Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี พ.ศ. 2562 - 2564

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี พ.ศ. 2562 - 2564

Published by pavarisa.1450, 2020-08-27 22:38:12

Description: แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ปี พ.ศ. 2562 - 2564

Search

Read the Text Version

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 หนา้ ก ปี พ.ศ. 2562 – 2564 แผนพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา ปี 2562 - 2564 โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชยี งใหม่ สานกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า ข ปี พ.ศ. 2562 – 2564 โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ อตั ลกั ษณ์ สขุ ภาพดี คณุ ธรรมเดน่ เป็นจิตอาสา เอกลกั ษณ์ อทุ ยานการเรยี นรู้ ปรชั ญา ใฝ่รู้ ส้งู าน สืบสานแนวทางตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ปณธิ าน เปน็ คนดี มีความจงรักภกั ดีต่อชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ คาขวัญ คณุ ธรรมดี มคี วามรู้ สู่วิถีตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สัญลกั ษณ์โรงเรียน พระมหามงกฎุ อกั ษรย่อชอ่ื โรงเรียน ร.ป.ค.31 สปี ระจาโรงเรียน น้าเงิน – เหลือง ต้นไมป้ ระจาโรงเรยี น ตน้ อบเชย สถานทต่ี ั้ง เลขท่ี 99 หมู่ 10 ตา้ บลช่างเคิ่ง อ้าเภอแม่แจม่ จงั หวัดเชียงใหม่ รหสั ไปรษณีย์ 50270 โทรศัพท์ 053-106933 Email : [email protected] Website : http://www.rpk31school.ac.th

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า ก ปี พ.ศ. 2562 – 2564 ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ตามที่ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้จัดท้าแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ (ระยะ 3 ปี) ปีพ.ศ. 2562 – 2564 เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียน โดยมีการก้าหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ของแผนกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่โรงเรียนต้องการแก้ไข และเพื่อรองรับการ กระจายอ้านาจของการบรหิ ารงานมายังสถานศึกษา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้ พิจารณาแล้ว โดยมติท่ีประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ ได้ด้าเนินการประชุมหารือคณะกรรมการสถานศึกษา และคณะครู ได้ให้ความเห็นชอบ และอนุมัติให้โรงเรียนใช้แผนกลยุทธ์ดังกล่าวเป็นแผนแม่บทในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรีย น ตลอดจนจัดท้าแผนปฏิบัติการ ประจ้าปี โครงการและกิจกรรมรองรับกลยุทธ์เพ่ือน้าไปสู่เป้าหมาย ความส้าเรจ็ ท่ีก้าหนดตอ่ ไป ( นายกฤษฏิ์ พยัคกาฬ ) ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ ๓๑ จังหวดั เชยี งใหม่

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ ข ปี พ.ศ. 2562 – 2564 คานา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ (ระยะ 3 ปี) ปพี .ศ. 2562 – 2564 จัดท้าขึ้น เพ่ือเป็นเครื่องมือในการพัฒนาบริหารจัดการการศึกษาของโรงเรียน ให้สนองตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย ระบบหลักเกณฑ์และวิธีการประกันคุณภาพ การศึกษา ตอบสนองมาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานการศึกษาของส้านักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานการศึกษาของส้านักบริหารงานการศึกษาพิเศษ โดยทางโรงเรียนได้ ท้าการศึกษาสภาพของโรงเรียน จากรายงานการประเมินตนเองผลการประเมินคุณภาพภายนอกของ ส้านักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในรอบที่ผ่านมา และได้ท้าการวิเคราะห์ สภาพแวดล้อมทั้งภายใน - ภายนอก ของโรงเรียน โดยใช้เทคนิควิธีการ SWOT (SWOT Analysis) เพ่ือ ประเมินสถานสภาพของโรงเรยี น แลว้ น้าขอ้ มลู มาประกอบการก้าหนดทิศทางของโรงเรียน โดยได้มีก้าหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ และเป้าหมาย ตลอดจนมีการก้าหนด โครงการ ค่าเป้าหมายและตัวช้ีวัด ความสา้ เร็จ เพอ่ื ใช้เปน็ แนวทางการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ หวังเป็นอย่างย่ิงว่าแผนพัฒนาการจัด การศึกษาของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ (ระยะ 3 ปี) ปีพ.ศ. 2562 – 2564 ฉบับน้ี จะเป็นแผนแม่บทที่ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการจัดท้าแผนปฏิบัติการ ประจ้าปีของโรงเรียนในระหว่าง ปีพ.ศ. 2562 – 2564 ได้เป็นอย่างดี ในโอกาสนี้ทางโรงเรียน ขอขอบพระคุณ ทุกท่านท่ีมีส่วนร่วมในการจัดท้าแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของโรงเรียนราชประชานุ เคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ฉบับน้ี จนส้าเรจ็ ลลุ ว่ งดว้ ยดี ขอขอบคุณคณะกรรมการสถานศึกษา และคณะครูทุกท่านไว้ ณ โอกาสนี้ที่ให้ความร่วมมือ ในการจัดทา้ รายงานคร้งั น้ี เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อยดี ( นางวลิ าวัลย์ ปาลี ) ผ้อู า้ นวยการโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ ๓๑ จงั หวดั เชยี งใหม่

แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 หน้า ค ปี พ.ศ. 2562 – 2564 สารบัญ หน้า ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ก คานา ข สารบญั ค สว่ นท่ี ๑ ข้อมูลพืน้ ฐาน 2 ๑ ขอ้ มูลทว่ั ไป 2 ๒ ภาระงาน 9 ๓ จ้านวนนกั เรยี น 11 ๔ ขอ้ มลู ดา้ นบุคลากร 11 ๕ ภาพรวมของสถานศึกษาก่อนจดั ทา้ แผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษา 12 สว่ นท่ี ๒ สรุปผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม 15 ๑ ผลการศกึ ษาสภาพปัจจัยสภาพแวดลอ้ มภายนอก (C-PEST) 15 2 ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน (7S) 17 3 ผลการวเิ คราะหส์ ภาพภายนอก และสภาพภายใน 22 ส่วนท่ี ๓ ทศิ ทางการจดั การศึกษา 25 ๑ วสิ ัยทศั น์ (Vision) 25 ๒ พนั ธกจิ (Misson) 26 ๓ เปา้ ประสงค์ (Goals) 27 ๔ อตั ลักษณ์ 29 5 เอกลักษณ์ 29 6 มาตรฐานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา 30 7 กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา 31 สว่ นที่ ๔ แผนปฏิบตั ิการระยะ 3 ปี (ปีการศึกษา 2562 - 2564) 39 กลยทุ ธท์ ี่ 1 พัฒนาระบบการบริหารจดั การศึกษา 39 กลยุทธ์ที่ 2 สง่ เสริม สนบั สนนุ ใหค้ รปู ฏบิ ตั ิงานตามบทบาทหนา้ ที่อยา่ งมี 42 ประสิทธภิ าพ กลยทุ ธ์ท่ี 3 เร่งรดั พฒั นาคุณภาพผู้เรียนใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐาน 46 กลยุทธท์ ี่ 4 ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหผ้ ูเ้ รยี นค้นพบศักยภาพของตนเองดา้ นอาชีพ 49 กลยทุ ธ์ท่ี 5 ส่งเสริม สนบั สนุนให้ผูเ้ รียนค้นพบศกั ยภาพของตนเองดา้ นศลิ ปะ 50 ดนตรี และกฬี า กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาอาคารสถานทส่ี ิง่ แวดล้อม แหลง่ เรียนรู้ให้เอ้อื ต่อการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 51

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 หน้า ง ปี พ.ศ. 2562 – 2564 หนา้ กลยทุ ธ์ท่ี 7 พฒั นาหลกั สูตรและกระบวนการจัดการเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของ 52 เศรษฐกิจพอเพยี ง 53 กลยทุ ธ์ 8 ส่งเสรมิ สนบั สนุนการมีส่วนร่วมในการจดั การศกึ ษา ของทกุ ภาคสว่ น 55 สว่ นท่ี 5 การกากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและรายงาน 55 55 การก้ากบั 55 การตดิ ตาม ตรวจสอบ การประเมิน และรายงาน

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 1 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 สว่ นท่ี 1 ข้อมลู พน้ื ฐาน

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 หน้า 2 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พนื้ ฐาน 1. ขอ้ มูลทว่ั ไป 1.1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 เลขท่ี 99 หมู่ 10 ตําบลช่างเคงิ่ อาํ เภอแมแ่ จ่ม จงั หวัดเชยี งใหม่ 50270 โทรศพั ท์ 0-5310-6933 โทรสาร 0-5310-6933 Website: www.rpk31school.ac.th สังกัด สาํ นกั บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ สํานักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1.2 เปิดสอนตั้งแต่ระดบั ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 1 ถงึ ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 6 1.3 มเี ขตพน้ื ทบี่ ริการ 6 อําเภอ ของจงั หวดั เชยี งใหม่ ได้แก่ เขตพื้นท่บี รกิ ารการรับนกั เรียน ลาดบั เขตพ้ืนทีบ่ รกิ าร เขตพ้ืนท่กี ารศึกษา จงั หวัด อาเภอ สพม. สพป. 1 เชยี งใหม่ อําเภอแม่แจ่ม สพม.34 สพป.เชียงใหม่ 4 อําเภอจอมทอง สพป.เชียงใหม่ 5 อําเภอฮอด สพป.เชยี งใหม่ 6 อําเภออมก๋อย อาํ เภอดอยเตา่ อําเภอดอยหล่อ 1.1 ประวัติความเป็นมาของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ เป็นโรงเรียนในสังกัดสํานักบริหารงาน การศกึ ษาพิเศษ ต้ังอยเู่ ลขที่ 99 หมู่ 10 ตาํ บลช่างเค่ิง อําเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ดําเนินการภายใต้การ ประสานงานระหว่างมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์กับสํานักบริหารงานการศึกษาพิเศษ กระทรวงศกึ ษาธิการ สภาพทางภูมิศาสตร์ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ตั้งอยู่บนเทือกเขาอินทนนท์ บน พื้นที่ 226 ไร่สภาพที่ต้ังเป็นท่ีสูงแยกจากถนนซ่ึงเคยเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์ในอดีต ปัจจุบันเป็นเส้นทาง สัญจรระหว่างอําเภอแม่แจ่มไปยังท้องท่ีใกล้เคียงสามารถเดินทางได้ทุกฤดูกาล มีอากาศเย็นสบายตลอดปี สภาพอากาศในแต่ละฤดูไม่มีความแตกต่างกันเท่าใดนัก ในฤดูร้อนก็ไม่ร้อนอบอ้าวจนเกินไป เพราะมีต้นไม้ ข้ึนอยู่หนาแน่นและอยู่ติดกับแนวป่าซ่ึงเชื่อมต่อกับดอยอินทนนท์ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์ และมีความช่ืนสูง สามารถทํากิจกรรมต่างๆไดต้ ามปกติ เสน้ ทางท่ีจะเขา้ สโู่ รงเรียนมี 2สาย คือสายอินทนนท์และสายอําเภอฮอด

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 หนา้ 3 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 ห่างจากตัวอําเภอแม่แจ่ม 7 กิโลเมตร มีแหล่งนํ้าธรรมชาติ จากลําห้วย เหนอื หมูบ่ ้านซ่ึงไหลมาจากเทือกเขาถนนธงชัย สามารถนํามาอุปโภคและบริโภคได้ หมู่บ้านท่ีใกล้เคียง จะมีหมู่บ้านแม่ปาน หมู่บ้านสันเก๋ียง หมู่บ้านห้วยริน ประชากรส่วน ใหญ่จะประกอบอาชีพทํานา ทําสวน ทําไร่ข้าวโพด ปลูกถ่ัวเหลือง ประกอบการค้าขนาดเล็ก บริการสินค้าใน หมู่บ้านในการยังชีพ การดําเนินงานในระยะเร่ิมแรกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ มอบหมายให้กรมสามัญศึกษาโดยสํานักงานสามัญศึกษาจังหวัดเชียงใหม่ ดําเนินการขอใช้พื้นท่ีป่าเส่ือมโทรม กับกรมป่าไม้และได้รับอนุญาตให้ใช้พื้นที่ป่าจํานวน 226ไร่ สําหรับก่อสร้างโรงเรียน กระทรวงศึกษาธิการได้ ประกาศจัดต้ังโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31อําเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันท่ี 30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2541 เป็นโรงเรียนประเภทศึกษาสงเคราะห์ เป็นโรงเรียนแบบประจํา รับนักเรียนต้ังแต่ช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 1 ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 6 รับเด็กนักเรียนท่ียากไร้ทางเศรษฐกิจด้อยโอกาสทาง การศกึ ษาทางสงั คม และทางภมู ิศาสตร์ แผนทโี่ รงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หนา้ 4 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 1.2 ตราสญั ลักษณ์ ตราประจาโรงเรียน เป็นเครอ่ื งหมายรูป พระมหามงกฎุ 1.3 สปี ระจาโรงเรียน ราช หมายถงึ พระราชา ประชา หมายถึง ประชาชน ราชประชานุเคราะห์ หมายถึง พระราชา และประชาชน ที่ซ่ึงอนุเคราะห์ ซึ่งกันและกัน ในการจัดต้ังโรงเรียนราชประชานุ- เคราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ ซงึ่ มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ ในประ ราชบรมชูประถัมภ์ ได้ร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งข้ึนเป็น โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ แหง่ ท่ี 31 ของประเทศไทย นา้ํ เงิน – เหลือง นาํ้ เงนิ หมายถึง สถาบันพระมหากษัตริย์โดยโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จัดต้ังข้ึน ตามพระราชดํารขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวเพือ่ จัดการศึกษา สาํ หรบั เด็กดอ้ ยโอกาส เหลอื ง หมายถงึ สีสีแหง่ แสงสว่างทางปญั ญา และเปน็ สแี ห่งวันพระราชสมภพใน พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยหู่ ัว โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 ได้น้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ ตามแนวพระราชดําริ มาเป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้เพ่ือ พฒั นาทางปัญญาแกน่ กั เรียน 1.4 ต้นไมป้ ระจาโรงเรียน ต้นอบเชย เป็นตน้ ไม้ทรงปลูก สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้ากรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรทราชกุมารี ฯ

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 5 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 1.5 สถานที่ติดต่อ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ สถานท่ีต้งั เลขที่ 99 หมู่ 10 ตาํ บลช่างเคิง่ อําเภอแม่แจม่ จังหวัดเชยี งใหม่ รหัสไปรษณยี ์ 50270 โทรศพั ท์ : 053-106933 Email : [email protected] Website : http://www.rpk31school.ac.th 1.6 แผนท่ีโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ 1.7 ขอ้ มูลอาคารสถานที่ โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่มเี นอื้ ที่ 226 ไร่ ประกอบด้วย ลาดับ สิ่งก่อสร้าง ปงี บประมาณจดั สรร สภาพการใช้งาน 1 โรงเรือนเล้ียงไก่ไข่ 2560 ชํารดุ 2 โรงเลย้ี งไก่เนอ้ื 2557 ชาํ รดุ 3 ถงั เก็บนํ้าใตด้ นิ ค.ส.ล. ขนาดความจุ 120 ลบ.ม. 2561 ดี 4 ถังเก็บน้ําใตด้ ิน 120 ลบ.ม. 2557 ดี 5 บ่อพักนํา้ 60 ลบ.ม. 2550 ดี 6 อาคารบา้ นพกั ครู 8 หน่วย 2561 ดี 7 อาคารบา้ นพกั ครู 8 หนว่ ย 2559 ดี 8 บ้านพักครู แบบ 203/27 2542 ชํารุด

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า 6 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 ลาดบั ส่งิ ก่อสรา้ ง ปีงบประมาณจดั สรร สภาพการใชง้ าน 9 บ้านพกั ครู แบบ 203/27 2542 ชาํ รดุ 10 บ้านพกั ครู แบบ 203/27 2542 ชํารดุ 11 หอนอน 38 พรอ้ มครุภัณฑ์ 2562 12 หอนอน 26 พรอ้ มครภุ ัณฑ์ 2559 กาํ ลงั ก่อสรา้ ง 13 บ้านพักนักเรียนแบบ 8 คน 2557 ดี 14 บา้ นพักนักเรียนแบบ 8 คน 2557 ดี 16 หอนอน 26 พร้อมครภุ ณั ฑ์ 2555 ดี 17 หอนอน 26 พรอ้ มครภุ ัณฑ์ 2555 ดี 18 หอนอน 26 พร้อมครภุ ณั ฑ์ 2550 19 หอนอน 26 พรอ้ มครภุ ณั ฑ์ 2550 ชาํ รุด 20 หอนอน 26 พร้อมครุภณั ฑ์ 2549 ดี 21 หอนอน 38 พรอ้ มครภุ ณั ฑ์ 2547 ดี 22 หอนอน 26 พร้อมครุภัณฑ์ 2546 ดี 23 หอนอน 26 พรอ้ มครุภณั ฑ์ 2545 ดี 24 หอนอน 26 พร้อมครุภัณฑ์ 2544 ดี 25 หอนอน 26 พร้อมครภุ ัณฑ์ 2542 ดี 26 หอนอน 26 พร้อมครุภัณฑ์ 2541 ดี 27 บ้านพักภารโรงแบบแฟลต 12 หนว่ ย 2558 28 บา้ นพักภารโรง/32 2542 ชาํ รดุ 29 บ้านพกั ภารโรง/32 2542 ชาํ รดุ 30 บ้านพักภารโรง/32 2542 31 เรอื นเพาะชํา 2561 ดี 32 อาคารเรือนเพาะชาํ 2557 ชาํ รุด 33 อาคารโรงซักผา้ และอาบนา้ํ หญิง 2562 ชํารุด 34 อาคารโรงซักผ้าและอาบน้ําหญิง 2562 ชํารุด 35 อาคารโรงซักผา้ และอาบน้าํ หญงิ 2560 36 โรงซกั ผ้าและอาบนาํ้ หญงิ 2554 ดี 37 โรงซักผ้าและอาบน้ําหญิง 2551 ดี 38 โรงซักผ้าและอาบน้ําหญิง 2547 กําลังก่อสรา้ ง กําลังก่อสรา้ ง ดี ดี ดี ดี

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 7 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 ลาดบั สิง่ กอ่ สรา้ ง ปงี บประมาณจัดสรร สภาพการใชง้ าน 39 โรงซักผา้ และอาบนํ้าหญิง 2546 ดี 40 โรงซักผ้าและอาบนาํ้ หญิง 2545 41 โรงซักผ้าและอาบน้ําหญงิ 2545 ชาํ รุด 42 โรงซกั ผา้ และอาบน้าํ หญิง 2544 ชํารุด 43 โรงซักผ้าและอาบน้าํ หญงิ 2543 ชํารุด 44 โรงซกั ผ้าและอาบนา้ํ หญงิ 2542 ชํารดุ 45 สนามฟุตบอลพร้อมลู่วงิ่ 2556 ชํารดุ 46 ห้องนา้ํ ห้องสว้ มนักเรยี นชาย 6 ที/่ 49 2562 ใช้การได้ 47 ห้องน้ําห้องสว้ มนักเรียนหญงิ 6 ท/่ี 49 2562 กําลังก่อสรา้ ง 48 หอ้ งน้ําหอ้ งสว้ มนักเรียนหญิง 6 ท/่ี 49 2561 กาํ ลังก่อสรา้ ง 49 หอ้ งน้ําห้องส้วมนักเรียนชาย 6 ท่ี/49 2561 50 สว้ มมาตรฐานแบบ 4 ท่ี (ส้วม แบบ สปช. 2559 ดี ดี 603/29) ดี 51 สว้ มมาตรฐานแบบ 4 ที่ (ส้วม แบบ สปช. 2559 ดี 603/29) 52 อาคาร สพฐ.4 (ส้วม 4 ที่นง่ั ) 2558 ดี 53 อาคาร สพฐ.4 (สว้ ม 4 ที่นง่ั ) 2558 ดี 54 อาคาร สพฐ.4 (ส้วม 4 ทน่ี ง่ั ) 2558 ดี 55 ห้องนํา้ – ห้องสว้ ม แบบ 6 ที่ /27 2555 ใชก้ ารได้ 56 ห้องนาํ้ – หอ้ งส้วม แบบ 6 ที่ /27 2554 ใชก้ ารได้ 57 ห้องนํา้ – หอ้ งส้วม แบบ 6 ท่ี /27 2549 ชาํ รุด 58 อาคาร สพฐ.4 (ส้วม 4 ทีน่ ่ัง) 2547 ชํารุด 59 หอ้ งน้ํา – ห้องส้วม แบบ 6 ที่ /27 2547 ชํารุด 60 ห้องน้ํา – ห้องส้วม แบบ 6 ท่ี /27 2546 ยกเลิกแล้ว 61 หอ้ งนาํ้ – ห้องสว้ ม แบบ 6 ท่ี /27 2545 ยกเลิกแล้ว 62 หอ้ งน้ํา – หอ้ งสว้ ม แบบ 6 ท่ี /27 2545 ยกเลกิ แล้ว 63 อาคาร สพฐ.4 (สว้ ม 4 ที่นั่ง) 2545 ยกเลิกแลว้ 64 อาคาร สพฐ.4 (สว้ ม 4 ทนี่ ั่ง) 2545 ยกเลิกแลว้ 65 ห้องนาํ้ – หอ้ งสว้ ม แบบ 6 ที่ /27 2544 ยกเลิกแลว้

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า 8 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 ลาดับ ส่ิงก่อสรา้ ง ปงี บประมาณจัดสรร สภาพการใช้งาน 66 ห้องนํ้า – ห้องส้วม แบบ 6 ท่ี /27 2544 ยกเลิกแลว้ 67 อาคาร สพฐ.4 (ส้วม 4 ทน่ี ั่ง) 2542 ยกเลิกแล้ว 68 ห้องนํา้ – หอ้ งส้วม แบบ 6 ที่ /27 2542 ยกเลิกแลว้ 69 หอ้ งน้าํ – ห้องสว้ ม แบบ 6 ท่ี /27 2542 ยกเลิกแล้ว 70 หอ้ งน้ํา – ห้องสว้ ม แบบ 6 ท่ี /27 2542 ยกเลกิ แลว้ 71 อาคาร สพฐ.4 (สว้ ม 4 ทน่ี ่ัง) 2542 ยกเลิกแลว้ 72 อาคาร สพฐ.4 (ส้วม 4 ทนี่ ่ัง) 2542 ยกเลิกแลว้ 73 อาคาร สพฐ.4 (ส้วม 4 ทน่ี ัง่ ) 2542 ยกเลกิ แล้ว 74 ห้องน้ํา – หอ้ งสว้ ม แบบ 6 ท่ี /27 2542 ยกเลกิ แล้ว 75 อาคารฝึกงานแบบ 102/27 (ตอกเขม็ ) 2557 ดี 76 โรงนา้ํ ดม่ื พรอ้ มอุปกรณผ์ ลติ น้ําดื่ม 2549 ดี 77 อาคารฝึกงานแบบ 102/27 (ตอกเข็ม) 2548 ดี 78 อาคารพยาบาล 2559 ดี 79 อาคารพยาบาล 2559 ใช้การได้ 80 อาคารเรียน 108 ล/30 2561 ดี 81 อาคารเรียนแบบ 216 ล.(ปรบั ปรงุ 29) 2549 ดี 82 อาคารเรยี นแบบ 324 ล/41 (หลงั คาทรงไทย) 2545 ชํารดุ 83 อาคารเรียนแบบ 104 ล/41 (หลังคาทรงไทย) 2542 ชาํ รดุ 84 อาคารเรยี นแบบ 104 ล/41 (หลังคาทรงไทย) 2541 ชาํ รดุ 85 โรงอาหาร – หอประชุม แบบ 101 ล/27 พิเศษ 2543 ดี 86 ป้อมยาม 2554 ชํารดุ 87 ซมุ้ ประตปู ้ายซ่ือโรงเรียน 2544 ดี 88 บา้ นพักครแู บบ 207 2542 ชํารุด 89 โรงหงุ ตม้ ประกอบอาหาร 2542 ดี

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 9 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 2. ภาระงาน การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาของรัฐมภี ารกจิ และหน้าที่ คือให้บริการการศึกษาแก่ประชาชน จึง ต้องนําหลักการว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมท่ีดี ซึ่งเรียกกันโดยท่ัวไปว่า “ธรรมภิบาล” ซ่ึงมี หลักการ ได้แก่ หลกั นติ ิธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และ หลักความคุ้มค่ามาบูรณาการเข้ากับการดําเนินงานด้านต่างๆ ของสถานศึกษาซ่ึงได้แก่ การดําเนินงานด้าน บริหารวิชาการ การบรหิ ารท่วั ไป การบริหารงานบุคคล การบริหารแผนงานและงบประมาณ เปา้ หมายการจัด การศกึ ษา คือ ทาํ ใหเ้ ด็กด้อยโอกาส เป็นคนดี เกง่ และมีความสุข โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชียงใหม่ มรี ะบบการบริหารและจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ โดยใช้การบริหารแบบโรงเรียนเป็นฐาน ซึ่งมีนวัตกรรม TAME+ Model ในการบริหารจัดการโรงเรียน และใช้วงจร เดมมี เป็นแนวทางในการจัดการยึดหลักธรรมาภิบาล และแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งพัฒนา นกั เรยี นตามแนวทางปฏิรปู การศกึ ษา โดยไดด้ ําเนนิ การวิเคราะหส์ ภาพปัญหา วิเคราะห์ผลการจัดการศึกษาตาม โครงการ กิจกรรม และการประเมินคุณภาพการศึกษาที่ผ่านมามีการศึกษาข้อมูล สารสนเทศจากผลการนิเทศ ติดตาม แล้วร่วมกันระดมความคิดเห็น ประเมินผลการจัดการศึกษา ของบุคลากรในสถานศึกษาเพื่อวางแผน ร่วมกันกําหนดเปา้ หมาย ปรับวิสัยทัศน์ กําหนดพันธกิจ กลยุทธ์ ในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อพัฒนา คุณภาพนักเรียน มีการปรับแผนพัฒนาคุณภาพจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําปี ให้สอดคล้องกับสภาพ ปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษา มีคําสั่งแต่งต้ังผู้ช่วยผู้อํานวยการกลุ่มบริหารงาน หัวหน้ากลุ่มงาน หัวหน้างาน และหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้ทุกฝ่ายสามารถปฏิ บัติงานอย่างมี ประสิทธิภาพและตรงกับหน้าที่ท่ีรับผิดชอบ มอบหมายงานให้ผู้รับผิดชอบ พร้อมท้ังจัดสรรงบประมาณ จัดหา ทรัพยากรในการดําเนินการพัฒนาตามแผนงานให้บรรลุเป้าหมายที่กําหนดไว้ มีการพัฒนาบุคลากรให้สามารถ ทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการดําเนินการนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลการดําเนินงาน และสรุปผล การดําเนินงานโดยมีโดยการสํารวจความพึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษาโดยผู้ท่ีมีส่วน เก่ียวข้อง ได้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง ชุมชน และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานของโรงเรียน เพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลในการบรหิ ารจัดการศึกษา โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ มีการบริหารและการจัดการศึกษาอย่างเป็น ระบบ และได้นําเอาระบบ ICT มาบริหารจัดการในสถานศึกษา มีกระบวนการควบคุมภายใน ใช้จัดการกับ ความเส่ียงต่างๆในโรงเรียน มีการพัฒนาโครงสร้างการบริหารงานที่สอดคล้องกับพันธกิจของสถานศึกษาให้ ความสําคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการกําหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย ที่ชัดเจน มีการปรับ แผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจําปี ที่สอดคล้องกับผลการจัดการศึกษา สภาพ ปัญหา ความต้องการพัฒนา และนโยบายการปฏิรูปการศึกษาท่ีมุ่งเน้นการพัฒนาให้นักเรียนมีคุณภาพตาม มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาครูผู้สอนสามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ มีระบบ สารสนเทศที่มีความถูกต้อง เป็นปัจจุบัน และง่ายต่อการเข้าถึงและนํามาใช้ในการพัฒนางาน และมีระบบ ประกันคุณภาพที่มปี ระสทิ ธิภาพในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 10 ปี พ.ศ. 2562 – 2564

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า 11 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 3. จานวนนกั เรยี น จานวนนักเรียนปีการศึกษา 25๖1 รวม 797 คน 1) ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา 1-6 ปีการศึกษา 2561 จานวน 94 คน ระดับช้นั เรยี น ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 รวม จานวนหอ้ ง 111111 6 เพศ ชาย 3 5 5 5 9 11 38 หญิง 4 5 10 9 14 14 56 รวม 7 10 15 14 23 25 94 เฉลยี่ ตอ่ ห้อง 7 10 15 14 23 25 15.67 ข้อมลู ณ วนั ที่ 17 มกราคม 2561 2) ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1-6 ปีการศึกษา 2561 จานวน 703 คน ระดบั ชั้น ม.1 ม.2 ม.3 รวม ม.4 ม.5 ม.6 รวม รวม เรียน ทัง้ หมด จานวนห้อง 4 4 4 12 4 4 4 12 24 เพศ ชาย 35 37 17 89 19 35 18 69 161 หญิง 98 86 80 264 85 91 102 278 542 รวม 133 123 97 353 104 126 120 350 703 เฉลยี่ ต่อ 33.25 30.75 24.25 29.41 26.00 31.50 30 87.5 29.29 หอ้ ง ขอ้ มูล ณ วันที่ 17 มกราคม 2561 4. ข้อมูลด้านบุคลากร 4.1 ข้อมูลผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา 1) ชอื่ -สกลุ นางวลิ าวลั ย์ ปาลี ตําแหนง่ ผู้อาํ นวยการโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ วฒุ ิการศึกษาสงู สุด การศึกษามหาบณั ฑิต สาขา การบริหารการศึกษา โทรศัพท์ 08-7180-5595 E-mail : [email protected] 2) ชื่อ-สกุล นายวิเศษ ฟองตา ตาํ แหนง่ รองผู้อํานวยการโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ วุฒกิ ารศกึ ษาสงู สุด การศึกษามหาบัณฑิต สาขา การบริหารการศึกษา โทรศัพท์ 09-3713-4455 E-mail : [email protected]

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า 12 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 4.2 จานวนครูท่ีปฏบิ ัติงาน จานวน วุฒกิ ารศกึ ษา ชาย หญงิ รวม กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ป.กศ.สงู ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ชาย หญงิ ชาย หญงิ ชาย หญงิ ชาย หญงิ -- ผอู้ านวยการโรงเรียน 011 -- - - -1- - รองผอู้ านวยการโรงเรียน 101 -- - -1- - - วิทยาศาสตร์ 347 -- 33- 1- - คณติ ศาสตร์ 235 -- 23- - - - ภาษาไทย 235 -- 23- - - - ภาษาตา่ งประเทศ 347 -- 33- 1- - สังคมศึกษา 2 46 -- 141- - - สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 213 -- 21- - - - ศลิ ปศกึ ษา 415 -- 311- - - การงานอาชพี และเทคโนโลยี 10 7 17 -- 10 7 - - - - กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 022 -- -1-1- - ครูประถม 022 00 -2- - - - 29 32 61 26 26 3 4 0 0 รวม 0 52 7 0 สรุปรวม 61 ข้อมูล ณ วนั ที่ 17 มกราคม 2561 5. ภาพรวมของสถานศึกษากอ่ นจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษา สรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ (ประเมินตนเอง) มาตรฐาน/ประเด็นพิจารณา คา่ เป้าหมายมาตรฐาน/ ประเดน็ การพจิ ารณา มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ดี ๑.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างวิชาการของผู้เรียน ร้อยละ 70 1) มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การสอื่ สารและการคิดคาํ นวณ 2) มีความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลีย่ นความคดิ เห็น และแก้ปญั หา 3) มคี วามสามารในการสร้างนวตั กรรม 4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอ่ื สาร 5) มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 6) มคี วามรู้ ทักษะพืน้ ฐานและเจตคตทิ ดี่ ีตอ่ งานอาชีพ 1.2 คณุ ลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผู้เรียน รอ้ ยละ 80 1) การมคี ณุ ลกั ษณะและค่านยิ มที่ดตี ามที่สถานศึกษากําหนด 2) ความภูมิใจในทอ้ งถิน่ และความเปน็ ไทย

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 13 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 มาตรฐาน/ประเดน็ พิจารณา คา่ เป้าหมายมาตรฐาน/ ประเดน็ การพจิ ารณา 3) การยอมรับทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย 4) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจติ สงั คม ดีเลศิ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 การมีเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกิจทส่ี ถานศกึ ษากาํ หนดชัดเจน ร้อยละ 80 2.2 มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา 2.3 ดําเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสุตรส ดีเลิศ ถานศกึ ษาและทกุ กลุ่มเป้าหมาย 2.4 พฒั นาครแู ละบุคลกรให้มคี วามเชี่ยวชาญทางวชิ าชพี 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่าง มีคณุ ภาพ 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการ จดั การเรยี นรู้ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผเู้ รียนเปน็ สาคัญ 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนําไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตได้ 3.2 ใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ท่เี ออ้ื ต่อการเรียนรู้ 3.3 มกี ารบริหารจัดการช้นั เรยี นเชงิ บวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ และนาํ ผลมาพฒั นาผู้เรยี น 3.5 มีการแลกเปล่ียนเรียนร้แู ละให้ขอ้ มลู สะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง การจัดการเรยี นรู้ สรปุ ผลการประเมนิ ในภาพรวมของสถานศึกษา

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 14 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 สว่ นที่ 2 สรปุ ผลการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หนา้ 15 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 ส่วนที่ 2 สรปุ ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวัดเชยี งใหม่ ไดท้ าการวเิ คราะหส์ ภาพองค์กรระหว่างวันที่ 28 - 29 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 สรปุ ผลดงั นี้ 1. ผลการศกึ ษาสภาพปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (C-PEST) ประเด็นการวิเคราะห์ ประเด็นทเี่ ป็นโอกาส ประเด็นทเี่ ปน็ อุปสรรค (threats) (opportunities) ด้านพฤตกิ รรมของลูกค้า (Customer Behaviors) 1. กลุ่มผู้รับบริการโดยตรงได้แก่ นักเรยี นมีคุณลกั ษณะทพ่ี งึ นกั เรยี นขาดความรูพ้ ้นื ฐานดา้ นการอา่ น กลมุ่ ประชากรวัยเรียนที่เป็นเดก็ ดอ้ ย ประสงคม์ ีความพร้อมท่จี ะ ได้รบั การเขียน การคดิ คานวณ โอกาส การพฒั นา 2. กล่มุ ผูท้ ม่ี ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย ได้แก่ ผ้ปู กครอง เชื่อมน่ั ในการจัด ผู้ปกครองส่วนใหญ่ขาดความรู้ ความ ผู้ปกครองนักเรยี น คณะกรรมการ การศึกษาของโรงเรยี นให้ เข้าใจด้านการจดั การศกึ ษา สถานศึกษา ประชาชนทัว่ ไป ความสาคญั และสนบั สนนุ นกั เรียน เครอื ข่ายชมรมผู้ปกครอง ชุมชนมีสว่ น หนว่ ยงานในพ้ืนที่ ชมุ ชน มาเรียน ร่วมในการพัฒนาการจัดการศึกษาของ โรงเรยี นคอ่ นขา้ งน้อย ด้านการเมืองและกฎหมาย (Political Legal) 1. นโยบายรัฐบาลปัจจุบัน นโยบายการจดั การศึกษามคี วาม นโยบายดา้ นการจัดการศกึ ษา ตอ่ เนอื่ งครอบคลุมความตอ้ งการ เปลย่ี นแปลงตามผู้นาทางการเมืองทาให้ ของผู้เรยี น สถานศกึ ษามภี าระงานซา้ ซ้อนการพฒั นา โรงเรยี นไม่ต่อเนื่อง 2. นโยบายหนว่ ยงานต้นสังกัด มกี ารนเิ ทศ ตดิ ตาม การ ดาเนนิ งานจากหนว่ ยงานตน้ สังกัด 3. บทบาทของกลมุ่ ผลประโยชน์และ องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ มี องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ สนบั สนุนการ กลุ่มพลงั ทางการเมอื ง พฤติกรรมทาง งบประมาณในการดาเนินงานท่ี จัดการศึกษาค่อนข้างน้อย การเมือง สนองต่อนโยบายของหนว่ ยงาน 4. ระเบียบ กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องใน พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. การการจดั การศึกษา 2542 ทาใหส้ ถานศกึ ษามกี าร ดา้ นเศรษฐกิจ (Economic) พัฒนา 1. สภาวะทางเศรษฐกจิ เชน่ ราคา นา้ มัน อตั ราการว่างงาน อตั ราค่า สภาพเศรษฐกิจของประชากรในชมุ ชน ครองชพี ผลผลิตทางการเกษตร ส่วนใหญม่ ีฐานะยากจนไมเ่ ออ้ื ต่อการ ระดมทรัพยากรทางการศึกษาของ โรงเรยี น

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า 16 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 ประเดน็ การวเิ คราะห์ ประเด็นทีเ่ ป็นโอกาส ประเด็นที่เป็นอุปสรรค (threats) (opportunities) ดา้ นเศรษฐกจิ (Economic) 2. งบประมาณ/การสนบั สนุน หนว่ ยงานของรฐั บาลและเอกชน มาตรการเรง่ รดั การใชจ้ ่ายงบประมาณทา งบประมาณของรัฐบาล จัดสรรงบประมาณในการพฒั นา ใหย้ ุง่ ยากต่อการดาเนินงาน โรงเรียนอย่างเหมาะสม ดา้ นสงั คมและวัฒนธรรม (Social-Cultural) 1. จานวนประชากรและโครงสรา้ ง มีประชากรกลุ่มวัยเรยี นเปน็ จานวนประชากรในวยั เรยี นที่มาขอรบั ประชากรกลุ่มเปา้ หมาย จานวนมาก บริการมจี านวนมาก แตส่ ถานศกึ ษามี ข้อจากัดในการรับนักเรยี น 2. สภาพชมุ ชน ครัวเรือน ชุมชนมแี หลง่ ขอ้ มูลวฒั นธรรมและ กลมุ่ เป้าหมาย ภมู ปิ ญั ญาท่หี ลากหลายเออื้ ต่อการ จัดการศึกษา 3. คุณภาพชีวติ ของประชาชน ชมุ ชนมีเอกลักษณ์ด้านวัฒนธรรม ประเพณคี วามเช่ือทางวฒั นธรรมสง่ ผล ขนบธรรมเนยี มประเพณี ความเชื่อ ประเพณีทีห่ ลากหลาย กระทบตอ่ การเรียนของนกั เรียนและการ ค่านิยมและวฒั นธรรม ปฏิบัตติ ามระเบยี บการดูแลนักเรียน ประจา 4. ระดับการศกึ ษาและอัตราการ อตั ราการรูห้ นังสือของผู้ปกครองต่า เรยี นรู้หนงั สอื ของประชากร สง่ ผลต่อการจดั การเรียนร้ใู นโรงเรยี น ด้านเทคโนโลยี (Technological) ความกา้ วหน้าและความเปลยี่ นแปลง เทคโนโลยมี คี วามทนั สมัย เข้าถงึ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศไม่ครอบคลมุ ทางดา้ นเทคโนโลยที ม่ี ีผลตอ่ การ ไดง้ ่าย เอื้อต่อการจัดการศึกษาให้ พนื้ ท่ี เนอ่ื งจากขอ้ จากัดด้านสภาพพน้ื ที่ ดาเนินงาน มีคุณภาพ คณุ ธรรมในการใช้เทคโนโลยี ในการ อิทธพิ ลของสื่อ-เทคโนโลยี สง่ ผลให้ ดารงชวี ิตของคนในชุมชนปัจจุบนั นกั เรียนเขา้ ถึงสอื่ ข้อมลู ท่ไี ม่เหมาะสม สรุปประเดน็ การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก (C-PEST) สรุปประเดน็ ทีเ่ ป็นโอกาส สรปุ ประเดน็ ท่เี ป็นอุปสรรค ด้านพฤตกิ รรมของลกู ค้า (Customer Behaviors) 1. นกั เรยี นมคี ุณลักษณะท่พี งึ ประสงคม์ ีความพร้อม 1. นักเรียนขาดความร้พู ืน้ ฐานดา้ นการอ่าน การ ที่จะ ได้รับการพัฒนา เขียน การคิดคานวณ 2. ผู้ปกครอง เช่ือมนั่ ในการจดั การศกึ ษาของ 2. ผปู้ กครองส่วนใหญ่ขาดความรู้ ความเขา้ ใจดา้ น โรงเรยี นใหค้ วามสาคญั และสนับสนนุ นกั เรียนมา การจัดการศกึ ษา เรียน 3. เครือข่ายชมรมผู้ปกครอง ชมุ ชนมีส่วนร่วมในการ พัฒนาการจดั การศึกษาของโรงเรยี นคอ่ นขา้ งน้อย

แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 17 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 สรุปประเด็นทีเ่ ป็นโอกาส สรปุ ประเด็นท่ีเป็นอุปสรรค ดา้ นการเมืองและกฎหมาย (Political Legal) 1. นโยบายการจดั การศึกษามีความตอ่ เน่ือง 1. นโยบายดา้ นการจัดการศึกษาเปล่ียนแปลงตาม ครอบคลุมความต้องการของผเู้ รียน ผนู้ าทางการเมืองทาใหส้ ถานศึกษามภี าระงาน 2. มกี ารนิเทศ ตดิ ตาม การดาเนินงานจาก ซ้าซอ้ นการพัฒนาโรงเรียนไม่ต่อเนอ่ื ง หนว่ ยงานตน้ สังกัด 2. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ สนบั สนุนการจัด 3. พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ทาให้ การศกึ ษาค่อนขา้ งน้อย สถานศึกษามีการพัฒนา ดา้ นเศรษฐกจิ (Economic) หน่วยงานของรฐั บาลและเอกชนจดั สรรงบประมาณ 1. สภาพเศรษฐกิจของประชากรในชุมชนส่วนใหญ่มี ในการพฒั นาโรงเรียนอยา่ งเหมาะสม ฐานะยากจนไมเ่ อ้อื ต่อการระดมทรัพยากรทาง การศึกษาของโรงเรยี น 2. มาตรการเรง่ รดั การใช้จา่ ยงบประมาณทาให้ ย่งุ ยากต่อการดาเนินงาน ด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social-Cultural) มปี ระชากรกลมุ่ วัยเรียนเป็นจานวนมาก 1. จานวนประชากรในวยั เรยี นท่ีมาขอรบั บริการมี ชุมชนมีแหลง่ ข้อมลู วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาที่ จานวนมาก แต่สถานศึกษามีขอ้ จากัดในการรับ หลากหลายเปน็ เอกลักษณ์เอื้อตอ่ การจดั การศกึ ษา นกั เรียน 2. ประเพณีความเช่ือทางวัฒนธรรมสง่ ผลกระทบต่อ การเรยี นของนักเรยี นและการปฏิบตั ติ ามระเบยี บ การดแู ลนกั เรียนประจา ดา้ นเทคโนโลยี (Technological) เทคโนโลยมี ีความทันสมัย เข้าถึงไดง้ ่าย เอื้อตอ่ การจัด 1. ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศไม่ครอบคลมุ พนื้ ที่ การศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพ เน่อื งจากข้อจากดั ด้านสภาพพ้นื ท่ี 2. อิทธิพลของส่ือ-เทคโนโลยี สง่ ผลให้นักเรียน เข้าถึงสื่อข้อมลู ท่ีไม่เหมาะสม 2. ผลการวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน (7S) ประเด็นการวิเคราะห์ ประเดน็ ท่ีเป็นจุดแข็ง (Strengths) ประเด็นท่เี ปน็ จดุ อ่อน (Weaknesses) ดา้ นโครงสร้าง (Structure): S 1 1.สถานศึกษาจดั โครงสร้างการ สถานศึกษาจัดโครงสรา้ งการบรหิ าร บริหารท่คี ล่องตัว สอดคล้องกับ ทชี่ ดั เจน กฎระเบยี บ วา่ ด้วยการแบง่ ส่วน ราชการภายในสถานศึกษา ตามที่หน่วยงานตน้ สังกัด กาหนด

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 หนา้ 18 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 ประเดน็ การวิเคราะห์ ประเด็นทเ่ี ปน็ จดุ แข็ง (Strengths) ประเดน็ ท่ีเป็นจดุ ออ่ น (Weaknesses) 2. การกาหนดบทบาทหน้าท่ี มีการปรับเปล่ียนหนา้ ท่ีการ ขาดการกาหนดมาตรฐานการปฏิบัตงิ าน ความรับผิดชอบและมาตรฐาน ปฏบิ ตั งิ านตามโครงสรา้ งให้มีความ ของหนว่ ยงานท่ีชดั เจน มีคาส่ัง เหมาะสมกับการปฏบิ ัตงิ าน มอบหมายงาน มกี ารทบทวน ปรับเปลีย่ นโครงสร้างให้ เหมาะสม กับทศิ ทางการบรหิ าร สถานศกึ ษา ดา้ นกลยุทธ์องคก์ ร (Strategy) S 2 1.ทิศทางของสถานศึกษา มีทิศทางการพัฒนาสถานศกึ ษาท่ี (วิสัยทัศน์ พนั ธกจิ ยทุ ธศาสตร์ ชัดเจนสอดคล้องกับบริบทของ เป้าประสงค์ กลยุทธ)์ ชัดเจน สถานศกึ ษา สอดคลอ้ งกบั บริบทของ สถานศึกษา 2. โครงสรา้ ง/กิจกรรมทกี่ าหนด มีการกาหนดโครงสรา้ งและกิจกรรม การบริหารงานโครงการไม่เป็นไปตาม สอดคลอ้ งกับกลยทุ ธแ์ ละ ท่สี อดคล้องกับกลยทุ ธแ์ ละ เปา้ หมายท่ีกาหนด เปา้ ประสงค์ เป้าประสงค์ ดา้ นกลยทุ ธ์องค์กร (Strategy) S 2 3. การถ่ายทอดกลยุทธ์ไปสู่การ มีการจดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพ 1. การนากลยุทธ์สู่การปฏิบตั ยิ ังไม่เป็น ปฏบิ ตั ใิ นระดบั กลุ่ม และระดับ การศกึ ษาแผนปฏบิ ัติการประจาปี ระบบ บคุ คล 2. มโี ครงการ งานพิเศษ กจิ กรรม นอกเหนือจากในแผนปฏิบตั กิ าร ทา ให้มีปญั หาการตดั จา่ ยงบประมาณ ด้านระบบในการดาเนนิ งานขององค์กร (System) : S 3 1.ระบบให้บริการแกป่ ระชากร มรี ะบบการรบั นกั เรียนทีช่ ดั เจน เขตพน้ื ของโรงเรียนเปน็ ถน่ิ ทุรกันดาร วยั เรยี นในเขตพืน้ ท่ีบริการ ทาให้การบริการไมท่ วั่ ถึง 2. ระบบการจัดการเรยี นรู้ให้ มกี ารจัดการเรียนรตู้ ามหลักสูตร ระบบการวดั และประเมนิ ผลไม่ ผูเ้ รยี นมคี ณุ ภาพตามหลกั สูตร สถานศึกษา ครบ ช่วงชน้ั สอดคล้องกบั สภาพจริง และผลการ ทดสอบระดับชาติ 3. ระบบประกันคุณภาพภายใน บคุ ลากรมสี ่วนร่วมในการพัฒนา ขาดการนาระบบการประกนั คุณภาพ สถานศกึ ษา ระบบการประกันคณุ ภาพภายใน ภายในสถานศึกษาไปใชใ้ นการ ปฏบิ ัติงานใหเ้ กิดเปน็ วัฒนธรรมองค์กร สถานศกึ ษา 4. ระบบการจดั สภาพแวดลอ้ ม มีการจัดสภาพแวดล้อมท่สี ะอาด 1. การปลกู ฝังจติ สานกึ ในการดูแล

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 19 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 ประเด็นการวิเคราะห์ ประเด็นที่เปน็ จดุ แข็ง (Strengths) ประเด็นที่เปน็ จุดออ่ น (Weaknesses) และการบริการทีส่ ่งเสริมให้ ผู้เรียนพัฒนาตามธรรมชาติ และปลอดภยั เออื้ ต่อการเรียนรู้ รักษาทรัพยส์ มบัตสิ ว่ นตวั และ 5. ระบบการจัดกิจกรรม สว่ นรวมยงั ไมป่ ระสบผลเท่าท่ีควร สง่ เสรมิ คณุ ภาพผูเ้ รียนอย่าง หลากหลาย 2. การรกั ษาผลการประเมินโรงเรยี น 6. หลกั สตู รและกระบวนการ สง่ เสริมสุขภาพ เรยี นรูท้ เ่ี น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั มีระบบดแู ลนักเรียนประจาที่มี 1. ระบบการสง่ ต่อนักเรยี นยงั ไม่ คุณภาพตามมาตรฐานการดแู ล ต่อเนอ่ื ง นักเรียนประจา 2. ขาดการจัดกจิ กรรมเพื่อสร้างจดุ เนน้ ที่ชดั เจนเป็นรปู ธรรม มีการจดั หลักสูตรท่หี ลากหลายให้ กระบวนการจัดการเรยี นรูไ้ ม่สอดคล้อง นกั เรยี นเลอื กเรียนตามความถนัด กับหลกั สตู ร ไมต่ รงตามแผนการจดั การ และสนใจ เรียนรู้ ดา้ นแบบแผนหรอื พฤตกิ รรมในการบรหิ ารจัดการ (Style) : S 4 1.คุณธรรม จรยิ ธรรม ภาวะ ผบู้ รหิ ารมภี าวะผู้นา มคี วามสามารถ ผ้นู า ความสามารถในการ ในการบริหารจดั การศกึ ษา บริหารจดั การศกึ ษา 2. การกระจายอานาจการ มีการกระจายอานาจการตัดสนิ ใจให้ ขาดการวางแผนรว่ มกันในการระหวา่ ง ตัดสินใจใหบ้ ุคลากร ไดใ้ ช้ บุคลากร ได้ใชศ้ กั ยภาพทม่ี ีอยู่ กลมุ่ บรหิ ารงานต่างๆ ทาให้เกิดความ ศักยภาพที่มีอยูป่ ฏบิ ัตงิ านอย่าง ปฏบิ ัตงิ านอย่างเต็มที่ ลา่ ช้าในการปฏบิ ตั งิ าน เต็มที่ 3. การใชร้ ูปแบบการบริหาร มีระบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธ์ิ ระบบการนิเทศ กากบั ตดิ ตามงานยงั ไม่ จัดการทเี่ หมาะสมในการ ทาใหก้ ารดาเนนิ งานบรรลตุ าม ตอ่ เนอื่ ง บริหารงานเช่น การส่ังการ การ เปา้ หมายที่กาหนดไว้ ควบคมุ การจูงใจ สะท้อนถึง วฒั นธรรมขององค์กร 4. การคดิ คน้ ระบบงานและ ผ้บู รหิ ารนาหลกั “ปรัชญาของ ระบบการประเมินประสทิ ธิภาพและ เทคนคิ การบรหิ ารเพ่ือใช้ในการ เศรษฐกจิ พอเพียง” มาเป็นแนว ประสทิ ธผิ ลของบุคคลากรไม่มีเกณฑ์ วิธี ปฏิบัติงานมงุ่ สู่วิสยั ทศั น์ ปฏบิ ัตใิ นการพัฒนาโรงเรยี น ปฏบิ ตั ทิ ชี่ ดั เจน ดา้ นบคุ ลากร/สมาชิกในองค์กร (Staff) : S5 ครมู ีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความรู้ ครมู คี ุณธรรม จรยิ ธรรม ความรู้ 1. บคุ ลากรมีการปรบั เปล่ียนบ่อยตลอด ความสามารถ ตรงกับงานท่ี ความสามารถ ตรงกับงานที่ ปีไม่ต่อเนื่องในการดาเนินงาน รบั ผดิ ชอบ หม่ันพัฒนาตนเอง รับผิดชอบ หม่ันพฒั นาตนเอง เขา้ 2. การมอบหมายหน้าท่บี ุคลากรมี เข้ากบั ชุมชนได้ดี กบั ชุมชนได้ดี ความซ้าซ้อน 3. ขาดการนเิ ทศ กากบั ติดตามการ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า 20 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 ประเดน็ การวเิ คราะห์ ประเดน็ ท่เี ปน็ จดุ แข็ง (Strengths) ประเด็นที่เป็นจดุ อ่อน (Weaknesses) ปฏิบัติงานของบุคคลากร ด้านทกั ษะ ความรู้ ความสามารถขององคก์ ร (Skill) : S 6 ครูมคี วามรู้ความสามารถในการ ครไู ด้รับการอบรมพัฒนาด้านการ 1. ครมู ปี ระสบการณใ์ นด้านการจดั การ จัดการเรยี นการสอนอยา่ งมี จดั การเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั เรียนการสอน การปฏบิ ตั งิ าน ประสทิ ธิภาพและเน้นผู้เรยี น และดา้ นการปฏบิ ตั ิงานตามเกณฑท์ ่ี คอ่ นข้างนอ้ ย เปน็ สาคญั กาหนด 2. การจดั การเรียนการสอนที่เน้น ผ้เู รียนเป็นสาคญั ของครูไม่เป็นไป เป้าหมายท่กี าหนดไว้ ด้านค่านิยมรว่ มกันของสมาชกิ ในองค์กร(Shared Values) : S 7 1.ค่านยิ มและบรรทดั ฐานที่ยดึ ถอื บุคลากรรรู้ ัก สามัคคี คา่ นยิ มและบรรทดั ฐานในการปฏบิ ตั งิ าน รว่ มกนั โดยสมาชิกขององค์กรทีไ่ ด้ เพอ่ื องค์กรมีน้อย กลายเปน็ รากฐานของระบบการ บริหาร 2. วิธกี ารปฏิบัตขิ องบุคลากรและ ขาดการส่ือสาร การนาระเบยี บแนว ผู้บริหารภายในองคก์ ร หรืออาจ ปฏิบตั ิไปปฏบิ ตั ทิ ีต่ ่อเน่อื ง เรียกวา่ วฒั นธรรมองคก์ ร สรุปประเด็นจากการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน ประเดน็ ทเ่ี ป็นจดุ แข็ง strengths ประเด็นทเ่ี ปน็ จุดอ่อน (weakness) ดา้ นโครงสร้าง (Structure): S 1 1. สถานศึกษาจดั โครงสร้างการบรหิ ารที่ชดั เจน ขาดการกาหนดมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ าน 2. มกี ารปรบั เปลี่ยนหน้าที่การปฏิบัติงานตาม โครงสรา้ งใหม้ คี วามเหมาะสมกบั การปฏบิ ตั ิงาน ดา้ นกลยุทธ์องคก์ ร (Strategy) S 2 1. มีทิศทางการพฒั นาสถานศึกษาท่ชี ัดเจนสอดคล้อง 1. การบริหารงานโครงการไม่เป็นไปตามเปา้ หมายที่ กบั บริบทของสถานศกึ ษา กาหนด 2. มีการกาหนดโครงสร้างและกิจกรรมทีส่ อดคล้อง 2. การนากลยุทธ์สกู่ ารปฏิบตั ิยงั ไม่เปน็ ระบบ กบั กลยุทธ์และเปา้ ประสงค์ 3. มโี ครงการ งานพิเศษ กิจกรรมนอกเหนือจากใน 3. มกี ารจดั ทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา แผนปฏิบตั กิ าร ทาใหม้ ีปัญหาการตดั จ่าย แผนปฏิบัติการประจาปี งบประมาณ ด้านระบบในการดาเนนิ งานขององคก์ ร (System) : S 3 1. มีระบบการรับนักเรยี นที่ชดั เจน 1. เขตพ้นื ของโรงเรียนเป็นถิน่ ทุรกันดาร ทาให้การ 2. มีการจดั การเรยี นรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษา ครบ บริการไม่ทวั่ ถงึ ชว่ งชนั้ 2. ระบบการวัดและประเมินผลไม่สอดคล้องกบั 3. บคุ ลากรมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาระบบการประกนั สภาพจริง และผลการทดสอบระดบั ชาติ

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า 21 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 ประเดน็ ท่เี ปน็ จุดแข็ง strengths ประเด็นทเ่ี ปน็ จุดอ่อน (weakness) คุณภาพภายในสถานศึกษา 3. ขาดการนาระบบการประกันคณุ ภาพภายใน 4. มกี ารจัดสภาพแวดล้อมทส่ี ะอาด และปลอดภัย สถานศึกษาไปใชใ้ นการปฏิบัติงานใหเ้ กดิ เปน็ เอ้อื ต่อการเรียนรู้ วฒั นธรรมองค์กร 5. มรี ะบบดแู ลนักเรยี นประจาท่ีมีคุณภาพตาม 4. การปลกู ฝงั จิตสานึกในการดูแลรักษาทรัพย์สมบัติ มาตรฐานการดูแลนักเรยี นประจา สว่ นตวั และส่วนรวมยังไม่ประสบผลเท่าทคี่ วร 6. มีการจัดหลักสตู รทหี่ ลากหลายให้นักเรยี นเลือก 5. การรกั ษาผลการประเมินโรงเรียนส่งเสรมิ สุขภาพ เรยี นตามความถนดั และสนใจ 6. ระบบการส่งต่อนักเรียนยงั ไม่ตอ่ เน่อื ง 7. ขาดการจัดกิจกรรมเพ่ือสรา้ งจดุ เน้นที่ชดั เจนเป็น รปู ธรรม 8. กระบวนการจัดการเรียนรไู้ ม่สอดคล้องกบั หลักสตู ร ไม่ตรงตามแผนการจดั การเรยี นรู้ ด้านแบบแผนหรอื พฤตกิ รรมในการบรหิ ารจดั การ (Style) : S 4 1. ผบู้ ริหารมภี าวะผูน้ า มีความสามารถในการบริหาร 1. ขาดการวางแผนร่วมกันในการระหวา่ งกลุ่ม จัดการศึกษา บริหารงานตา่ งๆ ทาใหเ้ กดิ ความล่าชา้ ในการ 2. มีการกระจายอานาจการตัดสินใจใหบ้ ุคลากร ได้ ปฏิบัตงิ าน ใช้ศกั ยภาพทีม่ ีอยปู่ ฏบิ ตั ิงานอย่างเตม็ ท่ี 2. ระบบการนิเทศ กากบั ติดตามงานยงั ไม่ตอ่ เน่ือง 3. มรี ะบบการบรหิ ารแบบมุ่งผลสมั ฤทธ์ิ ทาใหก้ าร ดาเนนิ งานบรรลตุ ามเป้าหมายทก่ี าหนดไว้ 4. ผบู้ ริหารนาหลัก “ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นแนวปฏิบตั ใิ นการพัฒนาโรงเรียน ด้านบคุ ลากร/สมาชิกในองค์กร (Staff) : S5 ครมู คี ณุ ธรรม จริยธรรม ความรู้ ความสามารถ ตรง 1. บคุ ลากรมีการปรบั เปล่ียนบ่อยตลอดปีไม่ต่อเน่ือง กบั งานทรี่ ับผิดชอบ หม่ันพัฒนาตนเอง เข้ากับชุมชน ในการดาเนนิ งาน ได้ดี 2. การมอบหมายหนา้ ท่ีบุคลากรมีความซา้ ซ้อน 3. ขาดการนิเทศ กากบั ตดิ ตามการปฏิบัติงานของ บุคคลากร ดา้ นทกั ษะ ความรู้ ความสามารถขององค์กร (Skill) : S 6 ครไู ด้รบั การอบรมพัฒนาดา้ นการจัดการเรยี นรทู้ ่ีเน้น 1. ครูมปี ระสบการณใ์ นดา้ นการจัดการเรียนการสอน ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ และด้านการปฏบิ ัติงานตามเกณฑ์ท่ี การปฏิบตั ิงาน ค่อนข้างน้อย กาหนด 2. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผ้เู รยี นเป็นสาคัญ ของครูไมเ่ ป็นไปเปา้ หมายท่ีกาหนดไว้ ดา้ นค่านยิ มร่วมกนั ของสมาชกิ ในองค์กร(Shared Values) : S 7 บคุ ลากรรูร้ ัก สามัคคี 1. ค่านิยมและบรรทัดฐานในการปฏบิ ัติงานของ องค์กรมีน้อย 2. ขาดการสื่อสาร การประสานงาน ระหว่างกลุ่ม บรหิ ารงานตา่ งๆ ในการปฏบิ ตั งิ าน

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 22 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 3. ผลการวิเคราะห์สภาพภายนอก และสภาพภายใน 3.1 การประเมินสถานภาพปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก (C-PEST) รายการปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก น้าหนัก คะแนนเฉลีย่ น้าหนกั คะแนนเฉล่ยี สรุปผลการ โอกาส อุปสรรค โอกาส อุปสรรค วิเคราะห์ 1. ด้านพฤตกิ รรมของลูกค้า (Customer Behavior : C) 0.26 1.24 - 2.06 0.32 -0.54 -0.21 2. ปจั จัยด้านการเมืองและกฎหมาย 0.16 2.15 - 1.94 (Political and legal : P) 0.15 1.96 - 1.74 0.34 -0.31 0.03 3. ด้านเศรษฐกจิ (Economic:E) 0.22 2.32 - 1.52 0.21 2.04 - 1.55 0.29 -0.26 0.03 4. ดา้ นสังคมและวฒั นธรรม (Social-Cultural : S) 0.51 -0.33 0.18 5. ด้านเทคโนโลย(ี Technological : T) 0.43 -0.33 0.10 0.13 รวม 1.00 3.2 การประเมินสถานภาพปัจจยั สภาพแวดล้อมภายใน (7S) รายการปจั จัยสภาพแวดล้อมภายใน น้าหนัก คะแนนเฉล่ยี น้าหนกั คะแนนเฉลยี่ สรุปผลการ จดุ แขง็ จดุ ออ่ น จดุ แขง็ จุดออ่ น วเิ คราะห์ 0.34 -0.16 0.18 1. ด้านโครงสร้าง structure :S1 0.13 2.61 - 1.24 -0.02 2. ด้านกลยุทธอ์ งค์กร strategy:S2 0.12 1.69 - 1.82 0.20 -0.22 -0.12 3. ดา้ นระบบในการดาเนนิ งานขององค์กร 0.17 1.38 - 2.10 0.23 -0.36 system:S3 0.15 2.08 -1.47 0.31 -0.22 0.09 4. ดา้ นแบบแผนหรือพฤตกิ รรมในการ 0.16 1.61 -2.05 0.26 -0.33 บรหิ ารจัดการ style:S4 0.15 1.18 - 2.65 0.18 -0.40 -0.07 5. ด้านบุคลากร/สมาชิกในองคก์ ร 0.12 1.16 -2.18 0.19 -0.35 staff: S5 1.00 -0.22 6. ด้านทกั ษะ ความรู้ ความสามารถของ องค์กร skill:S6 -0.16 7. ดา้ นค่านิยมร่วมกันขององคก์ ร -0.32 share values:S7 รวม

แผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 หน้า 23 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 แผนภาพแสดงสถานภาพของ โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ จากแผนภาพ สถานภาพของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่ อยใู่ นสถานะ เอื้อ และอ่อน(QUESTIOM MARK) ซงึ่ หมายถึง ปัจจัยภายนอก ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยด้านการเมืองและกฎหมาย , ด้านเศรษฐกิจ , ดา้ นสังคมและ วฒั นธรรม และดา้ นเทคโนโลยีเปน็ โอกาสท่สี ง่ เสริมสนบั สนุนให้โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 พฒั นา คุณภาพไดอ้ ย่างดี ปจั จัยภายใน ประกอบด้วย ดา้ นกลยทุ ธ์องคก์ ร ดา้ นระบบในการดาเนนิ งานขององค์กร ด้านแบบ แผนหรอื พฤตกิ รรมในการบริหารจดั การ ดา้ นบคุ ลากร/สมาชิกในองค์กร ด้านทกั ษะ ความรู้ ความสามารถ ขององค์กร ด้านคา่ นยิ มรว่ มกันขององค์กร เป็นจดุ อ่อนที่ต้องนามาวเิ คราะห์ วางแผนเพื่อการพฒั นาโรงเรียน ในลาดับต่อไป กลยุทธ์ท่ีโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จงั หวดั เชียงใหม่ จะตอ้ งกาหนดเพ่ือนาไปสู่เปา้ หมาย คือ กลยทุ ธ์ “การทางานเปน็ ทมี ”

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หนา้ 24 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 สว่ นท่ี 3 ทศิ ทางการจัดการศึกษา

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า 25 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 ส่วนท่ี 3 ทศิ ทางการจัดการศกึ ษา ทศิ ทางการจัดการศกึ ษา ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ 1. วิสยั ทัศน์ (Vision) ภายในปี พ.ศ.2564 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ มีระบบการจัดการศึกษาที่ มคี ณุ ภาพ มคี รูมืออาชพี ผูเ้ รียนมีคุณลักษณะตามหลักสูตร และเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง คานยิ ามวสิ ัยทัศน์ 1. ระบบการจดั การศกึ ษาทีม่ คี ุณภาพ หมายถึง กระบวนการในการทางานโดยมผี บู้ รหิ ารสถานศกึ ษาปฏิบัติ ภารกิจอย่างเป็นระบบในสถานศึกษาที่ดาเนินการ การบริหารงานในสถานศึกษาเป็นกระบวนการ ดาเนินงานของกลุ่มผู้บริหารเพ่ือต้องการพัฒนาหรือให้บริการทางการศึกษาแก่สมาชิกในสังคม ให้เป็นไป ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นบุคคลสาคัญท่ีมีบทบาทและมีอานาจหน้าท่ีในการ บริหารจัดการสถานศึกษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามเป้าหมายที่องค์การได้กาหนดไว้และสามารถบริการ ทางการศึกษาแก่สังคมไดเ้ ปน็ อย่างดี 2. ครูมอื อาชีพ หมายถึง ครทู ี่เป็นครูด้วยใจรัก มีความพร้อมในทุก ๆ ด้านท่ีจะเป็นครู ประพฤติตัวดี วางตัว ดี เอาใจใส่และดูแลศิษย์ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีด้วยจติ วิญญาณของความเปน็ ครู ครูทไี่ ดร้ ับการพฒั นาอย่างต่อเนื่อง จนมีความรู้ ทักษะความสามารถในการจัดกิจกรรมให้แก่ผู้เรียนและได้รับการยกย่อง ครูที่มีสมรรถนะใน ด้านความสามารถในการจดั การเรียนการสอน การประเมนิ องคร์ วมท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การพัฒนาและ ประเมนิ หลกั สตู ร การศกึ ษาค้นคว้าวิจยั การเป็นผู้นา การส่งเสริมและแก้ปัญหาของผู้เรียน ตลอดจนสร้าง ความสัมพนั ธแ์ ละร่วมมอื กบั ชมุ ชน ครูมอื อาชีพพงึ ประพฤติตามหลกั ปฏบิ ัติ โดยตั้งตนอยู่ในธรรม 5 ประการ 1. จัดกระบวนการเรียนรู้ใหม้ ีข้ันตอนถูกลาดับ 2. จบั จดุ สาคัญมาขยายใหเ้ ข้าใจเหตุผล 3. ตั้งจิตเมตตาสอนดว้ ยความปรารถนาดี 4. ไม่มจี ิตเพ่งเล็ง มงุ่ เหน็ แก่อามสิ 5. วางจิตตรงไม่กระทบตนและผ้อู ่ืน ครูมอื อาชีพมี 4 รู้ 1. รู้จักรัก 2. รจู้ ักให้ 3. รู้อภัย

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 หนา้ 26 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 4. รู้เสียสละ ครูมืออาชีพมี 5 ว. 1. วนิ ัย 2. วชิ า 3. วิธี 4. วิจารณญาณ 5. เวลา 3. คณุ ลกั ษณะตามหลกั สูตร หมายถงึ คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้น พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ดงั นี้ 1. รกั ชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์ 2. ซื่อสตั ย์สจุ ริต 3. มวี ินัย 4. ใฝเ่ รยี นรู้ 5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 6. ม่งุ มน่ั ในการทางาน 7. รกั ความเป็นไทย 8. มจี ติ สาธารณะ 4. ศักยภาพอาชีพ หมายถึง ภาวะแฝง, อานาจ หรือคุณสมบัติท่ีแฝงอยู่ในสิ่งต่าง ๆ ซ่ึงอาจทาให้พัฒนา หรือทาใหป้ รากฏด้านความสามารถทางอาชีพขน้ึ มาอย่างเห็นได้ชดั . 5. ศักยภาพด้านศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และกีฬา หมายถึง ภาวะแฝง, อานาจ หรือคุณสมบัติที่แฝงอยู่ใน สิ่งต่าง ๆ ซึ่งอาจทาให้พัฒนา หรือทาให้ปรากฏด้านความสามารถทางศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ และกีฬา ข้ึนมาอย่างเหน็ ได้ชัด. 6. ศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ศูนย์การเรียนรู้ท่ีน้อมนาปรัชญา หรือแนวปฏิบัติ ซึ่ง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงปรารถนาจะให้รากแก้วในสังคมได้ยึดเป็นแนว ดารงชวี ิตเพ่ือความอยู่ดกี ินดี ซง่ึ องคป์ ระกอบสาคัญของเศรษฐกิจพอเพียงมีด้วยกัน 7 ข้อ คือ พ่ึงพาตนเอง พอประมาณ เดินสายกลาง มีภูมิคุ้มกัน มีเหตุผล เป็นคนดี และรู้รักสามัคคี โดยหลักสาคัญทั้ง 7 ข้อน้ี คน ทุกกลุ่มทกุ อาชีพสามารถนอ้ มนาไปประยกุ ต์ใช้ในการดาเนินชีวิตให้ได้มากทสี่ ุดเทา่ ที่จะทาได้ 2. พนั ธกจิ (Misson) 1. พฒั นาระบบการจดั การศึกษาให้มีคุณภาพ 2. เปน็ ครมู ืออาชพี 3. พฒั นาและส่งเสริมให้ครเู ป็นครูมอื อาชีพ 4. พฒั นาและสง่ เสริมให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะตามหลักสตู ร

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หนา้ 27 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 5. พัฒนาและสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนค้นพบศักยภาพของตนเองด้านอาชีพ 6. พฒั นาและสง่ เสริม สนบั สนุนใหผ้ เู้ รยี นคน้ พบศกั ยภาพของตนเองดา้ นศลิ ปะ นาฏศลิ ป์ ดนตรี และกีฬา 7. พัฒนาอาคารสถานท่ีส่ิงแวดลอ้ ม แหล่งเรียนรู้ใหเ้ ออื้ ตอ่ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพยี ง 8. พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 3. เปา้ ประสงค์ (Goals) 1. โรงเรยี นมีการจัดทามาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ทุกกลุม่ บรหิ ารงาน 2. โรงเรียนมรี ะบบการนเิ ทศ กากับ ตดิ ตามงานทีเ่ ปน็ ระบบ 3. สนับสนุนใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ งนาระบบการบริหารงานโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน (SBM) มาขับเคลอื่ นการ ดาเนินงานให้มปี ระสทิ ธภิ าพ 4. โรงเรยี นมรี ะบบการบรหิ ารจัดการเรยี นร่วมโดยใช้โครงสร้าง SEAT (Student Environment Activities Tools ) โดยใชร้ ะบบ ICT ในการบริหารจดั การขอ้ มูลผู้เรียนอย่างเป็นระบบ 5. โรงเรยี นมีระบบการบรหิ ารงานโดยใช้ ICT พร้อมคูม่ ือการใชง้ านในระบบ ICT และมีการนเิ ทศกากับ ตดิ ตามเพ่ือกระบวนการทดสอบในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขระบบใหม้ ีประสิทธภิ าพ 6. สนับสนนุ ให้กลมุ่ บริหารงาน นาระบบการบรหิ ารงานโดยใช้วงจรคณุ ภาพ ของเดมม่ิง (PDCA) 7. สนบั สนุนใหค้ รู บคุ ลากรและนักเรียนมีคา่ นิยมร่วม รักศกั ดศิ์ รี มีคณุ ธรรม นาวชิ าการ สืบสานงาน พระราชดาริฯ 8. โรงเรยี นมรี ะบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษาท่ีมปี ระสทิ ธิภาพ โดยมีระบบจัดเก็บข้อมูล ใน รปู แบบของ Data base 9. โรงเรียนมีระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ทเ่ี สถยี รภาพ 10. ครูไดร้ ับการพัฒนาให้มีหรือเล่ือนวิทยฐานะสาหรับข้าราชการครูตามเกณฑ์ 11. ครมู ีการจัดทาและพัฒนาหลักสูตรเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศกึ ษา 12. ครูมกี ารออกแบบหนว่ ยการเรยี นรูท้ ่สี อดคลอ้ งกับมาตรฐานและตวั ชี้วดั 13. ครมู ีการจัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้ /แผนการจดั การศกึ ษาเฉพาะบุคคล (IEP) /แผนการสอน รายบคุ คล (IIP) /แผนการจัดประสบการณ์ ทเี่ หมาะสมกับผู้เรียน 14. ครมู ีกลยุทธใ์ นการจัดการเรยี นรู้ที่กระต้นุ ให้ผเู้ รยี นเกดิ การเรียนรูอ้ ยา่ งเต็มศักยภาพ 15. ครูมีการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นไปตามคา่ เป้าหมายทีส่ ถานศึกษากาหนด

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 28 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 16. ครูมกี ารสรา้ งและพฒั นา สอื่ นวตั กรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งเรยี นรู้ทส่ี นับสนนุ การ พฒั นาการเรยี นรู้ของผู้เรยี น 17. ครมู ีวธิ ีการวัดและประเมินผลการเรียนรทู้ ี่หลากหลายและประเมนิ ตามสภาพจรงิ 18. ครนู าวธิ กี ารวจิ ัยทางการศึกษามาพัฒนาการการจัดกิจกรรมการเรียนรูท้ ี่มงุ่ พฒั นาผู้เรยี นใหเ้ ต็มตาม ศกั ยภาพ 19. ครจู ดั ห้องเรียน หอ้ งปฏบิ ัติการ ท่ีเหมาะสม เออ้ื ต่อการจัดการเรียนรู้ และมีวธิ กี ารบริหารจัดการชั้น เรียนเชิงบวก 20. ครนู าระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรยี นมาใชใ้ นการดูแลนกั เรยี นประจา 21. ครูให้จดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศ และเอกสารประจาชั้นเรียนหรอื ประจาวชิ า อยา่ งถูกต้อง ครบถว้ น 22. ครูมกี ารพัฒนาตนเองด้านวิชาชีพด้วยวิธกี ารตา่ งๆทหี่ ลากหลาย อยา่ งต่อเน่อื ง 23. ครูมีการพัฒนาวิชาชีพอยา่ งเหมาะสม 24. ผู้เรยี นในแตล่ ะระดับชัน้ มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น และการคิดคานวณ 25. ผู้เรยี นได้รับการพฒั นาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานการจดั การศึกษาที่ สถานศกึ ษากาหนด 26. ผู้เรียนได้เข้ารว่ มกจิ กรรมจติ อาสา ตามวาระและโอกาสท่ีเหมาะสม 27. ผู้เรียนไดร้ บั โอกาสในการพฒั นาสมรรถนะทส่ี าคัญตามหลักสูตร อย่างเหมาะสม 28. ผู้เรียนได้รับการพฒั นาคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามที่กาหนดไว้ในหลกั สตู รและตามอัตลักษณ์ของ สถานศกึ ษา 29. ผู้เรียนได้รบั การพฒั นาให้มที กั ษะการดารงชวี ิตตามหลกั สูตรของโรงเรยี นการศึกษาสงเคราะห์ 30. ผู้เรียน ได้รบั การพฒั นาใหม้ คี วามรู้ ทักษะ และเจตคตทิ ีด่ ตี อ่ อาชพี 31. ผู้เรยี นในระดบั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ม. 1 - 3 ไดร้ ับการพัฒนาให้มที กั ษะในการประกอบอาชพี ตาม ความถนัดและความสนใจของแตล่ ะบุคคล 32. ผู้เรียนในระดบั มัธยมศึกษา ม. 4-6 ได้รบั การพฒั นา ทาให้มแี นวทางในการวางแผนเพื่อการศึกษา ตอ่ หรือ การนาไปประกอบอาชพี ในอนาคต 33. ผเู้ รียนได้รบั การส่งเสรมิ สนบั สนุนใหม้ คี วามสามารถด้านศลิ ปะ นาฎศิลป์ ดนตรี และกีฬาตามความ ถนดั และความสนใจของแตล่ ะบุคคล 34. ผเู้ รยี นท่มี คี วามสามารถพิเศษได้รบั การส่งเสรมิ สนบั สนุนให้มคี วามเปน็ เลิศด้านศิลปะ นาฏศลิ ป์ ดนตรี และกีฬา ตามศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า 29 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 35. โรงเรียนมรี ะบบการดูแลอาคารสถานท่สี ิ่งแวดล้อม ใหม้ คี วามมน่ั คงปลอดภัย เอ้ือตอ่ การจัดการ เรียนร้แู ละการอยโู่ รงเรียนประจา 36. โรงเรียนมีแหล่งเรียนร้หู ลากหลาย ทส่ี ามารถศึกษาเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง 37. ครทู ุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้จัดทาแผนการเรยี นรูท้ บ่ี รู ณาการหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และ งานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น 38. มีการประสานงานกับหนว่ ยงาน ชุมชนเพอ่ื การจดั การศึกษาหน่วยงาน ชุมชนมสี ่วนร่วมในการจัด การศึกษา 39. โรงเรยี นมีการพัฒนาหลักสตู รใหเ้ หมาะสมกับสภาพผเู้ รยี นและบริบทของสถานศกึ ษา 4. อัตลักษณ์ “สุขภาพดี คุณธรรมเดน่ เป็นจิตอาสา” 4.1 สขุ ภาพดี หมายถึง สุขภาพดีคือการมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตและสวัสดิภาพทางสังคม อยู่ ในสภาพดี 4.2 คุณธรรมเด่น หมายถึง พฤติกรรมท่ีแสดงถึงมาตรฐานทางศีลธรรม และเป็นรูปแบบของ ความคิดและการกระทาบนพื้นฐานของมาตรฐานทางศีลธรรม คุณธรรมอาจนับรวมในบริบทกว้าง ๆ ของค่านิยม บคุ คลแต่ละคนละมีแก่นของคา่ นิยมภายใจท่ี เปน็ หลักของความเชอ่ื ความคิด ความเห็น ของคน ๆ นน้ั 4.3 เป็นจิตอาสา หมายถึง ผู้ที่มีจิตใจที่เป็นผู้ให้ เช่น ให้สิ่งของ ให้เงิน ให้ความช่วยเหลือด้วย กาลังแรงกาย แรงสมอง ซ่ึงเป็นการเสียสละ ส่ิงท่ีตนเองมี แม้กระทั่งเวลา เพื่อเผ่ือแผ่ ให้กับส่วนรวม... อีกทั้งยัง ชว่ ยลด \"อัตตา\" หรอื ความเปน็ ตัว เป็นตน ของตนเองลงไดบ้ า้ ง 5. เอกลกั ษณ์ “อทุ ยานการเรยี นรู้” 5.1 คานิยามเอกลักษณ์ อทุ ยานการเรยี นรู้ หมายถึง พน้ื ท่ีการเรยี นรู้ ทีเ่ ต็มไปดว้ ยความรใู้ ห้ผคู้ นทเี่ ขา้ มาได้รบั ความรู้ตดิ ตวั กลบั ไป

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 30 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 6. มาตรฐานการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31มมี าตรฐานการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ประกอบดว้ ย 3 มาตรฐาน ดงั นี้ มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น ๑.๑ ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รียน ๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่อื สาร และการคิดคานวณ ๒) มคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ น ความคดิ เหน็ และแก้ปญั หา ๓) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม ๔) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ๕) มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา ๖) มีความรู้ ทกั ษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ี่ดีต่องานอาชพี ๑.๒ คณุ ลกั ษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผู้เรียน ๑) การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มทด่ี ีตามท่สี ถานศึกษากาหนด ๒) ความภูมใิ จในท้องถ่ินและความเปน็ ไทย ๓) การยอมรบั ทจี่ ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ๔) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ ๒.๑ มเี ป้าหมายวสิ ัยทศั น์ และพนั ธกจิ ท่ีสถานศึกษากาหนดชัดเจน ๒.๒ มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา ๒.๓ ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทุกกลุม่ เป้าหมาย ๒.๔ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวิชาชีพ ๒.๕ จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทีเ่ อื้อต่อการจัดการเรียนรูอ้ ย่างมีคุณภาพ ๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนบั สนุนการบริหารจัดการ และการจดั การเรียนรู้ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคัญ ๓.๑ จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบตั ิจรงิ และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ ได้ ๓.๒ ใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ่ีเอ้ือตอ่ การเรียนรู้ ๓.๓ มีการบริหารจดั การชน้ั เรยี นเชิงบวก ๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผูเ้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผู้เรียน ๓.๕ มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลับเพ่อื พฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 31 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 7. กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา กลยุทธท์ ่ี 1 ด้านการพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการศกึ ษา วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื ให้สถานศึกษามีการบริหารจัดการศึกษาที่เป็นระบบ มีประสทิ ธิภาพและเกิดประสิทธผิ ล มาตรการ 1. โรงเรียนมีการจัดทามาตรฐานการปฏิบัตงิ าน ทุกกล่มุ บริหารงาน 2. โรงเรียนมีระบบการนิเทศ กากบั ติดตามงานทเี่ ป็นระบบ 3. สนับสนนุ ใหผ้ ้เู กย่ี วข้องนาระบบการบรหิ ารงานโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน (SBM) มาขับเคลื่อนการ ดาเนนิ งานให้มีประสทิ ธิภาพ 4. โรงเรยี นมรี ะบบการบริหารจัดการเรยี นรว่ มโดยใชโ้ ครงสรา้ ง SEAT (Student Environment Activities Tools ) โดยใช้ระบบ ICT ในการบรหิ ารจดั การข้อมลู ผ้เู รยี นอยา่ งเป็นระบบ 5. โรงเรยี นมีระบบการบริหารงานโดยใช้ ICT พร้อมคู่มือการใช้งานในระบบ ICT และมกี ารนิเทศ กากบั ตดิ ตามเพอ่ื กระบวนการทดสอบในการปรับปรุงแกไ้ ขระบบให้มีประสทิ ธิภาพ 6. สนบั สนุนใหก้ ลมุ่ บริหารงาน นาระบบการบริหารงานโดยใชว้ งจรคุณภาพ ของเดมมิ่ง (PDCA) 7. สนับสนุนใหค้ รู บุคลากรและนักเรยี นมีค่านิยมร่วม รกั ศักด์ิศรี มคี ณุ ธรรม นาวชิ าการ สืบสาน งานพระราชดาริฯ 8. โรงเรยี นมีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษาทม่ี ีประสทิ ธภิ าพ โดยมรี ะบบจดั เก็บ ขอ้ มูล ในรปู แบบของ Data base 9. โรงเรยี นมีระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ทีเ่ สถยี รภาพ ตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ 1. โรงเรยี นมีมาตรฐานการปฏิบัติงานทุกกลุ่มบริหารงานท่ีชัดเจนและสามารถนาไปปฏิบัติได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ 2. โรงเรยี นมกี ารนเิ ทศ กากับติดตามการดาเนนิ งานอย่างเปน็ ระบบ 3. ผ้ปู ฏิบัติงานมกี ารรายงานผลการกากบั ตดิ ตามการทางาน ทกุ ไตรมาส 4. โ รงเรยี นมคี ู่มอื การใชง้ านในระบบ ICT ๕. ร้อยละ 70 ของผู้ปฏิบัติงานนาระบบการกระจายอานาจ(SBM) มาใช้ในการปฏิบัติงานให้มี ประสทิ ธิภาพ ๖. ร้อยละ 100 ของนักเรียนที่มีความต้องการจาเป็นพิเศษ ได้รับบริการทางการศึกษาตาม โครงสร้าง โครงสร้าง SEAT (student environment activities tools ) ทาให้มีพัฒนาการ การเรยี นรทู้ ี่ดีข้ึน

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า 32 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 ๗. โรงเรียนมรี ปู แบบการนิเทศกากับติดตามอย่างเป็นระบบ โดยระบบICT อย่างครบวงจร พร้อมทั้ง นาขอ้ มลู สารสนเทศมาทาเปน็ ระบบสนับสนุนการตดั สนิ ใจ DSS (Decision Support System ) ๘. ร้อยละ 70 ของผู้ปฏิบัติงานทุกกลุ่มนาระบบการบริหารงานโดยใช้วงจรคุณภาพ ของเดมมิ่ง (PDCA)มาใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน ๙. ร้อยละ 80 ของครู บุคลากรและนกั เรียน มีคา่ นิยมร่วมรักศักด์ิศรี มคี ุณธรรม นาวิชาการ สืบสาน งานพระราชดารฯิ ๑๐. โรงเรียนมีระบบจัดเก็บข้อมูล ในรูปแบบของ Data base ครอบคลุมมาตรฐานการศึกษาของ โรงเรยี น 11. ร้อยละ 70 ของผูเ้ ก่ยี วข้องพึงพอใจตอ่ ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ กลยุทธท์ ี่ ๒ ดา้ นการสง่ เสริม สนบั สนนุ ให้ครปู ฏิบตั ิงานตามบทบาทหนา้ ที่อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อพฒั นาครู มีความรคู้ วามสามารถ และปฏบิ ัติงานตามบทบาทหน้าท่ีได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ มาตรการ 1. ครไู ด้รบั การพัฒนาใหม้ ี หรอื เล่อื นวิทยฐานะสาหรับขา้ ราชการครตู ามเกณฑ์ 2. ครมู ีการจดั ทาและพัฒนาหลักสตู รเพื่อพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา 3. ครมู ีการออกแบบหนว่ ยการเรียนรูท้ ีส่ อดคล้องกับมาตรฐานและตวั ช้ีวดั 4. ครูมีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ /แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) /แผนการสอน รายบคุ คล (IIP) /แผนการจัดประสบการณ์ ท่เี หมาะสมกบั ผเู้ รียน 5. ครูมีกลยทุ ธใ์ นการจัดการเรยี นรู้ทีก่ ระตนุ้ ให้ผเู้ รียนเกิดการเรียนรูอ้ ย่างเต็มศกั ยภาพ 6. ครมู กี ารพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นเปน็ ไปตามค่าเปา้ หมายทีส่ ถานศึกษากาหนด 7. ครูมีการสร้างและพัฒนา ส่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งเรียนรู้ที่สนับสนุน การพฒั นาการเรยี นรู้ ของผู้เรียน 8. ครมู ีวธิ ีการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ท่ีหลากหลายและประเมนิ ตามสภาพจริง 9. ครูนาวิธีการวิจัยทางการศึกษามาพัฒนาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เต็ม ตามศักยภาพ 10. ครูจดั หอ้ งเรยี น หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ทเ่ี หมาะสม เอ้ือต่อการจัดการเรยี นรู้ และมีวธิ ีการบริหารจัดการ ชนั้ เรียนเชิงบวก 11. ครนู าระบบการดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนมาใช้ในการดแู ลนกั เรยี นประจา 12. ครูใหจ้ ัดทาขอ้ มูลสารสนเทศ และเอกสารประจาช้ันเรยี นหรือประจาวิชา อยา่ งถูกตอ้ ง ครบถ้วน

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 33 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 13. ครูมีการพัฒนาตนเองด้านวชิ าชีพดว้ ยวธิ กี ารต่างๆท่หี ลากหลาย อย่างต่อเน่ือง 14. ครูมีการพัฒนาวิชาชีพอยา่ งเหมาะสม ตวั ชี้วัดความสาเรจ็ 1. ครูรอ้ ยละ 90 ขึ้นไปไดร้ บั การพฒั นา หรือขอมี ขอเลอื่ นวิทยฐานะตามเกณฑ์ 2. ครูรอ้ ยละ 90 ขน้ึ ไปมสี ว่ นรว่ มในการจดั ทาและพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษาเพื่อพฒั นาคุณภาพ การจดั การศึกษา 3. ครรู ้อยละ 90 ขนึ้ ไปมีการออกแบบหนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ีสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานและตวั ชี้วดั 4. ครูร้อยละ 90 ขึ้นไปมีการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ /แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (IEP) /แผนการสอนรายบคุ คล (IIP) /แผนการจดั ประสบการณ์ ทีเ่ หมาะสมกบั ผู้เรียน 5. ครูร้อยละ 90 ขึ้นไปมีกลยุทธ์ในการจัดการเรียนรู้ที่กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างเต็ม ศักยภาพ 6. ครูร้อยละ 90 ข้ึนไป มีผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเป็นไปตามค่าเป้าหมายท่ีสถานศึกษา กาหนด 7. ครรู ้อยละ 90 ข้ึนไปมกี ารสร้างและพัฒนา ส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยีทางการศกึ ษา และแหลง่ เรยี นรู้ทีส่ นบั สนนุ การพฒั นาการเรยี นร้ขู องผู้เรยี น 8. ครรู ้อยละ 90 ขึ้นไปมีวิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่หลากหลายและประเมินตามสภาพ จรงิ 9. ครรู ้อยละ90 ขึน้ ไปจดั ทาวจิ ัยเพ่อื พฒั นาผู้เรยี นภาคเรยี นละ 1 เร่ือง 10. ครรู อ้ ยละ 90 ขึ้นไปนาวธิ บี ริหารจดั การชนั้ เรยี นเชิงบวกมาใช้ในการดูแลช่วยเหลือนักเรยี น 11. ครูร้อยละ 90 ข้ึนไปดาเนินการดูแลช่วยเหลือนักเรียนตามขั้นตอนระบบการดูแลช่วยเหลือ นักเรยี นอยา่ งถูกต้องและเหมาะสม 12. ครูร้อยละ 90 ข้ึนไป จดั ทาข้อมลู สารสนเทศ และเอกสารประจาช้นั เรียนอยา่ งครบถ้วน และสามารถนามาใชไ้ ดจ้ รงิ 13. ครรู อ้ ยละ 90 ขึ้นไปได้เขา้ ร่วมการพัฒนาตนเองไม่นอ้ ยกว่า 20 ชั่วโมงตอ่ ภาคเรยี น 14. ครรู ้อยละ 70 ขึ้นไป ไดร้ บั การยกยอ่ งเชดิ ชูเกยี รติด้านวชิ าชีพครูจากหน่วยงานภายนอก กลยุทธ์ท่ี 3 ด้านการเร่งรดั พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียนให้เปน็ ไปตามมาตรฐาน วตั ถุประสงค์ เพ่ือพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้บรรลุตามมาตรฐาน การศึกษาของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชยี งใหม่

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 หน้า 34 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 มาตรการ 1. ผู้เรยี นในแต่ละระดบั ชัน้ มคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น และการคิดคานวณ 2. ผู้เรียนไดร้ ับการพฒั นาผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนให้เปน็ ไปตามมาตรฐานการจัดการศึกษาที่ สถานศึกษากาหนด 3. ผู้เรยี นได้เขา้ ร่วมกิจกรรมจติ อาสา ตามวาระและโอกาสท่ีเหมาะสม 4. ผเู้ รยี นไดร้ บั โอกาสในการพฒั นาสมรรถนะท่ีสาคญั ตามหลักสูตร อยา่ งเหมาะสม 5. ผู้เรยี นไดร้ ับการพัฒนาคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ตามทกี่ าหนดไว้ในหลกั สูตรและตามอัตลักษณ์ ของสถานศึกษา 6 ผู้เรยี นได้รบั การพัฒนาใหม้ ีทักษะการดารงชีวติ ตามหลักสูตรของโรงเรยี นการศกึ ษาสงเคราะห์ ตัวชีว้ ัดความสาเรจ็ 1. ร้อยละ 70 ของผเู้ รียน ช้ัน ป. 1 – ป.3 สามารถอา่ นคาพ้ืนฐานไดถ้ ูกต้องตามเกณฑ์ 2. รอ้ ยละ 65 ของผู้เรยี น ชั้น ป. 1 – ป.3 สามารถเขียนคาพื้นฐานได้ถูกตอ้ งตามเกณฑ์ 3. ร้อยละ 65 ของผู้เรยี น ช้นั ป. 1 – ป.3 รูแ้ ละเข้าใจสญั ลักษณ์และการดาเนินการทาง คณิตศาสตร์ (การบวก ลบ) แบบรูปของจานวนท่ีเพม่ิ ขึ้นหรือลดลงเทา่ ๆกัน ได้ถูกต้องตามเกณฑ์ 4. ร้อยละ 80 ของผู้เรยี นช้ัน ป. 4 – ป. 6 สามารถอา่ นคาพ้ืนฐานไดถ้ ูกตอ้ งตามเกณฑ์ 5. รอ้ ยละ 70 ของผู้เรยี นชั้น ป. 4 – ป. 6 สามารถเขยี นคาพนื้ ฐานได้ถูกต้องตามเกณฑ์ 6. รอ้ ยละ 65 ของผู้เรยี น ชนั้ ป. 4 – ป. 6 สามารถรู้และเข้าใจเศษสว่ น ทศนยิ ม และสมการ อย่างง่ายทางคณิตศาสตร์ ได้ถกู ต้องตามเกณฑ์ 7. ผเู้ รยี นร้อยละ 70 มีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ในระดบั ดขี นึ้ ไป 8. ผู้เรียนร้อยละ 90 มชี ่ัวโมงการเข้าร่วมกจิ กรรมจิตอาสาตามโอกาสทเี่ หมาะสมจานวน 100 ชั่วโมง/ปี 9. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 90 ได้รบั การพัฒนาสมรรถนะทีส่ าคัญตามหลักสูตร ระดบั ดขี นึ้ ไป 10. ผ้เู รยี นร้อยละ 90 มคี ุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ในระดับ ดี ขึ้นไป 11. ผู้เรยี นร้อยละ 90 ไดร้ ับการพัฒนาให้มีทกั ษะการดารงชีวติ ตามหลักสตู รของโรงเรียนการศึกษา สงเคราะหร์ ะดับดขี นึ้ ไป กลยุทธ์ที่ 4 ด้านการสง่ เสริม สนับสนนุ ใหผ้ เู้ รยี นคน้ พบศักยภาพของตนเองด้านอาชีพ วตั ถุประสงค์ เพื่อส่งเสรมิ และสนับสนุนให้ผู้เรียนของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวัดเชียงใหม่ ค้นพบศกั ยภาพของตนเองด้านอาชพี

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 หนา้ 35 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 มาตรการ 1. ผเู้ รยี น ไดร้ ับการพัฒนาใหม้ คี วามรู้ ทกั ษะ และเจตคตทิ ี่ดีตอ่ อาชีพ 2. ผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษาปีที่ ม. 1 - 3 ได้รับการพัฒนาให้มีทักษะในการประกอบอาชีพ ตามความถนัดและความสนใจของแต่ละบุคคล 3. ผู้เรียนในระดับมัธยมศึกษา ม. 4-6 ได้รับการพัฒนา ทาให้มีแนวทางในการวางแผนเพ่ือ การศึกษาต่อหรอื การนาไปประกอบอาชพี ในอนาคต ตวั ชว้ี ดั ความสาเร็จ 1. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 100มีความรู้ ทกั ษะ และเจตคตทิ ดี่ ีตอ่ อาชีพ 2. ผเู้ รียนรอ้ ยละ 100 มที กั ษะพนื้ ฐานในการประกอบอาชีพตามความถนดั และความสนใจของ ตนเอง 3. ผู้เรยี นระดบั มธั ยมศึกษา ม. 4-6 รอ้ ยละ 100 สามารถกาหนดแนวทางในการศึกษาต่อหรือ การออกไปประกอบอาชีพในอนาคตได้อย่างเหมาะสมกับศักยภาพของแต่ละบคุ คล กลยทุ ธ์ที่ 5 ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหผ้ เู้ รยี นคน้ พบศักยภาพของตนเองด้านศลิ ปะ ดนตรี และกีฬา วัตถุประสงค์ เพ่อื ส่งเสริมและสนบั สนุนให้ผเู้ รยี นของโรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวัดเชียงใหม่ คน้ พบศกั ยภาพของตนเองดา้ นศิลปะ ดนตรี และกฬี า มาตรการ 1. ผ้เู รียนได้รบั การสง่ เสรมิ สนับสนุนให้มีความสามารถดา้ นศิลปะ นาฎศลิ ป์ ดนตรี และกีฬาตาม ความถนัดและความสนใจของแตล่ ะบคุ คล 2. ผู้เรียนท่ีมคี วามสามารถพิเศษได้รับการสง่ เสริม สนับสนนุ ใหม้ ีความเปน็ เลิศด้านศิลปะ นาฏศลิ ป์ ดนตรี และกีฬา ตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล ตวั ชี้วัดความสาเร็จ 1. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 100 ไดร้ บั การส่งเสรมิ พฒั นาศักยภาพของตนเองดา้ นศิลปะ ดนตรี นาฏศลิ ป์ และกฬี า 2. ผเู้ รียนร้อยละ 10 มคี วามเป็นเลศิ ดา้ นศลิ ปะ 3. ผเู้ รยี นรอ้ ยละ 25 มคี วามเปน็ เลิศดา้ นดนตรีและนาฏศลิ ป์ 4. ผเู้ รยี นร้อยละ 25 มคี วามเปน็ เลิศดา้ นกฬี า

แผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 หน้า 36 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 กลยุทธท์ ่ี 6 พฒั นาอาคารสถานท่ีสงิ่ แวดล้อม แหลง่ เรยี นรใู้ หเ้ อื้อตอ่ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ พฒั นาอาคารสถานทส่ี ิง่ แวดล้อม แหลง่ เรยี นรู้ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ เพอื่ ใหเ้ อ้ือต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสาหรับผูเ้ รยี น ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง มาตรการ 1. โรงเรียนมีระบบการดูแลอาคารสถานทสี่ ง่ิ แวดลอ้ ม ใหม้ ีความม่ันคงปลอดภัย เอื้อต่อการ จัดการเรียนรู้และการอย่โู รงเรียนประจา 2. โรงเรยี นมแี หล่งเรยี นรู้หลากหลาย ทส่ี ามารถศึกษาเรยี นรู้ได้ด้วยตนเอง ตวั ช้ีวัดความสาเรจ็ 1. ร้อยละ 80 ของอาคารสถานท่สี ิ่งแวดลอ้ ม ไดร้ ับการปรับปรงุ พฒั นาให้มี สภาพท่ีมน่ั คงปลอดภยั เอื้อต่อการจดั การเรียนรูแ้ ละการอย่โู รงเรยี นประจา 2. รอ้ ยละ 80 ของแหล่งเรียนรู้ในโรงเรยี น ที่ผ้เู รยี นสามารถศึกษาเรียนรู้ดว้ ยตนเอง 3. โรงเรียนมีระบบการจัดเก็บสารสนเทศการให้บริการแหล่งเรียนร้ใู นโรงเรียนอยา่ งเปน็ ระบบ 4. รอ้ ยละ 80 ของผเู้ กย่ี วขอ้ งทม่ี คี วามพึงพอใจต่อการใชแ้ หลง่ เรียนรู้ กลยุทธท์ ี่ 7 พฒั นาหลักสูตรและกระบวนการจดั การเรียนรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วัตถุประสงค์ เพ่อื พัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจัดการเรยี นรู้ที่มุ่งเนน้ พัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 จงั หวดั เชยี งใหม่ มาตรการ 1. ครูทุกกล่มุ สาระการเรียนรู้จัดทาแผนการเรียนรู้ทีบ่ รู ณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และงานสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรียน ตัวชว้ี ัดความสาเร็จ 1. ครรู อ้ ยละ100 มีการจดั ทาแผนการจัดการเรยี นร้บู ูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรยี น

แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 หนา้ 37 ปี พ.ศ. 2562 – 2564 กลยุทธท์ ี่ 8 สง่ เสริมสนับสนุนการมสี ่วนร่วมในการจัดการศกึ ษา ของทุกภาคสว่ น วตั ถุประสงค์ เพอื่ สง่ เสริมสนบั สนนุ การมสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา ของทกุ ภาคส่วน สาหรบั ผู้เรียนโรงเรียน ราชประชานุเคราะห์ 31 จังหวดั เชยี งใหม่ มาตรการ 1. มีการประสานงานกับหน่วยงาน ชมุ ชนเพื่อการจดั การศึกษาหนว่ ยงาน ชมุ ชนมสี ว่ นร่วมในการ จัดการศึกษา 2. โรงเรยี นมกี ารพัฒนาหลักสูตรใหเ้ หมาะสมกบั สภาพผู้เรยี นและบรบิ ทของสถานศึกษา ตวั ชีว้ ดั ความสาเรจ็ 1. โรงเรยี นจดั ทา website ศูนย์การเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและงานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรยี นเพ่อื การเผยแพร่ผลการดาเนนิ งานและให้บรกิ ารความรู้แกห่ นว่ ยงานอน่ื 2. โรงเรียนมีหลักสูตรการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และงานสวน พฤกษศาสตร์โรงเรยี น เหมาะสมกบั สภาพผู้เรียนและบรบิ ทของสถานศกึ ษา ครบทุกระดับช้นั

สว่ นที่ 4 แผนปฏิบตั ิการระยะ 3 ปี

ส่วน แผนปฏิบตั ิการระยะ 3 ปี (ป กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาระบบการบริหารจัดการศกึ ษา พันธกิจ วตั ถุประสงค์ มาตรการ 1.พัฒนาระบบการ เพ่ือให้สถานศึกษามี 1.โรงเรียนมีการจดั ทา จดั การศกึ ษาให้มี คณุ ภาพ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด มาตรฐานการปฏิบตั งิ าน ทุก การศึกษาที่เป็นระบบ กลุ่มบรหิ ารงาน มีประสิทธภิ าพและเกิด ประสิทธผิ ล 2.โรงเรยี นมรี ะบบการนเิ ทศ กากับ ตดิ ตามงานทีเ่ ป็นระบบ 3.สนับสนุนให้ผเู้ กย่ี วขอ้ งนา ระบบการบริหารงานโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน (SBM) มา ขับเคลอื่ นการดาเนนิ งานใหม้ ี ประสทิ ธภิ าพ

นที่ 4 ปีการศึกษา 2562 - 2564) ตวั ช้ีวัดความสาเร็จ ขอ้ มูลพน้ื ฐาน รอ้ ยละ ความสาเร็จ ผู้รบั ผดิ ชอบ 59 60 61 62 63 64 1.โรงเรยี นมมี าตรฐาน ปาน ปาน ดี ดี ดี ดี การปฏิบัติงานทุกกล่มุ กลาง กลาง เลิศ เลศิ กลุ่ม บริหารงานทช่ี ัดเจนและ บริหารงาน สามารถนาไปปฏบิ ัตไิ ด้ บุคคล อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 2.โรงเรยี นมีการนิเทศ ปาน ปาน ดี ดี ดี ดี บ กากับตดิ ตามการ กลาง กลาง เลศิ เลศิ ดาเนนิ งานอย่างเปน็ ระบบ งานประกนั 3. ผปู้ ฎบิ ัติงานมกี าร คุณภาพ รายงานผลการกากับ การศึกษา ติดตามการทางาน ทุก ไตรมาส 4.โรงเรียนมีค่มู ือการใช้ งานในระบบ ICT 5.รอ้ ยละ 70 ของ ปาน ปาน ดี ดี ดี ดี ผ้ปู ฏบิ ัติงานนาระบบการ กลาง กลาง เลศิ เลศิ ผอู้ านวยการ กระจายอานาจ(SBM) โรงเรยี น มาใช้ในการปฏบิ ตั งิ านให้ มปี ระสทิ ธิภาพ

พนั ธกจิ วัตถปุ ระสงค์ มาตรการ 4.โรงเรียนมรี ะบบการบรหิ าร จัดการเรียนรวมโดยใช้ โครงสร้าง SEAT (Student Environment Activities Tools ) โดยใชร้ ะบบ ICT ใน การบรหิ ารจัดการขอ้ มูลผูเ้ รยี น อย่างเป็นระบบ 5.โรงเรียนมีระบบการ บริหารงานโดยใช้ ICT พร้อม คูม่ อื การใช้งานในระบบ ICT และมีการนิเทศกากับติดตาม เพอ่ื กระบวนการทดสอบในกา ปรบั ปรุงแก้ไขระบบใหม้ ี ประสิทธิภาพ 6.สนับสนนุ ใหก้ ลุม่ บรหิ ารงาน นาระบบการบริหารงานโดยใช วงจรคุณภาพ ของเดมม่งิ (PDCA)

ตัวชว้ี ดั ความสาเรจ็ ขอ้ มูลพนื้ ฐาน รอ้ ยละ ความสาเรจ็ ผู้รบั ผดิ ชอบ 59 60 61 62 63 64 ร 6.ร้อยละ 100 ของ ปาน ปาน ดี ดี ดี ดี นกั เรียนทีม่ ีความ กลาง กลาง เลศิ เลศิ ต้องการจาเป็นพิเศษ ไดร้ บั บรกิ ารทาง การศกึ ษาตามโครงสรา้ ง งานการ น โครงสรา้ ง SEAT จัดการเรยี น (student รวม environment activities tools ) ทา ให้มีพัฒนาการการ เรยี นรูท้ ่ีดีขึ้น 7.โรงเรยี นมีรปู แบบการ ปาน ปาน ดี ดี ดี ดี นิเทศกากบั ติดตามอย่าง กลาง กลาง เลศิ เลศิ เป็นระบบ โดยระบบICT อยา่ งครบวงจร พร้อมทัง้ ผ้อู านวยการ าร นาข้อมลู สารสนเทศมา โรงเรียน ทาเปน็ ระบบสนบั สนุน การตัดสินใจ DSS (Decision Support System ) น 8.รอ้ ยละ 70ของ ดี ดี ดีเลศิ ดี ดี ดี ช้ ผ้ปู ฏิบัติงานทกุ กลุ่มนา เลิศ เลิศ เลิศ ฝา่ ยบริหาร ระบบการบรหิ ารงานโดย ใช้วงจรคุณภาพ ของเดม

พนั ธกจิ วัตถปุ ระสงค์ มาตรการ 7.สนับสนนุ ใหค้ รู บคุ ลากรแล นกั เรยี นมีคา่ นยิ มร่วม รัก ศกั ดศ์ิ รี มีคุณธรรม นาวิชาการ สืบสานงานพระราชดาริฯ 8.โรงเรยี นมีระบบการประกัน คณุ ภาพภายในสถานศึกษาท่ีม ประสทิ ธภิ าพ โดยมรี ะบบ จัดเก็บข้อมลู ในรปู แบบของ Data base 9.โรงเรยี นมรี ะบบเครอื ข่าย คอมพวิ เตอร์ทเ่ี สถยี รภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook