้ “ครคู อื บคุ คลท่ีจะสามารถ เปล่ียนแปลงนักเรียนได้” - หนทางเดยี วเท่านน้ั ที่จะพัฒนาผลการเรยี นรู้ คือ การพฒั นาการสอน “ดูครูท่เี ก่งดูทก่ี ารสอน ของครู เพราะการสอนทด่ี ีคือหัวใจของครู” - การจดั การเรียนรู้ทีป่ ระสบผลสาเร็จสงู จะตอ้ งทาใหเ้ ดก็ ทุกคนไดม้ โี อกาสเรียนรู้ “การออกแบบ การจดั การเรยี นรใู้ หป้ ระสบผลสาเรจ็ ที่ทว่ั ถงึ นกั เรียนทกุ คน” - ภาวะผู้นาทีเ่ ขม้ แขง็ ระดับโรงเรียนเปน็ ปัจจยั ความสาเรจ็ “ผู้บริหารสถานศึกษาคือหวั ใจหลกั ของปจั จัยความสาเรจ็ ” 2.5 คาสาคญั ในกระบวนการ PLC คือ - ทมี – กลมุ่ ของนกั การศึกษา (Education Personnel Team) - เปา้ หมายการพฒั นา (Focus on Student Learning) - ความร่วมมอื (Collaboration) - การสบื เสาะหาขอ้ เท็จจรงิ ด้วยกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัตกิ าร (Action Research) - การเรียนร้แู ละความสาเรจ็ ของนกั เรียน - ความตอ่ เน่ือง - การปฏิบตั ิท่เี หมาะสมท่ีสุด ดีท่ีสดุ (สาหรับนักเรียน) 2.6 สรา้ งทีม E – PLC ประกอบด้วย - นักศกึ ษาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครู - ครพู เี่ ล้ียง - อาจารย์นิเทศ - ผอู้ านวยการโรงเรียน

-3- - ศกึ ษานิเทศก์ - ครูอาวุโส/ครทู ่ีเคยได้รบั รางวัลจากครุ ุสภา หรอื หนว่ ยงานอน่ื ๆ 2.7 วิเคราะหป์ ญั หาการเรียนรู้ของนกั เรียน - เป้าหมายการพฒั นานกั เรียน - วเิ คราะหจ์ ากรอ่ งรอยชน้ิ งานของนักเรยี น - ดาเนนิ การเพียงหอ้ งเรียนใด หอ้ งเรยี นหนึ่ง - นักศึกษา หน่งึ คน ต่อ หนึ่งหอ้ งเรียน 2.8 ปัญหา PLC ทดี่ ี คือ - ปัญหาทีเ่ ฉพาะเจาะจง สงั เกตได้ วดั และประเมินได้ - ปญั หาทไี่ ม่ใชก่ ารเรยี นรู้เนือ้ หาเฉพาะเรอื่ ง - เปน็ สมรรถนะหรอื ทกั ษะสาคัญท่ตี ิดตัวนักเรยี น - มหี ลักฐานร่องรอบชัดเจน 2.9 ส่งิ ทีน่ ักศกึ ษาต้องปฏบิ ัติในโรงเรียนในเรื่อง E-PLC คอื - ศกึ ษาพฤติกรรมของนกั เรียนในช้ันเรียนใหท้ ว่ั ถึงและครบถว้ น - ตรวจงานและบันทกึ ความกา้ วหนา้ ของนกั เรยี นรายคนเชงิ คุณภาพอย่างเป็นระบบ - เขียนแผนการจดั การเรยี นรู้อยา่ งละเอียด - เตรยี มสือ่ อุปกรณ์การสอน - บูรณาการเทคโนโลยีเพ่อื การเรยี นรู้ - เตรียมเคร่อื งมือวัด ประเมินผล - บนั ทกึ วดี ที ัศนก์ ารสอน มุมกว้าง ตลอดการสอนไมต่ ดั ต่อ - สรุปรายงาน เสนอตามลาดับ 3. กาหนดการของมหาวิทยาลัยราชภฏั เชียงใหม่ - วันที่ 5 พ.ค. 64 สมั มนานักศึกษากอ่ นออกฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564 - ภายในวันที่ 15 พ.ค. 64 จัดทาหนังสอื ถงึ สานักงานเขตพ้นื ที่ เรือ่ ง การส่ง นักศกึ ษาออกฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู - ภายในวนั ท่ี 20 พ.ค. 64 จดั ทาหนังสือถึงสถานศึกษา เรอื่ ง ขอส่งตวั นกั ศกึ ษา เขา้ ฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 - วนั ท่ี 25 พ.ค. 64 นักศกึ ษารับคู่มือฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู บญั ชีลง เวลาการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู และแบบบนั ทกึ การนเิ ทศนักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครูเต็มรูป - สถานศกึ ษากาหนด นกั ศึกษาเขา้ รายงานตัว ณ สถานศึกษา - คณะครุศาสตร์ อบรมเตรียมความพรอ้ มให้นกั ศกึ ษากอ่ นออก แจง้ ใหน้ กั ศึกษา ฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครู ภาคการศกึ ษาที่ 1 ทราบภายหลังปี การศึกษา 2564 - เดือน สงิ หาคม นักศกึ ษาเลือกสถานศึกษาออกฝึกประสบการณ์ วชิ าชพี ครู ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2564

-4- - เดอื น สงิ หาคม สัมมนานกั ศกึ ษาระหวา่ งฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครู ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 (ถ้ามี) - เดือน ตุลาคม สมั มนานกั ศึกษาหลงั ฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 - เดอื น กนั ยายน-ตุลาคม จดั ทาหนังสือถงึ สานกั งานเขตพ้ืนที่ เรอื่ งการส่งนกั ศกึ ษา ออกฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ครู ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 - เดอื น กนั ยายน-ตุลาคม จัดทาหนังสือถงึ สถานศึกษา เร่อื งขอส่งตัวนักศึกษาเข้า ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 - เดือน กันยายน-ตุลาคม นักศึกษาออกฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู ภาคการศึกษาที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 - เดอื น พฤศจิกายน นักศกึ ษาออกฝกึ ประสบการณ์วชิ าชพี ครู ภาคการศึกษาที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564 4. การปฏบิ ัตติ นของนกั ศึกษาเม่อื เข้าสถานศึกษาเพ่ือฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู - ควรแต่งกายดว้ ยชดุ นักศึกษาที่ถูกตอ้ งตามระเบียบมหาวทิ ยาลัย - ติดตอ่ ฝา่ ยวิชาการ แลว้ นาหนงั สือส่งตวั พร้อมบัญชลี งเวลาเขา้ ปฏบิ ัตงิ าน เสนอฝ่ายวิชาการ ของแต่ละสถานศกึ ษา เพือ่ แจ้งการเขา้ ฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชพี ครเู ต็มรปู - นักศกึ ษาทุกคนท่ีเข้าฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู รอเขา้ พบผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา หรือรอเขา้ แถวหนา้ เสาธง หรือแล้วแต่ละสถานศึกษา - นักศึกษาฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู พบครพู เ่ี ล้ียง ครนู ิเทศก็ (ถ้ามี) - เขา้ สอนพร้อมครพู ่ีเลี้ยงตามรายวชิ าและชวั่ โมงที่ได้รบั ผดิ ชอบให้สอนในภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564 5. บทบาทหน้าที่ของนกั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู - ชว่ ยรับนกั เรียนหน้าสถานศึกษา - ช่วยควบคมุ นกั เรียนทาความสะอาดบรเิ วณท่ีแต่ละระดับชนั้ ไดร้ ับผิดชอบ - ชว่ ยควบคุมนักเรียนเข้าแถวเคารพธงชาติ - เข้าสอนตามช่วั โมงทีไ่ ดร้ ับผิดชอบสอน สอนตามแผนการสอน (ควรจดั ส่งแผนการสอนให้ ครูพ่ีเล้ียง หรอื ฝ่ายวชิ าการ หรอื ครูนิเทศก์ ตรวจสอบกอ่ นสอน อยา่ งน้อย 1 สปั ดาห์) - บันทกึ หลังสอนของแต่ละช่วั โมงทเี่ ขา้ สอน - ระหวา่ งวัน ปฏิบัติหน้าท่ที ีไ่ ด้รับมอบหมาย เช่น คมุ นักเรยี นระดบั ชั้นเลก็ ๆ รบั ประทาน อาหารกลางวัน ร่วมกับแมค่ รัวในการทาอาหารกลางวนั เป็นต้น - หลงั โรงเรียนเลกิ ช่วยทาหนา้ ท่ี ส่งนกั เรียนหน้าโรงเรียน - ช่วงเย็น อาจมี คมุ นกั กฬี าฝกึ ซอ้ มกีฬา คมุ นกั เรียนทากิจกรรมฟอ้ นรา ฯลฯ - กลับหอพักหรือท่พี กั อาศัย เตรยี มการสอนในวันต่อไป 6. งานท่ีนกั ศกึ ษาตอ้ งรับผดิ ชอบในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 - แผนการจดั การเรียนรู้ ตามชั่วโมงทส่ี อน (จานวน 8-12 ชว่ั โมง/สัปดาห์) รูปแบบแผนการ จดั การเรียนรูข้ องสถานศกึ ษาหรือรูปแบบแผนการจดั การเรยี นรู้ของแตล่ ะหลกั สตู ร

-5- - แฟ้มสะสมผลงานอิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Portfolio) คู่มอื การจดั ทาแฟม้ สะสมผลงาน อิเล็กทรอนกิ ส์ (e-Portfolio) สามารถศกึ ษาได้จากเวปไซดข์ องศนู ย์ฝกึ ประสบการณว์ ิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ (http://edu.cmru.ac.th/edutc/) - โครงการ พร้อมสรุปรูปเล่ม (ควรสัมพนั ธก์ ับหลักสตู รที่ตนเองกาลังศกึ ษา) หมายเหตุ - ตวั อยา่ ง รปู แบบการจดั ทาแผนการสอน, การจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน และการ จัดทาโครงการ สามารถดูรายละเอยี ดเพ่มิ เติมไดท้ ี่ภาคผนวกในเลม่ คู่มือฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู - แบบบันทกึ การนเิ ทศนักศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครูเต็มรูป (นิเทศนกั ศึกษา จานวน 3 ครงั้ /ภาคการศกึ ษา) - การสง่ แบบบนั ทกึ ฯ ควรใส่ซองพร้อมปดิ ผนึกและประทบั ตราโรงเรียน 9. ประโยชนท์ ี่ได้รบั จากการประชุม/สัมมนา/อบรม 1. การนาแนวทางการ E – PLC มาใช้ในการพฒั นางานในโรงเรียน ซงึ่ เช่ือมโยงกับการพฒั นาทักษะ เพือ่ การดารงชีวติ ในศตวรรษท่ี 21 ของผู้เรียนได้ 2. วางแผนและสามารถจดั ทาปฏิทนิ การปฏบิ ัตงิ านของนักศกึ ษาได้อยา่ งชัดเจน 10. ปญั หา อุปสรรคในการประชุม/สมั มนา/อบรม - ชอ่ งทางการเขา้ ถึงล้งิ การสัมมนาไมช่ ดั เจน 11. ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ - ควรมกี าหนดการและการประสานงานทีช่ ัดเจน ลงชอ่ื ผู้รายงาน (นางสาวปวรศิ า กา๋ วงคว์ นิ ) ครู คศ.1 ความเหน็ ของรองผอู้ านวยการฝา่ ยบรหิ ารงานวิชาการ ลงชอ่ื (นายวเิ ศษ ฟองตา) รองผู้อานวยการฝ่ายบริหารงานวิชาการ

-6– รายงานการประชุม/สัมมนา เรอื่ ง การสัมมนาเชงิ ปฏิบัตกิ ารบุคลากรร่วมผลิตวิชาชีพครู ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 --------------------------------------------------------------- ความเห็นของรองผอู้ านวยการฝ่ายบรหิ ารงานบุคคล ลงชื่อ (นางสุภสั สร ศรสี วัสด์ิ) รองผู้อานวยการฝ่ายบริหารงานบุคคล ความเหน็ ของผู้อานวยการ ลงชือ่ (นายอดศิ ร แดงเรอื น) ผู้อานวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

ภาพผนวก

ภาพประกอบการบรรยาย







งานเครือข่ายโรงเรยี น โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ สานักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook