Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา ภาษาไทย พท21001 ม.ต้น

วิชา ภาษาไทย พท21001 ม.ต้น

Description: วิชา ภาษาไทย พท21001

Keywords: วิชา ภาษาไทย พท21001 ม.ต้น กศน.

Search

Read the Text Version

หนังสอื เรยี น สาระความรูพ้นื ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย (พท21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) หลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 หามจาํ หนา ย หนงั สอื เรยี นเลม นี้ จัดพมิ พด วยเงินงบประมาณแผน ดนิ เพื่อการศกึ ษาตลอดชวี ิตสาํ หรบั ประชาชน ลิขสทิ ธเิ์ ปนของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ สํานักงานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

หนงั สอื เรยี นสาระความรพู ื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย (พท21001) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2560 ลขิ สทิ ธเิ์ ปนของ สาํ นกั งาน กศน. สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เอกสารทางวชิ าการหมายเลข 2 /2555

3 คํานํา กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เม่ือวันท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑและวิธีการจัดการศึกษานอก โรงเรยี น ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรที่พัฒนาข้ึนตามหลัก ปรชั ญาและความเชื่อพ้นื ฐานในการจัดการศกึ ษานอกโรงเรยี นที่มีกลุมเปาหมายเปนผูใหญมีการเรียนรู และส่งั สมความรู และประสบการณอ ยา งตอ เนอ่ื ง ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือน นโยบายทางการศึกษาเพื่อเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพ ทีส่ ามารถสรางรายไดท ม่ี ่ังคั่งและมัน่ คง เปน บุคลากรทมี่ ีวินัย เปย มไปดวยคุณธรรมและจรยิ ธรรม และมี จิตสํานึกรับผิดชอบตอตนเองและผูอื่น สํานักงาน กศน. จึงไดพิจารณาทบทวนหลักการ จุดหมาย มาตรฐาน ผลการเรยี นรูทค่ี าดหวัง และเนอ้ื หาสาระ ทงั้ 5 กลมุ สาระการเรยี นรู ของหลกั สูตรการศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งสงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเน้ือหาสาระ เก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมและการเตรียมพรอม เพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาท่ีมี ความเกยี่ วขอ งสมั พันธกนั แตยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพฒั นาหนงั สือท่ีใหผ ูเรียนศึกษาคน ควา ความรูด ว ยตนเอง ปฏิบัตกิ จิ กรรม ทําแบบฝก หดั เพอ่ื ทดสอบความรคู วามเขาใจ มีการอภิปรายแลกเปลี่ยน เรียนรกู ับกลมุ หรอื ศกึ ษาเพิม่ เติมจากภมู ิปญ ญาทอ งถ่ิน แหลงการเรียนรูและสื่ออ่นื การปรับปรุงหนังสือเรียนในครั้งน้ี ไดรับความรวมมืออยางดีย่ิงจากผูทรงคุณวุฒิในแตละ สาขาวิชา และผเู กย่ี วของในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อ ตาง ๆ มาเรียบเรียงเน้ือหาใหครบถวนสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูท่ีคาดหวัง ตัวชี้วัดและ กรอบเน้ือหาสาระของรายวชิ า สํานกั งาน กศน. ขอขอบคุณผมู ีสว นเก่ียวของทกุ ทานไว ณ โอกาสน้ี และ หวังวาหนังสือเรียนชุดน้ีจะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเก่ียวของในทุกระดับ หากมี ขอเสนอแนะประการใด สํานกั งาน กศน. ขอนอมรบั ดว ยความขอบคุณยงิ่

4 สารบัญ หนา คํานํา คาํ แนะนาํ การใชหนงั สือเรียน โครงสรา งรายวชิ า ขอบขายเนอื้ หา บทที่ 1 การฟง การด.ู ........................................................................................... 1 เรอ่ื งที่ 1 หลกั เบอ้ื งตนของการฟง และการดู ..................................................... 2 เรอ่ื งท่ี 2 หลักการฟงเพ่ือจบั ใจความสาํ คัญ....................................................... 3 เรอื่ งที่ 3 หลกั การฟง การดู อยา งมวี ิจารณญาณ .............................................. 6 เรอื่ งท่ี 4 มารยาทในการฟง การดู .................................................................... 6 บทที่ 2 การพดู ................................................................................................. 9 เรื่องที่ 1 สรปุ ความ จับประเดน็ สาํ คญั ของเรอ่ื งทพ่ี ูด..................................... 10 เรื่องที่ 2 การพดู ในโอกาสตาง ๆ .................................................................... 11 เรอ่ื งท่ี 3 มารยาทในการพูด............................................................................ 14 บทท่ี 3 การอาน ...............................................................................................17 เรื่องท่ี 1 การอานในใจ ................................................................................... 18 เรื่องที่ 2 การอา นออกเสยี ง ............................................................................ 18 เรอ่ื งที่ 3 การอา นจบั ใจความสาํ คัญ................................................................ 33 เรอ่ื งท่ี 4 มารยาทในการอาน และนสิ ยั รักการอาน........................................ 38 บทท่ี 4 การเขียน ...............................................................................................40 เรอ่ื งที่ 1 หลกั การเขยี น การใชภาษาในการเขยี น.......................................... 41 เรื่องท่ี 2 หลกั การเขียนแผนภาพความคดิ ...................................................... 43 เรื่องที่ 3 การเขียนเรียงความและยอ ความ ..................................................... 49 เรื่องที่ 4 การเขียนเพ่อื การสื่อสาร.................................................................. 67 เรื่องที่ 5 การสรา งนิสยั รกั การเขียนและการศึกษาคนควา .............................. 80 บทท่ี 5 หลกั การใชภ าษา............................................................................................. 94 เรื่องที่ 1 การใชคําและการสรา งคาํ ในภาษาไทย............................................. 95 เรอ่ื งที่ 2 การใชเคร่ืองหมายวรรคตอนและอกั ษรยอ .....................................105 เรอ่ื งที่ 3 ชนดิ และหนา ท่ีของประโยค...........................................................116

5 เร่อื งท่ี 4 หลกั ในการสะกดคํา.......................................................................121 เรอ่ื งท่ี 5 คําราชาศัพท..................................................................................127 เรื่องท่ี 6 การใชส าํ นวน สุภาษิต คาํ พังเพย..................................................130 เรอื่ งท่ี 7 หลกั การแตง คาํ ประพันธ................................................................135 เร่อื งท่ี 8 การใชภาษาท่เี ปนทางการและไมเปน ทางการ................................141 บทท่ี 6 วรรณคดี และวรรณกรรม ......................................................................144 เรื่องที่ 1 หลกั การพจิ ารณาวรรณคดีและหลกั การพินจิ วรรณกรรม...............145 เรื่องที่ 2 หลกั การพินิจวรรณคดดี านวรรณศลิ ปและดา นสงั คม.....................149 เรอ่ื งที่ 3 เพลงพ้นื บา น เพลงกลอมเดก็ ........................................................155 บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี .................................................168 เรอื่ งท่ี 1 คุณคา ของภาษาไทย ......................................................................169 เรอ่ื งท่ี 2 ภาษาไทยกับชอ งการประกอบอาชีพ..............................................170 เรื่องท่ี 3 การเพิม่ พนู ความรูและประสบการณท างดา นภาษาไทย เพอ่ื การประกอบอาชพี ..................................................................172 เฉลยแบบฝกหดั ......................................................................................................179 บรรณานกุ รม ......................................................................................................184 คณะผูจัดทํา ......................................................................................................186

6 คําแนะนาํ ในการใชหนังสอื เรยี น หนังสือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย พท21001 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน เปนหนงั สอื เรียนท่จี ดั ทาํ ข้นึ สาํ หรบั ผเู รียนที่เปน นักศกึ ษานอกระบบ ในการศึกษาหนงั สือเรียนสาระความรูพื้นฐาน รายวิชาภาษาไทย พท21001 ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน ผเู รยี นควรปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. ศกึ ษาโครงสรางรายวิชาใหเขา ใจในหวั ขอ และสาระสําคญั ผลการเรยี นรูท ค่ี าดหวัง และขอบขา ยเนื้อหาของรายวชิ านนั้ ๆ โดยละเอยี ด 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยา งละเอียด ทํากิจกรรม แลว ตรวจสอบกับ แนวตอบกิจกรรม ถาผเู รียนตอบผิดควรกลับไปศกึ ษาและทาํ ความเขาใจในเน้ือหานั้นใหมใ หเขาใจ กอน ท่จี ะศกึ ษาเรอ่ื งตอ ๆ ไป 3. ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมทา ยเรอ่ื งของแตละเรือ่ ง เพ่อื เปนการสรุปความรู ความเขา ใจของเน้ือหา ในเร่ืองน้ัน ๆ อีกครั้ง และการปฏิบัติกิจกรรมของแตล ะเนื้อหา แตละเรื่อง ผูเ รียนสามารถนําไป ตรวจสอบกบั ครแู ละเพอ่ื น ๆ ท่รี วมเรียนในรายวชิ าและระดับเดยี วกันได 4. หนังสือเรยี นเลม นม้ี ี 7 บท บทที่ 1 การฟง การดู บทท่ี 2 การพูด บทที่ 3 การอา น บทที่ 4 การเขยี น บทที่ 5 หลกั การใชภ าษา บทที่ 6 วรรณคดี และวรรณกรรม บทท่ี 7 ภาษาไทยกบั ชอ งทางการประกอบอาชพี

7 โครงสรา งรายวชิ าภาษาไทย (พท21001) ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน สาระสาํ คญั 1. การอานเปนทักษะทางภาษาท่ีสําคัญเพราะชวยใหสามารถรับรูข า วสารและเหตุการณ ตา ง ๆ ของสงั คม ทําใหปรับตวั ไดกับความเจรญิ กา วหนาทางวิทยาการตา ง ๆ สามารถวิเคราะห วิจารณ และนําความรูไปใชใ นชวี ิตประจาํ วันได 2. การเขยี นเปนการส่ือสารที่จัดระบบความคดิ การเลอื กประเดน็ การเลอื กสรรถอ ยคํา เพอ่ื ถายทอดเปน ตัวอักษรในการสื่อความรู ความคดิ ประสบการณ อารมณ ความรสู ึก จากผูเขียนไปยัง ผอู าน 3. การฟง การดู และการพดู เปนทักษะที่สาํ คญั ของการส่ือสารในการดําเนนิ ชีวติ ประจาํ วนั จงึ จาํ เปนตอ งเขา ใจหลกั การเบอื้ งตน และตอ งคํานึงถงึ มารยาทในการฟง การดูและการพูดดว ย 4. การใชภาษาไทยใหถูกตองตามหลักภาษา ทาํ ใหเกิดความภาคภูมิใจในภูมิปญญาของ คนไทยจึงตองตระหนักถึงความสําคัญของภาษาและตองอนุรักษภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ สบื ตอ ไป 5. การใชทักษะทางภาษาไทยในการแสวงหาความรู การเขาใจระดับของภาษาสามารถ ใชคําพดู และเขยี นไดดี ทําใหเ กดิ ประโยชนตอ ตนเองและสวนรวม 6. วรรณคดไี ทยเปนมรดกของภาษาและวัฒนธรรมท่ีมีคุณคา เปนมรดกทางปญ ญาของคนไทย แสดงถึงความรุง เรืองของวัฒนธรรมทางภาษา เปน การเชดิ ชูความเปนอารยะของชาติ ผลการเรียนรทู ี่คาดหวงั เมื่อศกึ ษาชุดวิชาแลว ผูเรยี นสามารถ 1. จับใจความสําคัญ และเลาเร่ืองได ตีความได อานในใจและอานออกเสียง วิเคราะห วิจารณ ประเมนิ คาได เลอื กหนังสอื และสารสนเทศไดแ ละมีมารยาทในการอานและมนี ิสยั รักการอา น 2. อธิบายการเขียนเบ้ืองตนได เขียนเรียงความ ยอความ เขียนจดหมาย เขียนโตแยง เขียนรายงาน เขียนคาํ ขวัญ เขียนประกาศ เขียนเชิญชวน กรอกแบบรายการ แตงคาํ ประพันธ บอกคุณคา ของถอยคาํ ภาษาและสามารถเลือกใชถอยคาํ ในการประพันธ เขียนอางองิ เขียนเลขไทย ไดถกู ตอ งสวยงาม 3. บอกหลกั เบอ้ื งตน และจดุ มุง หมายของการฟง การดูและการพูดได และสามารถพดู ในโอกาสตา ง ๆ ได 4. บอกลกั ษณะสําคัญของภาษาและการใชภ าษาในการส่ือการ ใชพ จนานุกรมและสารานุกรม ในชีวติ ประจาํ วันได

8 5. บอกชนิดและหนา ท่ขี องคาํ ประโยค และนําไปใชไ ดถ กู ตอง 6. ใชเคร่ืองหมายวรรคตอน อักษรยอ คําราชาศัพท หลักการประชุม การอภิปราย การโตวาที 7. บอกความหมายของวรรณคดีและวรรณกรรม องคประกอบและรูปแบบลักษณะเดนของ วรรณคดีได 8. บอกความหมายของวรรณกรรมมขุ ปาฐะ และวรรณกรรมลายลกั ษณได 9. บอกความหมายและลักษณะเดนของวรรณกรรมทอ งถิน่ ประเภทรปู แบบของวรรณกรรมไทย ปจจบุ นั ได 10. อา นวรรณคดแี ละวรรณกรรม บอกแนวความคิด คา นิยม คุณคา หรอื แสดงความคดิ เหน็ ได 11. บอกลกั ษณะสาํ คัญและคณุ คา ของเพลงพ้นื บาน และบทกลอ มเดก็ พรอมทั้งรอ งเพลงพ้ืนบา น และบทกลอ มเด็กได ขอบขายเน้ือหา บทที่ 1 การฟง การดู บทท่ี 2 การพูด บทที่ 3 การอาน บทท่ี 4 การเขยี น บทที่ 5 หลักการใชภ าษา บทท่ี 6 วรรณคดี และวรรณกรรม บทท่ี 7 ภาษาไทยกับการประกอบอาชีพ

1 บทท่ี 1 การฟง การดู สาระสําคญั การฟง การดู เปนทักษะสําคัญประการหนึ่งของการสื่อสารท่ีเราใชมากท่ีสุดทั้งเร่ืองของ การศึกษาเลา เรียน การประกอบอาชีพ และการดําเนินชีวิตประจําวัน จึงจําเปนจะตองเขาใจหลักการ เบ้ืองตน เพื่อเปนพื้นฐานในการประยุกตใชในข้ันสูงขึ้นไป นอกจากน้ีตองพัฒนาทักษะเหลานี้ใหมี ประสิทธิภาพโดยคาํ นงึ ถงึ มารยาทในการฟง และการดดู วย ผลการเรยี นรทู คี่ าดหวงั ผูเรยี นสามารถ 1. สรุปความจบั ประเด็นสาํ คัญของเรื่องท่ฟี งและดู 2. วิเคราะหความนาเชอ่ื ถือ จากการฟง และดูสอ่ื โฆษณา และขา วสารประจําวนั อยา งมีเหตผุ ล 3. วเิ คราะหการใชน ํา้ เสียง กิรยิ า ทา ทาง ถอยคาํ ของผูพดู อยา งมเี หตผุ ล 4. ปฏบิ ตั ติ นเปนผูมีมารยาทในการฟงและดู ขอบขา ยเนอื้ หา เรื่องที่ 1 หลักเบื้องตน ของการฟง และการดู เร่อื งที่ 2 หลักการฟงเพอ่ื จับใจความสําคญั เรื่องท่ี 3 หลกั การฟง การดู และการพูดอยา งมีวิจารณญาณ เรื่องที่ 4 การมีมารยาทในการฟง และการดู

2 เรื่องที่ 1 หลกั เบอ้ื งตน ของการฟง และการดู หลกั เบือ้ งตนของการฟง และการดู ความหมายของการฟงและการดู การฟงและการดูหมายถึง การรบั รเู รื่องราวตา ง ๆ จากแหลงของเสยี งหรอื ภาพ หรือเหตุการณ ซง่ึ เปน การฟงจากผูพดู โดยตรง หรอื ฟงและดูผานอุปกรณ หรือส่ิงตาง ๆ แลวเกิดการรับรูและนําไปใช ประโยชน โดยตอ งศกึ ษาจนเกิดความถูกตอ ง วอ งไว ไดป ระสิทธิภาพ หลักการฟง และการดูทดี่ ี 1. ตอ งรูจุดมุง หมายของการฟง และดู และตอ งจดบันทึกเพื่อเตือนความจํา 2. ตอ งฟง และดูโดยปราศจากอคติ เพอื่ การวเิ คราะหวิจารณท่ตี รงประเดน็ 3. ใหความรวมมอื ในการฟง และดูดวยการรว มกจิ กรรม จุดมุงหมายของการฟง และการดู การฟง มจี ดุ มงุ หมายที่สาํ คัญ ดังน้ี 1. ฟงเพอื่ จบั ใจความสําคัญไดวาเรือ่ งท่ีฟง น้ันเปนเรอ่ื งเกี่ยวกบั อะไร เกิดข้นึ ท่ีไหน เมื่อไร หรือ ใครทาํ อะไร ที่ไหน เมอ่ื ไร 2. ฟงเพ่ือจับใจความโดยละเอียด ผูฟงตองมีสมาธิในการฟง และอาจตองมีการบันทึกยอ เพอื่ ชว ยความจํา 3. ฟงเพื่อหาเหตุผลมาโตแยงหรือคลอยตาม ผูฟงตองตั้งใจฟงเปนพิเศษ และตองใช วิจารณญาณพิจารณาวาเร่ืองที่ฟงน้ันมีอะไรเปนขอเท็จจริง อะไรเปนขอคิดเห็น และมีความถูกตอง มเี หตุผลนาเชอื่ ถือมากนอ ยเพียงใด ซ่งึ ผูฟ งควรพิจารณาเรื่องราวท่ฟี ง ดว ยใจเปน ธรรม 4. ฟง เพ่ือเกิดความเพลิดเพลิน และซาบซ้ึง ในคุณคาของวรรณคดี คติธรรม และดนตรี ผูฟง ตอ งมคี วามรูใ นเรอื่ งทฟี่ ง เขาใจคาํ ศัพท สญั ลักษณต า ง ๆ และมคี วามสามารถในการตีความ เพื่อใหเกิด ความไพเราะซาบซ้ึงในรสของภาษา 5. ฟงเพ่อื สง เสริมจินตนาการ และความคิดสรางสรรค เปนความคิดที่เกิดข้ึนขณะที่ฟง หรือ หลงั จากการฟง ซึ่งอาจจะออกมาในรูปของงานประพันธ งานศลิ ปะ หรอื การพดู การดูมจี ดุ มงุ หมายที่สาํ คัญ ดังน้ี 1. ดูเพื่อใหร ู เปนการดูเพอ่ื ใหเปนคนทันโลกทันเหตุการณ 2. ดูเพื่อศึกษาหาความรู เปนการดูท่ีชวยสงเสริมการอาน หรือการเรียนใหมีความรูมากขึ้น หรอื มคี วามชดั เจนลมุ ลกึ ข้นึ 3. ดูเพ่ือความเพลดิ เพลนิ เชน ละคร เกมโชว มิวสิควดิ ีโอ

3 4. ดเู พ่ือยกระดบั จิตใจ เปนการดูท่ีจะทําใหจิตใจเบิกบานและละเอียดออน เขาถึงธรรมชาติ และสจั ธรรม ไดแก การชมธรรมชาติ การชมโขน ละคร การดูรายการเก่ยี วกับธรรมะ การดูกีฬา เร่ืองท่ี 2 หลกั การฟงเพอื่ จบั ใจความสาํ คญั การฟง เพื่อจบั ใจความสาํ คัญ เปน การฟงเพอื่ ความรู ผูฟ งตองตง้ั ใจฟงและพยายามสรุป เนื้อหา โดยมหี ลกั การสําคัญ ดังนี้ 1. มีสมาธดิ ี ต้ังใจฟง ติดตามเรื่อง 2. ฟง ใหเ ขาใจและลําดบั เหตกุ ารณใ หดีวา เรอื่ งท่ฟี ง เปนเรอ่ื งของอะไร ใครทาํ อะไร ทีไ่ หน อยา งไร 3. แยกใหออกวา ตอนใดเปนใจความสาํ คญั ตอนใดเปนสว นขยาย 4. บนั ทึกขอ ความสําคัญจากเร่ืองทฟ่ี ง ตวั อยาง การฟง เพ่อื จับใจความสําคญั 1. จับใจความสาํ คัญจากบทรอยแกว รอ ยแกว คือ ความเรียงทส่ี ละสลวยไพเราะเหมาะเจาะดวยเสียงและความหมาย แตไม กําหนดระเบยี บบญั ญตั ิแหง ฉนั ทลกั ษณคอื ไมจ ํากดั ครุ ลหุ ไมกําหนดสัมผัส ตัวอยาง “เห็นกงจักรเปนดอกบัว” สุภาษิต “เห็นกงจักรเปนดอกบัว” นี้โดยมากรูจัก ความหมายกันแพรหลายอยูแลว คือวา เห็นผิดเปนชอบ เชน ตัวอยาง เห็นเพ่ือนของตนคาฝนเถื่อน หามเทาไรก็ไมฟงจนเพื่อนผูนั้นถูกจับเสียเงินเสียทองมากมาย เชนนี้มักกลาวติเตียนทานผูนั้นวา “เห็นกงจักรเปนดอกบัว” (ชมุ นมุ นพิ นธ ของ อ.น.ก.) ใจความสําคัญ เห็นกงจักรเปนดอกบัว คอื เหน็ ผดิ เปนชอบ ตวั อยาง ครอบครัวของเราคนไทยสมัยกอน ผูชายก็ตองเปนหัวหนาครอบครัว ถามาจาก ตระกลู ดีมวี ิชาความรูกม็ ักรบั ราชการ เพราะคนไทยเรานิยมการรับราชการมีเงินเดือน มีบานเรือนของ ตนเองไดกม็ ี เชา เขาก็มี อยูกับบิดามารดาก็ไมนอย ไดเปนมรดกตกทอดกันก็มี ทรัพยสมบัติเหลาน้ีจะ งอกเงยหรอื หมดไปก็อยูท่ีภรรยาผูเปน แมบ า น (แมศรีเรอื น ของทิพยว าณี สนทิ วงศ) ใจความสําคัญ ครอบครวั ไทยสมยั กอ น ผูชายที่มคี วามรนู ยิ มรบั ราชการ ทรัพยส มบตั ทิ ีม่ จี ะ เพ่ิมขึ้นหรือหมดไปกอ็ ยทู ภี่ รรยา

4 2. จบั ใจความสาํ คญั จากบทรอยกรอง รอ ยกรอง คือ ถอ ยคาํ ทีเ่ รยี บเรยี งใหเ ปน ระเบยี บตามบัญญตั ิแหง ฉนั ทลักษณ คือ ตาํ ราวา ดวยการประพันธ เชน โคลง ฉนั ท กาพย กลอน ตวั อยาง ฟงขอความตอ ไปน้แี ลว จบั ใจความสําคญั (ครูหรือนกั ศึกษาเปน ผูอา น) นางกอดจบู ลบู หลังแลว สง่ั สอน อาํ นวยพรพลายนอ ยละหอ ยไห พอไปดศี รสี วสั ดก์ิ าํ จดั ภัย จนเติบใหญย ง่ิ ยวดไดบวชเรียน ลูกผชู ายลายมอื น้นั คอื ยศ เจา จงอตสา หทาํ สมาํ่ เสมียน แลว พาลกู ออกมาขา งทาเกวียน จะจากเจยี นใจขาดอนาถใจ (กาํ เนิดพลายงาม ของ พระสนุ ทรโวหาร (ภ)ู ใจความสําคัญ การจากกนั ของแมล กู คอื นางวนั ทองกับพลายงาม นางวันทองอวยพรให โอวาทและจากกันดวยความอาลยั อาวรณอ ยา งสดุ ซง้ึ ตวั อยาง การฟงบทรอ ยกรองเพอื่ จบั ใจความสาํ คัญ (ครูอานใหฟง ) ถงึ บางแสนแลน สบายจรดชายหาด เดียรดาษคนลงสรงสนาน เสยี งเจ๊ยี วจา วฉาวฉานา สําราญ ลวนเบิกบานแชม ชน่ื ร่ืนฤทยั คลืน่ ซัดสาดฟาดฝงดงั ซูซา ถึงแสงแดดแผดกลา หากลวั ไม เด็กกระโดดโลดเตน เลน น้ําไป พวกผใู หญค อยเฝา เหมือนเขา ยาม เราหยดุ พักกินกลางวันกนั ท่ีน่ี ในรานมผี คู นอยลู น หลาม มอี าหารจีนไทยรสไมท ราม คนละชามอ่ิมแปลม าแคค อ (นิราศสตั หีบ พล.ร.ต.จวบ หงสกลุ ) ฟงบทรอ ยกรองขางบนแลวตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. เรือ่ งอะไร (เท่ยี วชายทะเล) 2. เกี่ยวกับใคร (เดก็ และผใู หญ) 3. ทําอะไร (สงเสียงดงั วง่ิ เลน ตามชายหาด) 4. ทีไ่ หน (บางแสน) 5. เม่อื ไร (ตอนกลางวัน) ใจความสาํ คัญ เด็กและผใู หญไ ปเทีย่ วบางแสน รับประทานอาหารกลางวนั เดก็ เลนน้ํา ผใู หญค อยเฝาสนกุ สนานมาก 3. จับใจความสําคัญจากบทความ บทความ คือ ขอเขียนซึ่งอาจจะเปนรายงาน หรือการแสดงความคิดเห็น มักตีพิมพใน หนังสอื พิมพ วารสาร สารานกุ รม เปน ตน

5 ตัวอยาง ใครทเี่ คยกินไขเยย่ี วมาคงประหลาดใจวา ทําไมเรียกวา ไขเยยี่ วมา ทัง้ ๆ ทตี่ ามปกติ แลว ใชข ้ีเถา จากถานไมผ สมวตั ถุดิบอื่น ๆ พอกไขจนเกิดปฏิกิริยาระหวางสารท่ีพอกกับเนื้อไขจนเกิดวุน สดี ํา ๆ เปนไขเยี่ยวมา ขึน้ มา โดยไมไ ด “เย่ียวมา ” สักกะหยดมากอนปฏิสนธิจนเปนไขกินอรอยแตก็น่ัน แหละ นา จะสนั นิษฐานกนั ไดวา ตน ตาํ รบั เดิมของการทําไขวุนดําเชนน้ี มาจากการเอาไขไปแชเย่ียวมา จริงๆ และเจา ฉม่ี า นีเ่ องทที่ าํ ปฏิกิรยิ ากับไขจนเปนวนุ ข้ึนมา ทวา ในยุคหลัง ๆ ชะรอยจะหาฉี่มา ลาํ บากหรอื ไมส ะดวก กเ็ ลยหาสูตรทาํ ทาํ ไขป สสาวะมา ใหมใ หสะดวกและงายดายรวมทงั้ ประหยดั เพราะไมตองเลย้ี งมา เอาฉเ่ี หมือนเดิมก็เปนได สวนรสชาติจะเหมือนตํารับเดิมหรือเปล่ียนแปลงประการใด ก็ยังไมมีใครพิสูจนหรือ พยายามทาํ ออกมาเทยี บเคียงกัน ตัดตอนจากหนังสือสยามรฐั ฉบบั วันที่ 24 กมุ ภาพันธ 2530 ใจความสาํ คญั ไขเยย่ี วมา ไมไ ดใ ชเ ยย่ี วมา ในการทาํ 4. จับใจความสําคญั จากขา ว ขาว คือ คาํ บอกเลา เรอ่ื งราวซึ่งโดยปกตมิ กั เปนเรื่องเกิดใหมห รอื เปนทนี่ า สนใจ ตวั อยาง ทศ่ี าลจงั หวดั อบุ ลราชธานี พนักงานอัยการจังหวัดเปนโจทกฟ อ งนายวนั สนั สงู โนน อายุ 44 ป เปนจําเลย ฐานเมื่อวันที่ 30 ก.ค.30 ในเวลากลางวัน จําเลยไดบังอาจตัดฟนตนไมประดู 1 ตน ในเขตปาสงวนแหงชาติ และบังอาจแปรรูปไมประดูดังกลาว จํานวน 8 แผน ประมาณ 0.48 ลกู บาศกเมตร และมีไมดังกลาวไวครอบครอง เหตุเกิดท่ีตําบลนาจะหลวย อําเภอนาจะหลวย จังหวัด อุบลราชธานี ศาลจงั หวัดอุบลราชธานี มีคาํ พพิ ากษาวา จําเลยมีความผิด พ.ร.บ.ปา สงวนแหง ชาติ พ.ร.บ. ปา ไม และประมวลกฎหมายอาญา รวมลงโทษ จําคกุ 18 เดอื น จําเลยใหการสารภาพขณะจับกุมเปน ประโยชนแ กก ารพจิ ารณาอยบู า ง จงึ มเี หตบุ รรเทาโทษ ลดโทษใหห นึ่งในส่ี คงจาํ คกุ 13 เดือน 15 วัน ของกลางรบิ ใจความสําคญั ตัดตน ประดู 1 ตน ถูกจาํ คกุ กวา 13 เดือน

6 เร่อื งท่ี 3 หลักการฟง การดู อยางมวี ิจารณญาณ ผทู สี่ ามารถจะฟงและดูไดอยา งมีวิจารณญาณ จะตอ งมคี วามเขา ใจและสามารถปฏิบตั ิดงั นี้ได 1. การวเิ คราะห คือ ความสามารถในการแยกขอเทจ็ จรงิ ออกจากขอคิดเห็นรูว า อะไรเปน อะไร อะไรเปนเหตอุ ะไรเปนผล ตวั อยาง ปที่ผานมาถึงแมก ารแขงขันธุรกิจกองทุนรวมสูง แตบริษัทวางกลยุทธดวยการแบงกลุมลูกคา อยางชัดเจน เพอ่ื คดิ คนผลิตภณั ฑ และการบริการใหทัว่ ถงึ รวมทงั้ ตอบสนองความตองการลูกคาไดตรง จุดเพราะเชอื่ วา ลูกคามคี วามตองการและรบั ความเสย่ี งเทา กนั ขอคิดเหน็ คอื ผพู ดู ถอื วาลกู คา มีความตองการและรับความเสีย่ งเทากนั 2. การตีความ คอื ตองรูความหมายทแ่ี ฝงไวใ นใจเร่อื งหรือภาพนั้น ๆ ตวั อยา ง กองทนุ ไทยพาณิชยย ิ้มหนาบาน ผลงานทะลเุ ปาดนั ทรพั ยส นิ พุง ย้มิ หนา บาน หมายถึง ยม้ิ อยา งมีความสุขมีความพงึ พอใจ 3. การประเมนิ คา เปน ทกั ษะทตี่ อเนอ่ื งมาจากการวเิ คราะหก ารตีความ การประเมนิ คาสิ่งใด ๆ จะตองพิจารณาใหร อบดาน เชน จุดประสงค รูปแบบ ประเภทของสาร เชน ถาจะประเมินคุณคาของ วรรณคดตี องดใู นเร่อื งคณุ คาวรรณศลิ ป ดานสังคม เน้ือหาและนาํ ไปใชในชีวิตประจําวัน 4. การตัดสินใจ คอื การวินิจฉยั เพื่อประเมนิ คา อันนําไปสูการตัดสินใจที่ถกู ตอ งวา สงิ่ ใดควร เชอ่ื ไมควรเชื่อ ซึง่ การตดั สินใจทถ่ี ูกตอ งเปนเรือ่ งสาํ คัญมากในชีวติ ประจาํ วนั 5. การนําไปประยุกตใ ชใ นชวี ติ ประจําวนั ทักษะนจ้ี ะตอ งใชศลิ ปะและประสบการณข องแตล ะ คนมาชวยดวย ซึ่งการฟง มาก ดมู ากกจ็ ะชวยใหต ัดสนิ ใจไมผ ดิ พลาด เรอื่ งท่ี 4 มารยาทในการฟง การดู มารยาทในการฟง และการดู การฟงและการดูเปนกิจกรรมในการดําเนินชีวิตท่ีทุกคนในสังคมมักจะตองเขาไปมีสวนรวม เกือบทุกวันการเปน ผูมีมารยาทในการฟงที่ดี นอกจากเปนการสรางบุคลิกภาพท่ีดีใหกับตนเองแลวยัง เปนสิ่งแสดงใหเห็นวาเปนผูไดรับการอบรมฝกฝนมาอยางดี เปนผูมีมารยาทในสังคม การที่ทุกคนมี มารยาทที่ดีในการฟงและการดู ยังเปนการสรางระเบียบในการอยูรวมกันในสังคม ชวยลดปญหา การขดั แยง และชวยเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการฟงอีกดวย ผูม มี ารยาทในการฟงและดู ควรปฏบิ ตั ติ น ดงั น้ี 1. เม่ือฟงอยูเฉพาะหนา ผูใหญ ควรฟงโดยสํารวมกริ ยิ ามารยาท

7 2. การฟง ในท่ีประชมุ ควรเขา ไปนัง่ กอนผพู ูดเริม่ พดู โดยนง่ั ทีด่ านหนา ใหเต็มเสยี กอน และควร ตัง้ ใจฟง จนจบเรือ่ ง 3. ฟงดวยใบหนาย้ิมแยมแจมใสเปนกันเองกับผูพูด ปรบมือเมื่อมีการแนะนําตัวผูพูดและ เม่ือผพู ดู พูดจบ 4. เมื่อฟงในทป่ี ระชมุ ตองต้งั ใจฟง และจดบันทกึ ขอความที่สนใจ หรือขอ ความทส่ี าํ คัญ หากมี ขอสงสัยเกบ็ ไวถ ามเมื่อมโี อกาสและถามดวยกริ ิยาสุภาพ 5. เมอื่ ไปดูละคร ภาพยนตร หรือฟงดนตรี ไมควรสรางความรําคาญใหบุคคลอ่ืน ควรรักษา มารยาทและสํารวมกิริยา กิจกรรม บทที่ 1 การฟง การดู กิจกรรมที่ 1 ใหผ ูเ รียนตอบคาํ ถามตอไปน้ี 1.1 ความหมายของการฟง และการดู .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... 1.2 บอกจดุ มงุ หมายของการฟงและการดู มา 3 ขอ .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... กิจกรรมท่ี 2 ใหผ เู รยี นใชว จิ ารณญาณใหร อบคอบวา เมอื่ ฟงขอความโฆษณานี้แลว นาเช่ือถอื หรือเปน ความจรงิ มากนอ ย เพยี งไร ครีมถนอมผิว ชว ยใหผวิ นิ่ม ผวิ ที่มรี ว้ิ รอยเหีย่ วยน จะกลบั เตง ตึง เปลง ปลง่ั ผวิ ที่ออ นเยาวใ นวัยเด็กจะกลบั คนื มา คุณสภุ าพสตรี โปรดไวว างใจ และเรยี กใชครีมถนอมเนื้อ .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................

8 กิจกรรมท่ี 3 ใหผเู รยี นเลอื กคําตอบท่ีถูกตอ งเพยี งคาํ ตอบเดียว 1. การฟงท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพ คอื การฟง ในขอใด ก. จับสาระสําคัญได ข. จดบันทกึ ไดทนั ค. ปราศจากอคติ ง. มีสมาธิในการฟง 2. ขอใดคอื ลักษณะของการฟง ที่ดี ก. แสดงสหี นา เมือ่ สงสัยและรอถามเมื่อผพู ูดพดู จบ ข. ดวงตาจับจอ งอยทู ี่ผูพูดแสดงความใสใจในคําพดู อยางจรงิ จงั ค. กวาดสายตาไปมาพรอ มกบั จอ งหนาและทกั ทว งข้ึนเมื่อไมเ หน็ ดวย ง. สบตากบั ผพู ดู เปน ระยะ ๆ อยา งเหมาะสมและเสรมิ หรอื โตแยง ตามความเหมาะสม 3. การฟงทท่ี ําใหผ ฟู ง เกดิ สติปญ ญา หมายถงึ การฟง ลักษณะใด ก. ฟง ดว ยความอยากรู ข. ฟงดวยความตงั้ ใจ ค. ฟงแลววิเคราะหส าร ง. ฟง เพ่ือจับใจความสําคญั 4. ความสามารถในการฟงขอใดสําคัญทส่ี ุดสาํ หรบั ผเู รียน ก. จดส่งิ ทฟี่ งไดครบถว น ข. จับสาระสําคัญของเรอ่ื งได ค. ประเมนิ คาเรอ่ื งท่ีฟงได ง. จบั ความมงุ หมายของผพู ูดได 5. บุคคลในขอ ใดขาดมารยาทในการฟงมากทส่ี ดุ ก. คยุ กบั เพื่อนขณะท่ีฟงผูอน่ื พดู ข. ฟง ไปทานอาหารไปขณะทผี่ พู ูดพูด ค. ไปถงึ สถานทฟ่ี ง หลังจากผพู ูดเรม่ิ พูดแลว ง. จดบันทกึ ขณะทฟ่ี งโดยไมม องผูพ ูดเลย

9 บทที่ 2 การพูด สาระสําคัญ การพูดเปนทักษะสงสารเพ่ือรับรูเร่ืองราวตาง ๆ และถายทอดความรูและความคิดของเรา ใหผูอื่นรับรู การสงสารจะประสบความสําเร็จ จําเปนตองจับประเด็นสําคัญเร่ืองที่จะพูดใหเหมาะสม กับลกั ษณะโอกาส รวมทง้ั การมมี ารยาทในการพูดจะทําใหสามารถส่ือสารดวยการพูดมีประสิทธิภาพ ย่ิงขนึ้ ผลการเรยี นรทู ่ีคาดหวงั ผเู รยี นสามารถ 1. พูดนําเสนอเพ่อื ความรู ความคดิ เหน็ สรา งความเขา ใจ โนม นา วใจ ปฏิเสธ เจรจาตอรอง ดวยภาษากิรยิ าทาทางทส่ี ภุ าพ 2. ปฏบิ ตั ิตนเปนผูมมี ารยาทในการพูด ขอบขา ยเน้อื หา เรอ่ื งท่ี 1 สรปุ ความจับประเด็นสาํ คัญของเรือ่ งทีพ่ ูดได เรอ่ื งท่ี 2 การพูดในโอกาสตาง ๆ เร่อื งท่ี 3 มารยาทในการพดู

10 เรอื่ งที่ 1 สรปุ ความ จบั ประเดน็ สาํ คัญของเร่อื งทพี่ ดู การพูดเปน ทักษะหน่ึงของการส่อื สาร การพูดคือการเปลง เสยี งออกมาเปน ถอยคาํ หรือขอ ความ ตาง ๆ เพื่อติดตอสื่อสารใหผูพูดและผูฟงเขาใจเรื่องราวตาง ๆ การพูดเปนการสื่อความหมายโดยใช ภาษาเสียง กิริยาทาทางตาง ๆ เพื่อถายทอดความรูและความรูสึก รวมทั้งความคิดเห็นของผูพูดใหผูฟง ไดร ับรู และเขาใจตามความมงุ หมายของผูฟงเปนเกณฑ องคประกอบของการพดู ประกอบดว ย 1. ผพู ดู คือ ผทู ี่มีจดุ มงุ หมายสําคัญท่ีจะเสนอความรูความคิดเห็นเพื่อใหผฟู ง ไดร ับรูและเขาใจ โดยใชศ ิลปะการพูดอยา งมีหลักเกณฑ และฝก ปฏิบัตอิ ยเู ปน ประจาํ 2. เนื้อเรื่อง คือ เรื่องราวที่ผูพูดนําเสนอเปนความรูหรือความคิดเห็นใหผูฟงไดรับรู อยางเหมาะสม 3. ผูฟง คือ ผูรับฟงเรื่องราวตาง ๆ ท่ีผูพูดนาํ เสนอ ซ่ึงผูฟงตองมีหลักเกณฑและมารยาท ในการฟง นอกจากน้ีผูพูดยังควรมีการใชสื่อ หรืออุปกรณตาง ๆ ประกอบการพูดเพื่อใหผูฟงมีความรู ความเขาใจย่ิงข้ึน สื่อตาง ๆ อาจเปน แผนภาพ ปายนิเทศ เทปบันทึกเสียง หรือ วีดิทัศน เปนตน และส่ิงท่ีสําคัญคือผูพูดตองคํานึงถึงโอกาสในการพูด เวลาและสภาพแวดลอมท่ีเก่ียวของกับการพูด เพอื่ ใหก ารพูดนน้ั เกิดประสิทธภิ าพมากยง่ิ ข้นึ การพดู ทด่ี ี คือ การสื่อความหมายที่ดนี นั้ ยอ มส่อื ความเขาใจกับใคร ๆ ไดตรงตามวัตถุประสงค ของผูพูด การท่ีผฟู ง ฟงแลวพึงพอใจ สนใจ เกดิ ความศรทั ธาเลอ่ื มใสผูพูด เรยี กวาผนู ้นั มีศลิ ปะในการพดู ลกั ษณะการพดู ท่ีดี มดี งั น้ี 1. มีบุคลิกภาพที่ดี การฟงคนอื่นพูดน้ันเราไมไดฟงแตเพียงเสียงพูด แตเราจะตองดูการพูด ดูบุคลิกภาพของเขาดวย บุคลิกภาพของผูพูดมีสวนที่จะทําใหผูฟงสนใจ ศรัทธาตัวผูพูด บุคลิกภาพ ไดแก รูปราง หนาตา ทา ทาง การยืน การน่งั การเดิน ใบหนาท่ียม้ิ แยม ตลอดจนอากัปกิริยาทแี่ สดงออก ในขณะท่พี ูดอยา งเหมาะสมดวย 2. มคี วามเชื่อม่นั ในตนเองดี ผูพูดจะตองเตรียมตัวลวงหนา ฝกซอมการพูดใหคลองสามารถ จดจาํ เร่อื งทีพ่ ูดได ควบคมุ อารมณไ ด ไมตนื่ เตน ประหมา หรือลุกลีล้ ุกลน รบี รอ นจนทําใหเสยี บุคลิก 3. พูดใหตรงประเด็น พูดในเร่ืองท่ีกําหนดไว ไมนอกเร่ือง พูดอยางมีจุดมุงหมายมุงใหผูฟง ฟงแลวเขา ใจ ตรงตามวตั ถปุ ระสงคท่ีผูพ ดู ตอ งการ 4. ตอ งใชภาษาท่ีเหมาะสมกบั ระดบั ผฟู ง ตามปกตนิ ยิ มใชภาษาธรรมดา สภุ าพ สัน้ ๆ กะทัดรัด สื่อความเขา ใจไดงา ย หลกี เล่ยี งสาํ นวนโลดโผน ศัพทเทคนิคหรือสาํ นวนที่ไมไ ดม าตรฐาน

11 5. ตองคํานึงถึงผฟู ง ผูพดู ตองทราบวา ผูฟงเปนใคร เพศ วยั อาชพี ระดับการศกึ ษา ความสนใจ ความเช่ือถือเปนอยางไร เพ่ือจะไดพูดใหถูกกับสภาพของผูฟง หลีกเล่ียงการแสดงความคิดเห็นและ ความเชือ่ ทขี่ ดั แยง กับผูฟง 6. มีมารยาทในการพูด ผูพดู ตองพจิ ารณาเลือกใชถอยคําทีถ่ ูกตองเหมาะสมกับกาลเทศะและ บคุ คลเพอื่ แสดงถงึ ความมีมารยาทที่ดีและใหเกยี รตผิ ูฟง การสรุปความ จบั ประเดน็ สําคญั ของเรอื่ งทพี่ ดู 1. ผพู ดู จะตองทราบรายละเอยี ดของผูฟง ดงั นี้ 1.1 เปนชายหรือหญงิ 1.2 อายุ 1.3 การศกึ ษา 1.4 อาชพี เปน เบื้องตน เพ่อื มากําหนดเนือ้ หาสาระท่ีจะพูดใหเ หมาะสมกบั ผูฟง 2. ผูพูดตองมีวตั ถุประสงคที่จะพดู จะเปน การพดู วิชาการ เพอ่ื ความบนั เทิง หรือเพ่ือสั่งสอน เปน ตน 3. เนื้อหาสาระ ผูพูดอาจเพียงกาํ หนดหัวขอ แตเม่ือพูดจริงจะตองอธิบายเพิ่มเติม อาจเปนตัวอยา ง อาจเปน ประสบการณ ที่จะเลาใหผ ูฟง ไดฟง ผูฟง จะสรุปความเรอื่ งที่รบั ฟง ได หากผพู ดู พดู มสี าระสาํ คญั และมกี ารเตรียมตัวที่จะพูดมาอยา งดี เรือ่ งท่ี 2 การพดู ในโอกาสตา ง ๆ การพูดเปน การส่ือสารท่ีทําใหผูฟงไดรับทราบเนื้อหารายละเอียดของสารไดโดยตรงหากเปน การส่ือสารในลักษณะการสนทนาโดยตรงก็ยอมทําใหเห็นอากัปกิริยาตอกันเปนการเสริมสราง ความเขาใจมากย่งิ ขนึ้ การพดู มหี ลายลักษณะ ไดแก การพดู อภิปราย พดู แนะนําตนเอง พูดกลา วตอ นรบั พดู กลาวขอบคณุ พดู โนม นา วใจ เปนตน จะมีรูปแบบนําเสนอในหลายลักษณะ เชน การนําเสนอ เพื่อต้ัง ขอ สังเกต การแสดงความคดิ เหน็ เพ่ือตงั้ ขอเทจ็ จริง การโตแ ยง และการประเมนิ คา เปนตน ความสาํ คัญของการพูด การพดู มีความสาํ คญั ดังนี้ 1. การพดู ทาํ ใหเกิดความเขาใจในประเดน็ ของการสื่อสารตาง ๆ ทั้งการสื่อสารเพ่ือใหความรู ทางวิชาการ การสนทนาในชีวิตประจําวัน หรือการพูดในรูปแบบตาง ๆ ยอมทําใหผูฟงเขาใจประเด็น เกิดความคดิ สรา งสรรคนาํ ไปสูการปฏบิ ัตไิ ดถ กู ตอ ง

12 2. การพดู สามารถโนม นาวจติ ใจของผูฟง ใหค ลอยตามเพ่ือเปลย่ี นความเช่อื หรือทศั นคตติ า ง ๆ เพ่ือใหเกิดการปฏิบัติส่ิงตาง ๆ อยางมีหลักเกณฑมีความถูกตอง ซึ่งผูฟงตองใชวิจารณญาณ ในการพจิ ารณาเรื่องราวท่ีผูพูดเสนอสารในลกั ษณะตา ง ๆ อยางมีเหตผุ ล 3. การพูดทาํ ใหเกิดความเพลิดเพลิน โดยเฉพาะการพูดที่มุงเนนเรื่องการบันเทิงกอใหเกิด ความสนกุ สนาน ทําใหผ ฟู ง ไดรบั ความรูดวยเชนกนั 4. การพูดมปี ระโยชนท ช่ี วยดาํ รงสังคม ใชภ าษาพูดจาทักทาย เปนการสรางมนุษยสัมพันธแก บุคคลในสังคม การพูดยังเปนการสอ่ื สารเพื่อเผยแพรความรูค วามคิดใหผูฟงปฏิบัติ เพ่ือใหเกิดความสุข สงบในสังคม การพูดในโอกาสตา ง ๆ 1. การพูดแนะนาํ ตนเอง การพูดแนะนําตนเอง เปนการพูดท่ีแทรกอยูกับการพูดในลักษณะตาง ๆ เปนพื้นฐาน เบ้ืองตนที่จะทาํ ใหผ ูฟงมีความรเู กย่ี วกับผพู ูด การแนะนําตนเองจะใหร ายละเอยี ดแตกตางกนั ไปตาม ลกั ษณะของการพูด 1. การพดู แนะนําตนเองในกลุมของผเู รียน ควรระบรุ ายละเอียด ชื่อ - นามสกุล การศึกษา สถานศึกษา ที่อยปู จจบุ นั ภูมลิ าํ เนาเดมิ ความถนดั งานอดิเรก 2. การพูดแนะนาํ ตนเองเพ่อื เขาปฏิบตั ิงาน ควรระบุ ชอื่ - นามสกุล รายละเอียดเก่ียวกับ การศึกษาตําแหนง หนา ทท่ี ่จี ะเขามาปฏบิ ตั ิงาน ระยะเวลาทีจ่ ะเรม่ิ ปฏบิ ัตหิ นาที่ 3. การแนะนําบุคคลอื่นในสังคมหรือท่ีประชุม ควรใหรายละเอียด ชื่อ – นามสกุล ผูทเ่ี ราแนะนาํ ความสามารถของผทู ่ีเราแนะนํา การแนะนาํ บคุ คลใหผ อู ่นื รูจกั ตองใชคาํ พูด เพื่อสรา งไมตรี ที่ดรี ะหวางบุคคลทงั้ สองฝา ย 2. การกลา วตอนรบั การกลา วตอ นรับเปน การกลาวเพอ่ื บอกความรูส ึกที่มตี อผทู ีม่ าโดย 1. กลา วถึงความยินดขี องการเปน เจา ของสถานที่ 2. กลาวยกยองผูมาเยือน เชน เปนใคร มีผลงานดีเดนอะไร มีความสัมพันธอยางไรกับ ผูตอ นรับ 3. แสดงความยนิ ดีทีใ่ หก ารตอนรับ 4. ขออภยั หากมสี ่งิ ใดบกพรอง และหวังวาจะกลับมาเยย่ี มอกี 3. การกลาวอวยพร โอกาสที่กลาวอวยพรมีหลายโอกาส เชน การกลาวอวยพรวันเกิด วันปใหม ข้ึนบานใหม การอวยพรคบู า วสาว หรือในโอกาสทีจ่ ะมีการโยกยายอําลาไปรับตําแหนง ใหม ฯลฯ หลักการกลาวอวยพร มีขอ ปฏิบตั ิที่ควรจาํ ดงั นี้ 1. ควรกลา วถึงโอกาสและวันสาํ คญั นั้น ๆ ทไ่ี ดมาอวยพรวา เปนวันสําคญั อยางไร ในโอกาส ดีอยา งไร มคี วามหมายตอ เจา ภาพหรือการจดั งานนน้ั อยา งไร

13 2. ควรใชค าํ พูดท่ีสภุ าพ ไพเราะ ถกู ตอ ง เหมาะสมกบั กลมุ ผฟู ง 3. ควรกลาวใหส น้ั ๆ ใชคาํ พูดงายๆ ฟง เขา ใจดี กะทัดรดั กระชับความ นา ประทบั ใจ 4. ควรกลาวถงึ ความสมั พนั ธระหวา งผอู วยพรกบั เจา ภาพ กลา วใหเ กยี รติ ชมเชยในความดี ของเจา ภาพ และแสดงความปรารถนาดีท่มี ีตอ เจาภาพ 5. ควรใชค ําพูดอวยพรใหถ กู ตอ ง หากเปน การอวยพรผูใหญ นิยมอา งส่ิงศกั ดส์ิ ิทธ์ทิ เี่ คารพ นบั ถือมาประทานพร 4. การกลาวขอบคุณ การกลาวขอบคุณเปนการแสดงน้ําใจไมตรี หรือความดีท่ีผูอื่นกระทําให เชน ขอบคุณ วิทยากรท่บี รรยาย ดังน้ี 1. ควรกลาวขอบคุณวิทยากรใหเ กยี รตบิ รรยาย 2. มกี ารสรุปเรือ่ งทว่ี ิทยากรบรรยายจบไปอยางส้นั ๆ ไดใ จความ 3. ควรกลา วถงึ คณุ คาของเรือ่ งท่ีฟงและประโยชนท ไี่ ดร ับจากการบรรยาย 4. กลา วใหม ีความหวงั จะไดร บั เกยี รตจิ ากวทิ ยากรอกี ในโอกาสตอไป 5. กลา วขอบคุณวิทยากรอกี คร้ังในตอนทาย 5. การพดู ใหโอวาท การพูดใหโ อวาท จะมลี กั ษณะ ดังน้ี 1. กลา วถงึ ความสําคญั และโอกาสทมี่ ากลาวใหโ อวาทวา มคี วามสาํ คญั อยางไร 2. พูดใหต รงประเดน็ เลือกประเดน็ สําคัญ ๆ ทม่ี ีความหมายแกผูรับโอวาท 3. ควรมีขอแนะนํา ตักเตอื น และเสนอแนะประสบการณท มี่ ปี ระโยชน 4. ควรพดู ชแี้ จงและเกล้ยี กลอ มใหผ ูฟงตระหนักและนําโอวาทไปใชใ หเ กิดประโยชนไ ดอ ยา งแทจ ริง 5. กลา วสนั้ ๆ ไดใจความดี ตอนทา ยของการใหโอวาทกค็ วรกลาวอวยพรทีป่ ระทบั ใจ การพูดแสดงความคดิ เห็น การพูดเพื่อแสดงความรูและความคิดเหน็ ไดแ ก การพูดอภปิ ราย การรายงาน การสอ่ื ขาว และการสนทนาความรู เปนตน ซ่ึงการพูดตาง ๆ เหลานี้มีแนวทาง ดังนี้ 1. ศึกษารายละเอยี ดเนื้อหา โดยคํานึงถึงเนื้อหาตามจุดประสงคที่จะพูด เพ่ือใหรายละเอียด ท่ถี ูกตอ งตรงประเดน็ ตามทีต่ องการเสนอความรู 2. วิเคราะหเ ร่อื งราวอยา งมีหลักเกณฑ โดยพิจารณาแยกแยะออกเปนสวน ๆ เพ่ือทําความเขาใจ แตล ะสว นใหแ จมแจง และตองคาํ นงึ ถึงความสัมพนั ธเ ก่ยี วเน่อื งกนั ของแตล ะสวน 3. ประเมินคา เรอื่ งท่ีจะพูด 4. ใชภาษาอยางเหมาะสม มีการเรียงลาํ ดับใจความที่ดี แบงเนื้อหาเปนเร่ืองเปนตอน ใชตวั อยา งประกอบการพดู มกี ารเปรียบเทยี บ เพอ่ื ใหผ ูฟงเหน็ ภาพพจนไดอยางชัดเจน มกี ารย้าํ ความ เพื่อเนน สาระสําคญั รวมทั้งยกโวหารคําคมมาประกอบเพอ่ื สรางความเขาใจและเกิดความประทับใจ ย่ิงข้ึน

14 เรื่องที่ 3 มารยาทในการพดู การพูดท่ดี ไี มว าจะเปน การพูดในโอกาสใด ผูพูดจะตองคํานึงถึงมารยาทในการพูด ซ่ึงจะชวย สรา งความชน่ื ชมจากผฟู ง มผี ลใหการพดู แตล ะครั้งประสบความสําเร็จตามวตั ถุประสงคท ่ีตั้งไว มารยาท ในการพดู สรุปได ดังน้ี 1. เรอ่ื งที่พดู นั้นควรเปนเรือ่ งท่ที ัง้ สองฝายสนใจรว มกนั หรอื อยูใ นความสนใจของคนท่ัวไป 2. พูดใหต รงประเดน็ จะออกนอกเร่อื งบางก็เพียงเลก็ นอ ย 3. ไมถามเร่ืองสวนตัว ซ่งึ จะทําใหอ ีกฝา ยหนึ่งรูส กึ อดึ อดั ใจ หรือลําบากใจในการตอบ 4. ตองคาํ นึงถึงสถานการณแ ละโอกาส เชน ไมพดู เรอ่ื งเศรา เรื่องทน่ี า รงั เกียจ ขณะรบั ประทาน อาหารหรอื งานมงคล 5. สรางบรรยากาศที่ดี ยิ้มแยมแจมใสและสนใจเรอื่ งทีก่ าํ ลงั พดู 6. ไมแ สดงกริ ยิ าอนั ไมส มควรในขณะท่ีพดู เชน ลว ง แคะ แกะ เกา สวนใดสว นหน่งึ ของรา งกาย 7. หลกี เลย่ี งการกลา วราย การนนิ ทาผูอ่ืน ไมย กตนขมทา น 8. พูดใหม ีเสยี งดงั พอไดยนิ กันทั่ว ไมพ ดู ตะโกน หรือเบาจนกลายเปน กระซบิ กระซาบ 9. พดู ดวยถอ ยคําวาจาท่สี ุภาพ 10.พยายามรักษาอารมณใ นขณะพูดใหเปนปกติ 11.หากนาํ คาํ กลาวหรือมีการอางอิงคําพูดของผูใดควรระบุนามหรือแหลงท่ีมา เพื่อใหเปน เกยี รติแกบ คุ คลทกี่ ลาวถึง 12.หากพูดในขณะที่ผอู ื่นกาํ ลงั พดู อยคู วรกลาวขอโทษ 13.ไมพูดคยุ กนั ขามศรี ษะผูอนื่ จากมารยาทในการพดู ท้ัง 13 ขอ ผูเรียนควรจะนาํ ไปปฏิบัตไิ ดในชวี ิตประจาํ วัน กจิ กรรมบทที่ 2 การพูด กจิ กรรมที่ 1 ใหผเู รยี นเลอื กคําตอบทถี่ ูกทสี่ ุดเพียงขอเดียว 1. ขอใดไมใ ชอ งคประกอบสําคญั ของการพูด ก. ผูพดู ข. ผฟู ง ค. สาระท่พี ูด ง. อปุ กรณป ระกอบการพดู 2. ขอใดเปน การพูดแบบเปน ทางการ ก. พูดกับพ่นี อง ข. พดู บรรยายใหความรู ค. พูดกับเพอื่ นรวมงาน ง. พดู ในงานสังสรรค

15 3. สิง่ ทส่ี ําคัญที่สดุ ท่ีผูพ ูดควรเตรยี มลว งหนา คือขอใด ก. การแตง กาย ข. การฝกซอม ค. การเตรยี มตน ฉบบั พดู ง. การใชเ สียงและทาทาง 4. การพูดแสดงความคดิ เหน็ คือการพดู ในลักษณะใด ก. พูดทกั ทาย ข. พูดแนะนาํ ตัว ค. พดู อภปิ ราย ง. พูดอวยพร 5. ขอ ใดเปนจุดมุงหมายในการพดู เพื่อหาเสยี งเลือกตั้ง ก. สรา งจินตนาการ ข. ใหขอ มูลความรู ค. โนมนา วชักจงู ง. ใหค วามเพลดิ เพลนิ กิจกรรมท่ี 2 ใหผ ูเรียนเขียนคาํ พดู ตามหวั ขอตอไปน้ี 1. เขยี นคาํ ขอบคุณสน้ั ๆ ทีเ่ พ่ือนคนหนงึ่ เก็บกระเปา สตางคท่หี ลน หายมาใหเ รา 2. เขียนคาํ พดู อวยพรวนั เกิดของเพ่อื น 3. เขียนคํากลาวแสดงความยนิ ดใี นโอกาสที่เพ่อื นสอบสัมภาษณเขาทาํ งานได 4. เขียนคําแนะนาํ ตนเองในกลมุ ผเู รียน กจิ กรรมที่ 3 ใหผเู รยี นยกตัวอยางการกระทาํ ทไี่ มม ีมารยาทในการพดู มา 5 ตัวอยา ง 1. .............................................................................................................................. 2. .............................................................................................................................. 3. .............................................................................................................................. 4. .............................................................................................................................. 5. .............................................................................................................................. กจิ กรรมที่ 4 ใหผ ูเรียนจัดทาํ ตน รา งเร่ืองทจ่ี ะพดู ในโอกาสดังตอไปน้ี 1. กลา วอวยพรคูบ า ว – สาว ในงานเลีย้ งฉลองมงคลสมรส ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….…………………...

16 2. กลาวตอ นรบั ผทู ม่ี าศกึ ษา – ดงู านในชุมชน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….……………... 3. กลา วขอบคณุ วทิ ยากรในงานฝก อบรม ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….…………………………...

17 บทที่ 3 การอาน สาระสําคัญ การอานเปนทักษะทางภาษาที่สําคัญ และจําเปนอยางยิ่งในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็วเชนปจจุบัน เพราะชวยใหสามารถรับรูขาวสารและเหตุการณตาง ๆ ของสังคม ชวยให ปรับตวั ไดทนั กบั ความเจรญิ กา วหนา ทางวทิ ยาการทุกสาขา เปนเคร่ืองมือสําคัญในการแสวงหาความรู ที่แปลกใหม การอานยังชวยใหเกดิ ความเพลดิ เพลนิ การอา นจะประสบผลสาํ เรจ็ ตอ งสามารถจบั ใจความ สําคญั วิเคราะห วิจารณ และมีมารยาทในการอาน ผลการเรยี นรูท ีค่ าดหวัง ผเู รยี นสามารถ 1. อานในใจไดค ลองและเร็ว 2. อานออกเสยี งและอานทาํ นองเสนาะไดอยางถกู ตองตามลกั ษณะคําประพนั ธ 3. วิเคราะหแยกแยะขอ เทจ็ จริง ขอคดิ เหน็ และจุดมุง หมายของเรอ่ื งทอี่ า น 4. เลือกอา นหนังสอื และสือ่ สารสนเทศ เพอ่ื พฒั นาตนเอง 5. ปฏิบัติตนเปน ผูม มี ารยาทในการอา น และมีนิสยั รกั การอา น ขอบขายเนอื้ หา เรอ่ื งท่ี 1 การอานในใจ เรื่องท่ี 2 การอา นออกเสียง เร่อื งที่ 3 การอา นจบั ใจความสาํ คญั เร่อื งที่ 4 มารยาทในการอา น และนิสัยรักการอาน

18 เร่อื งที่ 1 การอา นในใจ การอานในใจ หมายถึง การแปลตัวอักษรออกมาเปนความรู ความเขาใจ และความคิด แลว นาํ ไปใชอีกทอดอยา งไมผ ดิ พลาด โดยทว่ั ไป จะเปนการอา นเพอ่ื ความรู และความบนั เทิง จดุ ประสงคข องการอา นในใจ 1. เพื่อจับใจความไดถกู ตองและรวดเรว็ 2. เพอ่ื ใหเ กิดความรู ความเขาใจ และความคดิ อยางกวา งขวางและลึกซึ้ง 3. เพอ่ื ใหเกิดความเพลิดเพลนิ และเปน การใชเวลาวา งใหเ กิดประโยชน 4. เพ่อื ใหถ า ยทอดสิง่ ทอ่ี านใหผอู ืน่ รับรูโดยไมผดิ พลาด หลักการอา นในใจ 1. ต้งั จุดมงุ หมาย วาจะตองอา นเพอ่ื อะไร อานเพ่อื ความรู หรอื จะอานเพ่ือความเพลดิ เพลนิ 2. ตั้งสมาธิในการอา น ใหจ ดจออยูก บั หนังสอื ทอ่ี าน จติ ใจไมว อกแวกไปทอี่ ่ืนซึง่ จะทาํ ใหอาน ไดเรว็ และเขา ใจไดดี 3. ตั้งเปาการอานโดยกาํ หนดปริมาณที่จะอานไวลวงหนา แลว จับเวลาในการอานเพ่ือท่ีจะ พัฒนาการอา นครง้ั ตอไปใหเ รว็ ขน้ึ 4. ไมอานหนังสือทีละคาํ การอานกวาดสายตาใหกวางขึ้นอานใหครอบคลุมขอความที่อยู ตอหนาอยา งเร็วไปเร่อื ย ๆ 5. ลองถามตนเองวาเปนเรอื่ งเกยี่ วกบั อะไร เกดิ กับใคร ท่ีไหน อยา งไร ถา ตอบไดแปลวา เขาใจ แตถ าตอบไมไ ดกต็ อ งกลบั ไปอา นใหม 6. จับใจความสาํ คัญใหได และบันทึกเปนความรูความเขาใจ และความคิดไวเพราะจะทําให จดจําเรอ่ื งที่อา นไดอยา งแมน ยาํ และสามารถนาํ ไปใชป ระโยชนไดท ันที เรอ่ื งท่ี 2 การอา นออกเสยี ง การอานออกเสียง หมายถึง การอานท่ีผูอ่ืนสามารถไดยินเสียงอานดวยการออกเสียง มักไมนิยมอานเพื่อการรับสารโดยตรงเพียงคนเดียว เวนแตในบางคร้ังเราอานบทประพันธเปน ทวงทํานองเพื่อความไพเราะเพลิดเพลนิ สวนตวั แตสว นใหญแ ลวการอานออกเสียงมกั เปน การอา นให ผูอ นื่ ฟง การอานประเภทนม้ี หี ลายโอกาส คือ

19 1. การอา นออกเสียงเพ่อื บคุ คลในครอบครัวหรอื ผูที่คุนเคย เปน การอา นท่ีไมเปน ทางการ การอา นเพื่อบคุ คลในครอบครัว เชน อา นนิทาน หนังสือพิมพ ขาว จดหมาย ใบปลวิ คําโฆษณา ใบประกาศ หนังสือวรรณคดีตาง ๆ เปนการเลาสูกันฟง อานเพ่ือให เพื่อนฟง อานใหค นบางคนทอ่ี า นหนังสือไมอ อกหรอื มองไมเ ห็น เปนตน 2. การอานออกเสยี งทเี่ ปน ทางการหรอื อา นในเรื่องของหนา ทกี่ ารงาน เปน การอา นท่เี ปน ทางการ มีระเบียบแบบแผนในการอา นอยางรดั กมุ กวาการอานออกเสียง เพอ่ื บุคคลในครอบครัวหรืออยูท ่คี นุ เคย เชน การอานในหองเรียน อานในที่ประชุม อานในพิธีเปดงาน อา นคําปราศรัย อานสารในโอกาสทสี่ าํ คญั ตา ง ๆ การอานของสือ่ มวลชน เปน ตน การอา นออกเสียงใหผฟู ง จะตองอา นใหช ดั เจนถูกตอ งไดขอความครบถวนสมบูรณ มีลีลา การอานทน่ี าสนใจและนาติดตามฟงจนจบ จุดมุงหมายในการอานออกเสียง 1. เพ่ือใหอานออกเสียงไดถ กู ตองตามอกั ขรวธิ ี 2. เพื่อใหร จู ักใชน ํ้าเสียงบอกอารมณแ ละความรูสึกใหสอดคลองกบั เน้อื หาของเร่อื งที่อา น 3. เพ่ือใหเ ขาใจเรื่องที่อา นไดถูกตอ ง 4. เพือ่ ใหผ ูอานมีความรแู ละเขาใจในเน้อื เรอ่ื งทอ่ี า นไดอ ยางชดั เจน 5. เพอ่ื ใหผ ูอา นและผูฟ งเกดิ ความเพลิดเพลิน 6. เพอ่ื ใหเปนการรบั สารและสงสารอกี วธิ ีหน่งึ หลักการอา นออกเสียง 1. อานออกเสียงใหถ ูกตอ งและชดั เจน 2. อานใหฟงพอทีผ่ ฟู ง ไดย นิ ท่วั ถึง 3. อานใหเ ปนเสยี งพดู โดยธรรมชาติ 4. รูจักทอดจงั หวะและหยุดหายใจเมือ่ จบขอความตอนหนึ่ง ๆ 5. อานใหเขาลักษณะของเนื้อเร่ือง เชน บทสนทนา ตองอานใหเหมือนการสนทนากัน อานคําบรรยาย พรรณนาความรสู ึก หรือปาฐกถากอ็ า นใหเ ขากับลักษณะของเรอ่ื งน้ัน ๆ 6. อา นออกเสียงและจงั หวะใหเ ปน ตามเนือ้ เรอ่ื ง เชน ดุหรอื โกรธ กท็ ําเสียงแขง็ และเรว็ ถา เปน เร่อื งเกี่ยวกบั ครา่ํ ครวญ ออ นวอน กท็ อดเสียงใหช าลง เปน ตน 7. ถาเปนเรือ่ งรอยกรองตองคํานงึ ถงึ ส่งิ ตอ ไปนด้ี ว ย 7.1 สัมผสั ครุ ลหุ ตองอา นใหถกู ตอง 7.2 เนนคํารบั สัมผัสและอานเอ้ือสัมผสั ใน เพื่อเพ่มิ ความไพเราะ 7.3 อา นใหถ กู ตอ งตามจงั หวะและทํานองนยิ ม ตามลักษณะของรอ ยกรองนน้ั ๆ ยังมีการอานออกเสียงอีกประการหน่ึง การอานทํานองเสนาะ เปนลักษณะการอาน ออกเสยี งที่มจี งั หวะทาํ นองและออกเสยี งสูงตํา่ เพ่ือใหเกิดความไพเราะ การอานทํานองเสนาะน้ีผูอาน

20 จะตองเขาใจลักษณะบังคับของคําประพันธแตละชนิดและรูวิธีอานออกเสียงสูงตํ่า การทอดเสียง การเอื้อนเสียง ซ่ึงเปนลักษณะเฉพาะของคําประพันธชนิดตาง ๆ ดวย การอานทํานองเสนาะน้ี เปนมรดกทางวัฒนธรรมท่ีสืบทอดกันมาชานาน ซึ่งเปนสิ่งที่คนไทยทุกคนควรภูมิใจและรักษา วัฒนธรรมล้ําคานไ้ี วเ พื่อถายทอดสืบตอ กนั ไปช่วั ลกู ชว่ั หลาน การอานเร็ว คนที่มีนิสัยรักการอาน ยอมเปนผูที่มีความรอบรู มีความนึกคิดลึกซึ้งและกวางขวาง ทั้งยังไดรับความบันเทงิ ในชวี ิตมากขนึ้ อีกดวย การอา นที่ใชม ากในชวี ติ ประจาํ วัน คือ การอานในใจ เพราะสามารถอา นไดรวดเร็ว ไมต องกังวล กับการเปลงเสียงกับตัวหนังสือ การอานในใจที่ดี ผูอานจะตองรูจักใชสายตา กิริยาทาทาง มีสมาธิ ความต้งั ใจและกระบวนการอา นในใจ เชน การเขาใจความหมายของคํา รูจักคนหาความหมายของคํา หรือเดาความหมายได รูจักจับใจความแลวรจู กั พิจารณาตาม รวมทงั้ ตองเปนผูที่สามารถอานไดรวดเร็ว อกี ดว ย เพื่อเปน การทดสอบตนเองวา สามารถอานหนังสือไดเ ร็วหรอื ไม ใหผ เู รียนอานขอความตอ ไปนี้ แลวจับใจความของเร่อื งโดยใชเ วลา 8 นาที ลมเหนือ ลมทงุ นาหอมกลน่ิ ฟางขาวพดั รวยรินอยรู อบตวั นุชลูกสาวครปู รชี าวง่ิ มาบอกพอวา “พอคะ นชุ ขอไปดเู ขาแลกขา วทบี่ านจําเนียรนะคะ” “บานจาํ เนยี รไหน” “บา นจาํ เนียรทมี่ ีตนมะขามโนนไงคะ มีคนเขาเอาของเยอะแยะมาแลกขาว นุชไปนะพอ” “เด๋ยี วกอน” “โธ พอ นชุ ชา ไมได นุชจะไปชวยจาํ เนยี รเขาแลกเส้อื ประเด๋ียวจาํ เนียรกอ็ ดไดเ สอ้ื สวยๆ หรอก” ผมชะเงอ ดทู ี่บานหลงั หนึ่ง อยเู กอื บกลางทุงนา บรเิ วณบา นลอมดว ยกอไผ ผมเห็นคนเปนกลุมๆ ยนื อยกู ลางบานน้นั นชุ เหน็ ผมมองอยางอยากรูอ ยากเหน็ จึงเอยวา “พี่โชคไปกับหนไู หมละ” “เออ โชคไปเปน เพ่อื นนองก็ดีนะ แดดรอนอยางน้ีหาหมวกใสสักใบเถอะ ประเด๋ียวจะเปนไข” ครปู รชี าพูด “นุชไมม ีหมวก” “เออ ...เอาผาขาวมาของพอ ไป” ครปู รีชาสง ผาขาวมาใหลูกสาว นุชไดผาก็เอามาเคียนหัวแลว ออกว่งิ นาํ หนาผมไป ผมเห็นคน ๆ หนึ่งแตงตัวแปลกไปกวาชาวนา ที่วาแปลกก็คือเขาใสเสื้อนุงกางเกงเหมือนคน ในจังหวดั อยตู รงกลาง ขา งหนา มหี าบใสสิง่ ของเครอื่ งใช เชน เสื้อผา หมออะลูมเิ นียม เปน ตน

21 วันน้ีผมเห็นพอของจําเนียรยอมแลกขา วเปลือกสองถงั กับเสื้อผาดอกสีสดใสใหจําเนียรตัวหนึ่ง ปา แมน ยอมเสยี ขาวเปลอื กถงั หนึง่ แลกกับแกว น้ํา 3 ใบ ผมกลบั มาเลา ใหครูปรีชาฟง ครูปรชี ากถ็ อนหายใจยาวพูดวา “คนพวกนี้แหละเปน เหลือบคอยดูดเลือดชาวนา” “เขาเหน็ จําเนียรอยากไดเสื้อผา เลยจะเอาขาวเปลือกต้ัง 2 ถังแลกกับเสื้อตัวเดียว ผมวาเสื้อ ตวั นั้นราคาไมกบ่ี าทหรอกครบั ” “โธครถู งึ วาพวกน้ีเปน เหลือบไงละ เอาเปรียบกันเกนิ ไป” “แตพวกน้ันไปยอมแลกกบั เขาเอง” ผมพูดเสียงออ น “ก็เพราะง้ันนะซิ ครูถึงหนักใจแทน โชคคิดดูสิวากวาจะทํานาไดขาวถังหนึ่งนะ หมดแรงไป เทาไรมันคุมกันไหมละ” “ทาํ ไมชาวนาถงึ โง...” “ไมใ ช” ครปู รชี าขดั ข้ึน “ไมไดโ ง แตไ มทันเลหเหล่ียมพอคา ตา งหากละ” “ครบู อกแลว บอกอีก บอกจนไมร ูจะบอกยังไงแลว ” “ไมเ ชอ่ื ครหู รอื ครบั ” “พูดไมถูก อยางพอจําเนียรน่ันแกรูดีวาอะไรเปนอะไร หากแลกขาวนะยังดีกวาพวกอื่นนะ น่นั ไงละมากันเปนแถว” ครูปรีชาช้ีใหผมดู คนข่ีจักรยานตามกันเปนแถว แทบทุกคนสวมหมวกกะโล มีไมกลม ๆ ขนาดแขนผูกตดิ รถจักรยานมาดวย “ใครครับ” ผมสงสัย “พวกพอ คาคนกลางตัวจริง” ครปู รีชาตอบเสียงตํ่า “เปน พวกนายหนารับซ้ือขาวใหโรงสี อีกที หน่งึ เธอเหน็ ไมท อ นกลมนัน่ ไหมละ ” “ครับ” “ไมน น้ั แหละเขาเอาไวร ีดขาวเปลือกดเู มล็ดกอ นตรี าคา” “ทาํ ไมตอ งตีราคาดว ยเลา ” “เพราะวาขาวท่ชี าวนาทําไดมคี ณุ ภาพตา ง ๆ กนั นะสิโชค น่แี หละเปนโอกาสใหพอคา มีชองทาง กดราคาขา วละ” “เขาทํายังไงครับ” “เขาจะรีดขาวดู ถา ไดข า วเมล็ดงามไมลีบเลก็ ก็ตรี าคาเอาตามใจ ถา ชาวนาพอใจราคาท่ีเขาให เกดิ ตกลงขาย เขาก็จะจา ยเงนิ ใหลวงหนาจาํ นวนหนงึ่ แลว ก็มาขนขาวไปโรงสี สว นมากคนท่ีรับซ้ือถึงท่ี มักจะกดราคาขาวจนต่าํ มาก” “ราคาตา่ํ เราก็ไมขาย” ผมบอก “แตชาวนาตอ งการเงนิ ” “ง้ันเอาไปขายเองก็ไดนค่ี รับ” “น้ันยงิ่ แลว ใหญเลย ถา หากเธอขนขาวไปโรงสจี ะถกู กดราคามาก เพราะเขาถอื วา เธอไปงอเขา”

22 “อา ว ทําไมถึงเปนอยางนั้นเลา” ครูปรชี าหวั เราะหึ ๆ แตแ ววตาหมอง “ทาํ ไมถงึ เปน เชนนน้ั นะ หรอื ครตู อบเธอเดยี๋ วน้ี เธอกค็ ง ไมเขา ใจหรอก...โชคด”ี ผเู รียนอา นจบภายในเวลา 8 นาทหี รือไม อา นจบแลว ลองตอบคําถามดู เพราะการอา นหนงั สอื ไดเ รว็ นน้ั ตอ งจับใจความไดดวย 1. ผทู ใี่ ชสรรพนามวา ผมในเร่อื งน้ีชอื่ อะไร 2. พอของจาํ เนียรมีอาชีพอะไร 3. ทาํ ไมครูปรชี าจงึ เรยี กพวกทเ่ี อาของมาแลกขาววา ตัวเหลือบ 4. จากเร่ืองน้ี ใครเปนผูทเ่ี อาเปรียบชาวนามากทส่ี ดุ 5. ผเู รียนอา นเร่ืองนแ้ี ลวไดข อคิดอะไรบา ง การอานหนังสือใหเร็ว นอกจากใชเวลาชวงสั้น ๆ อานหนังสือใหไดมากที่สุดแลว จะตองจับ ใจความเปนหนังสอื ใหไ ดค รบถวน อานแลวเขาใจเร่อื งตลอดดว ย ลองคิดดซู วิ า เหตทุ อี่ านไมท นั หรือจับใจความไมไดตลอดเพราะเหตุใด ถาเราลองคิดหาเหตุผล โดยเอาตัวเองเปนหลัก อาจไดคําตอบหลายอยาง เชน ไมมีสมาธิ อานกลบั ไปกลับมา สบั สนจึงทําใหอานชา หรอื ไมเ ขาใจคาํ ศัพทบ างคาํ เปนตน หลกั การอา นเร็ว ในการฝกตนเองใหเปน คนอา นเร็ว ควรไดเ ร่ิมตน ฝก สมาํ่ เสมอทีละเลก็ ละนอ ย โดยฝกอานในใจ ท่ถี กู วิธีและจะตองฝกฝนในสิง่ ตอ ไปนี้ 1. มีสมาธิในการอาน ในขณะท่ีอาน จะตองสนใจและเอาใจจดจอตอส่ิงท่ีอาน ไมปลอยใจ วอกแวกคิดเร่ืองอื่น จะทาํ ใหจบั ใจความของเร่อื งไมไ ดต ลอดและความสามารถในการอานชา ลงไป 2. จับตาที่ตัวหนังสือ โดยใชสายตาจับอยูในชวงเวลาเล็กนอยแลวเคลื่อนสายตาตอไปอยาง รวดเรว็ การฝก จับตาเชน น้ีตอ งกระทาํ บอย ๆ และจับเวลาทดสอบความสามารถในการจับสายตา และ เคลื่อนสายตาใหไดร วดเร็วเพ่อื ทดสอบความกา วหนา 3. ขยายชวงสายตาใหก วาง ชวงสายตาหมายถึง ระยะจากจุดท่ีสายตาจับจุดหนึ่งไปยังจุดท่ี สายตาจบั ในคราวตอไป การรจู กั ขยายสายตาใหก วา งจะชวยใหอา นหนงั สอื ไดเร็ว 4. ไมอ า นยอนกลับไปกลบั มา หมายถึง การทวนสายตายอนกลับไปกลับมายังคําที่ไมเขาใจ ซึง่ ทาํ ใหเสยี เวลา 5. เปลี่ยนบรรทัดใหแมน ยํา โดยกวาดสายตากลับมาทางซายเพ่ือข้ึนบรรทัดใหม เมื่ออานจบ แตละบรรทัดและตองกําหนดบรรทัดใหแมนยําไมอานขามบรรทัด หรืออานซ้ําบรรทัดเดิม ซ่ึงทําให ความคิดสับสนการฝก ในระยะแรกเริ่มอาจใชไมบรรทดั หรอื กระดาษปด ขอ ความบรรทัดลา งไว แลว เล่อื น ลงเร่อื ย ๆ คอ ย ๆ เพมิ่ ความเรว็ ข้นึ จนชาํ นาญจงึ อานโดยไมต อ งใชส ิง่ อนื่ มาปด

23 การอานเพือ่ เขา ใจความหมายของสาํ นวน การอา นเพือ่ ทาํ ความเขาใจ ความหมายของสาํ นวน ตองอาศัยถอยคําส่ิงแวดลอ ม บริบท เพื่อสรุปสาระสาํ คญั 1. ความหมายของสาํ นวน สาํ นวน คอื ถอยคําทีม่ คี วามหมายไมตรงตามความหมายปกติของ คาํ นัน้ ๆ 2. หลักการอาน เพื่อเขาใจความหมายของสํานวน 2.1 อา นขอความอยา งละเอียด เพื่อจับใจความสําคญั เขาใจเนอื้ เรอ่ื งและเขา ใจ ความหมายของสาํ นวน 2.2 สงั เกตเนือ้ ความตามบรบิ ท ทําใหตีความหมายของสาํ นวนไดถ ูกตอ ง 2.3 ตคี วามหมายของสาํ นวน ตองตรงประเด็นตามบริบท ตวั อยา ง การอา นเพ่อื เขา ใจความหมายของสาํ นวน ออยเขา ปากชาง หมายถงึ ของตกไปอยูใ นมอื ผูอนื่ แลว ไมม ที างไดคืน ไกแกแ มป ลาชอน หมายถึง ผทู ่ีมคี วามจัดจาน เจนสงั เวียน วัวหายลอ มคอก หมายถงึ เม่ือเกดิ ความเสียหายแลว จึงหาทางปองกนั กินขาวตมกระโจมกลาง หมายถงึ การกระทําทไ่ี มร อบคอบ ผลีผลาม ชน้ี กบนปลายไม หมายถึง การพดู ถงึ สิ่งสุดวสิ ยั ทจ่ี ะทําได สาํ นวนตา ง ๆ ทน่ี าํ ไปกลา วเปรียบเทียบใหเขา กบั สถานการณ เรียกวา คําพังเพย เชน เมื่อของ หายแลวจงึ คดิ หาทางปองกนั ก็เปรยี บวา ววั หายลอ มคอก เปน ตน ความหมายของสาํ นวนมีลักษณะเหมอื นความหมายโดยนยั คอื ตอ งตคี วาม หรอื แปลความตาม นยั ยะของคําหรอื ขอ ความน้นั ๆ การอา นเพอื่ เขา ใจโวหารตาง ๆ ผเู ขียนตองใชโวหารประกอบการเขียน เชน พรรณนาโวหาร อุปมาโวหาร สาธกโวหาร ฯลฯ เพอ่ื ใหง านเขียนมีคณุ คา 1. ความหมายของโวหาร โวหาร คือ ทวงทํานองในการเรียบเรียงถอยคําทั้งในวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรอง โวหารทีใ่ ชกนั ทว่ั ไปมี 5 โวหาร ดงั น้ี 1.1 บรรยายโวหาร คือ การเลาเร่ืองไปตามเหตุการณ เชน การเขยี นบทความ การเลา นิทาน เลา ประวตั บิ ุคคล ตํานาน ตอ งอธิบายใหเปนไปตามลาํ ดับ ตัวอยา ง บรรยายโวหาร มนษุ ยม คี วามเชื่ออยูอยา งหนง่ึ ซงึ่ สืบมาแตโ บราณนานไกล วาคนท่เี กิดมาทัง้ เดก็ และผูใ หญไมว า จะเปน หญิง หรือชาย ยอมมอี ะไรอยอู ยางหนึ่งสงิ อยภู ายในรางกายมาแตกําเนิดสง่ิ ท่ีวาน้ถี าอยูกบั เนือ้ กับ

24 ตัวของผใู ดผนู น้ั ก็จะมีความสขุ ความสบาย ไมปวยไขไดท ุกขถาสงิ่ นั้นหนหี ายไปจากตัวก็จะทาํ ใหผ นู ้นั เปน ไขไดทุกขแ ละอาจถงึ แกค วามตายได ถาส่งิ นัน้ ไมก ลบั คืน อยใู นรางกาย ส่ิงที่กลาวน้ภี าษาไทยเรียกวา ขวัญ อันเปนคํามคี วามหมายในภาษาท่ีเขาใจกันอยางเลา ๆ แลวก็ยุงดวย ท่ีวายุงเพราะเปนส่ิงมองไม เหน็ ตวั วา มรี ปู รา งเปน อยา งไร (ขวญั และประเพณีทําขวญั ของ เสฐยี รโกเศศ) 1.2 พรรณนาโวหาร คือ การเขียนเลนเรือ่ งอยางประณีตมักแทรกความรูสึกของผูเขียน ดวยทําใหผ อู า นเกดิ ความรูและอารมณค ลอ ยตาม เชน การพรรณนาความสวยงามคุณความดีตลอดจน พรรณนาอารมณและความรสู ึกในใจ ฯลฯ ตัวอยา ง พรรณนาโวหาร ไมผ ล เชน ละมดุ มะมวง ขนุน พอ ปลกู ไวขา งสนามและบรเิ วณมุมขา ง สว นทเ่ี ลื้อยรอบบา น กม็ ีเถาวัลยและสายหยุดขึ้นอยูคนละมุม ราตรีอยูตรงบันไดขึ้นหอหนาบาน ซ่ึงเปนทางไปหองรับแขก ชะลดู ปลกู อยทู ีส่ ะพานขา มทองรองเลก็ ๆ อยกู ง่ึ กลางระยะจากตัวบา นไปยังประตรู ั้วบา น คนละดา นกบั เถาพวงครามดอกสีมว ง ใบแข็งดว ย ถาไปถกู มันจะคนั แตด อกเปนสีครามเปน ชอ ยาวมองดูสวยและบาน อยไู ดหลายวัน ถาดอกรวงจะหมุนเพราะกลีบของมนั เปนเฟองมี 5 - 6 กลีบ คลายใบพัด มันหมุนตัวลง มากวา จะถึงพน้ื เหมอื นกังหันตอ งลม ดูสวยงามเพลินตาดี ผมชอบเก็บดอกมันข้ึนไปปลอยบนหนาตาง สงู ๆ ใหมันหมนุ จล๋ี งมาสูพ้ืนดนิ เปน ของเลน สนกุ เมอ่ื สมัยเด็กกอ นเขา โรงเรียน (เด็กบานสวน ของ พ.เนตรรงั สี) 1.3 เทศนาโวหาร คือ กระบวนความอบรมสั่งสอน อธิบายในเหตุผล หรือช้ีแจงใหเห็น คุณและโทษ เพอื่ ใหผ ูอ า นเชื่อถือตาม ตวั อยาง เทศนาโวหาร บรรดาของมคี า ทัง้ หลายจะหาส่งิ ไรมีคาเกินวิชาดีกับจรรยาดีไมไดเลย ทรัพยอื่น ๆ อาจจะถูก ขโมยลกั หรอื ลดนอยลงดว ยการจับจายใชส อย แตว ิชากบั จรรยาดนี ี้เปน อมตะไมรจู กั ตายย่ิงจา ยมากก็ยิ่ง เพมิ่ ทวีคณู ขนึ้ และเราจะแยกแบงใครก็ไมได แมขโมยจะลักเอาไปก็ไมได แตจงทราบดวยวาโดยเฉพาะ วิชาดีท่ีแหลมคมนั้นถาไมมีสติคอยควบคุม ปลอยเพงมองแสหาความสุขในทางที่ผิดแลว ก็จะเปนตัว มหาอุบาทว มหาพินาศ มหาจัญไร ดูเถอะ มนุษยบางเหลาถือตัววาฉลาดแตขาดสติ ประพฤติตัว เลวทราม กอกวนหมูคณะใหยุงเหยิงเดือดรอนอยูทุกวันน้ีก็เพราะเขามีวิชาดีที่แหลมคมและใชวิชาดี ทีแ่ หลมคมไปในทางที่ผิด ซ่ึงไมมีสติควบคมุ นั้นเอง (โลกานศุ าลนี ของ สมเดจ็ พระมหาวรี วงศ (พมิ พ ธมมฺ ธโร)) 1.4 สาธกโวหาร คือ การเขยี น โดยยกตวั อยางประกอบเพื่อใหผอู า นเขาใจเรอื่ งไดชัดเจน ยิ่งขนึ้ นยิ มใชในการบรรยายโวหาร และเทศนาโวหาร ตัวอยา ง สาธกโวหาร ในที่น้ีจะชักนิยายมาเปนอุทาหรณใหเห็นวา ผูที่ต้ังความเพียรไดรับรางวัลของธรรมดาโลก อยางไร

25 ชายชาวนาผูหนึ่ง เม่ือปวยจนจะสิ้นใจอยูแลว จึงเรียกบุตรชาย 3 คน เขามาบอกวาบิดาจะ สิ้นชีพไปในครั้งน้ีก็หามีสิ่งใดที่จะหยิบยื่นใหเปนมรดกแกเจาไม แตบิดาจะบอกความลับใหเจาวา ในพื้นทนี่ าของเรามขี ุมทรัพยใหญซอ นอยู เจาจะตองขดุ ขึน้ ดู พอพดู เทาน้ันแลว กข็ าดใจยังหาทันจะบอก วาขุมทรัพยนั้นอยูตรงไหน ๆ ไม ฝายบุตรท้ัง 3 ต้ังแตบิดาตายแลวก็ชวยกันตั้งหนาขุดพื้นที่ดินขึ้น จนทัว่ คนหาจนสิน้ เชิง กห็ าพบขุมทรัพยไมแตไดรับผลที่ขุดได คือ เมื่อขุดพรวนดินขึ้นดีแลว จึงหวาน เพาะพืชไดผลเปนรางวัลของธรรมดาโลกและอีกนัยหน่ึงเปนขุมทรัพยท่ีบิดาไดบอกไววาอยูในพื้นที่นา นั้นเอง (ความเพยี ร ธรรมจริยา ของ เจาพระยาธรรมศักดิ์มนตรี) 1.5 อุปมาโวหาร คอื การเขยี น โดยยกขอความเปรยี บเทยี บเพ่ือใหผูอานเขาใจเรื่องราว ตาง ๆ ไดด ยี ง่ิ ขึ้น ใชแทรกในโวหารตาง ๆ ตัวอยาง อุปมาโวหาร ขณะน้ันโจโฉจึงวาแกทหารท้ังปวงวา เลาปครั้งนี้อุปมาเหมือนปลาขังอยูในถังเสือตกอยู ในหลุม ถา แกจะละเสียใหเ ลด็ ลอดหนไี ปได บัดนกี้ ็เหมอื นปลอ ยเสอื เขาปา ปลอ ยปลาลงในสมุทร ทหาร ท้ังปวงจงชวยกันขะมักเขมนจับตัวเลาปใหจงได ทหารท้งั ปวงตางคนตางรีบขน้ึ หนา ขบั กนั ตามไป (สามกก ตอนจลู งฝา ทพั รบั อาเตา ) การอานออกเสยี งรอยกรอง การอานบทรอ ยกรองตา ง ๆ ใหเ ปน ไปตามทํานองลีลาและจังหวะอันถูกตองจะทําใหเกิดความ ไพเราะเสนาะหู และทาํ ใหผฟู งไดร บั อรรถรสทางภาษาดว ย หลกั การอานออกเสียงรอยกรอง 1. อา นออกเสยี งใหด ังพอเหมาะ กับสถานที่และจาํ นวนผูฟ ง 2. อา นใหค ลอง ร่นื หู ออกเสียง ใหชัดเจนโดยเฉพาะตวั ร ล ตวั ควบกล้าํ 3. อานใหถูกฉนั ทลักษณข องคาํ ประพนั ธ เชน จํานวนคํา จํานวนวรรค สัมผัส ครุ ลหุ คําเปน คาํ ตาย 4. อานใสอารมณ ตามลีลาของบทรอยกรองดวยความรูสึกซาบซ้ึงชื่นชมในคุณคาของ บทรอ ยกรองนัน้ ๆ โดยใหมีทว งทาํ นอง สูง ต่ํา หนกั เบา เพอื่ ใหไดรสถอย รสเสยี ง รสความ รสภาพ การอา นกลอนสุภาพ 1. จาํ นวนคาํ ในกลอนสุภาพ ooo oo ooo ooo oo ooo ooo oo ooo ooo oo ooo 2. คณะ กลอนสภุ าพ บทหนึ่งมี 2 บาท บาทที่ 1 เรียกวา บาทเอก มี 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ บาทที่ 2 เรยี กวาบาทโท มี 2 วรรค คือ วรรครอง และวรรคสง พยางคในกลอนวรรคหน่ึง ๆ จะบรรจคุ ําประมาณ 6 - 9 คาํ กลอนแปด มวี รรคละ 5 คาํ รวม 4 วรรค เปน 32 คํา

26 3. วธิ ีอานกลอนสุภาพ กลอนมีหลายชนิด ไดแก กลอนหก กลอนแปด กลอนดอกสรอย กลอนสักวา กลอนบท ละคร การอานคลา ยคลึงกนั จะแตกตางกันบา งเพียงเลก็ นอ ย ดังน้ี 1. อานทํานองชาวบาน คือ เสียงสูง 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ และอานเสียงตํ่า ในวรรครอง และลดตํ่าลงไปอีกในวรรคสง 2. อา นทาํ นองอาลักษณ คือ อานเสียงสูง 2 วรรค คือ วรรคสดับ วรรครับ และอานเสียงต่ํา ในวรรครอง และลดตํ่าลงไปอีกในวรรคสง การแบง จํานวนคํา วรรคหนึง่ จะมี 8 - 9 คาํ ดังน้ี 3 2 3 เขาคลอขลุย ครวญเสยี ง เพยี งแผวผิว ชะลอนิ้ว พล้วิ ผา น จนมานหมอง ถา มี 9 คําจะแบง วรรคเปน 3 3 3 สรวงสวรรค ชนั้ กวี รุจรี ตั น ผอ งประภสั สร พลอยหาว พราวเวหา การอานกาพยยานี 1. จาํ นวนคาํ ในกาพยย านี oo ooo ooo ooo oo ooo ooo ooo 2. วิธีอาน วรรคที่ 1 และ 2 ในบาทเอกจะออกเสียงตา่ํ วรรคที่ 1 ในบาทโท จะอานออกเสยี งสงู ข้ึน หรือ อา นออกเสียงเหมือนวรรคท่ี 1 ก็ไดต ามความเหมาะสม วรรคที่ 2 ในบาทโท อา นออกเสียงตํา่ กาพยยานมี จี งั หวะการอาน ดังน้ี มัสหมั่น แกงแกวตา หอมยี่หรา รสรอ นแรง ชายใด ไดกลนื แกง แรงอยากให ใฝฝนหา การอา นโคลงส่สี ุภาพ 1. จํานวนคาํ ในโคลงสี่สุภาพ oo ooo oo oo oo ooo oo oo ooo oo oo oo ooo oooo 2. คณะโคลงบทหนง่ึ มี 4 บท บทที่ 1 2 3 4 บาทหนึง่ มี 2 วรรค คือ วรรคหนา และ วรรคหลัง มจี าํ นวนคําเทากนั คอื 5 คํา และ 2 คาํ ยกเวน วรรคหลงั ในบาทที่ 4 จะมี 4 คํา

27 3. วิธีการอาน การอานโคลงส่ีสุภาพสามารถอา นได 2 ลีลา คือ 1. อา นแบบรอยแกว 2. อานแบบทํานองเสนาะ การแบง ชวงเสยี ง วรรคแรกเปน 2 ชวง เปน 3 2 หรือ 3 2 วรรคหลัง เปน 2 การแบงชวงเสียง ตอ งพิจารณาใหคงความหมาย แทนท่จี ะแกตามปกตบิ ทรอ ยกรองที่ไพเราะ กวีจะจดั กลมุ คําไวด แี ลว การเอ้ือนเสียงทอดเสียง ตามปกติจะเอ้ือนเสียงทายวรรคแรกของแตละบาท ในบาทที่ 2 อาจเอ้ือนเสยี งไดถ ึงคาํ ที่ 1 คําที่ 2 ของวรรคหลงั และบาทที่ 4 ระหวางคาํ ที่ 2 กบั คาํ ท่ี 3 ของวรรคท่ี 2 และทอดเสยี งตามตาํ แหนงสมั ผสั ตวั อยา งโคลงสส่ี ุภาพ เรืองเรอื ง ไตรรตั นพน พนั แสง รนิ รส พระธรรมแสดง ค่าํ เชา เจดีย ระดงแซง เสยี ดยอด ยลย่งิ แสงแกว เกา แกนหลา หลากสวรรค (นริ าศนรนิ ทร) การอา นฉันท ฉันท มีลักษณะบังคับพิเศษแตกตางไปจากคําประพันธชนิดอ่ืนโดยบังคับ ครุ ลหุ แทนคํา ธรรมดา และบงั คบั สัมผสั เชนเดียวกับคําประพันธช นดิ อน่ื ๆ คาํ ลหุ ( , ) คอื พยางคท่มี ลี กั ษณะใดลกั ษณะหน่งึ ดังนี้ 1. การประสมสระเสยี งส้นั ในแม ก กา เชน จะ ทิ ปุ ยกเวน พยางคท่ีประสมดวย สระ อํา ใอ ไอ เอา ซงึ่ จดั เปนคําครุ เชน คํา ไกล ใจ เรา 2. คาํ บ บ จดั เปน คาํ ลหุ คาํ ครุ คือ พยางคทม่ี ีลกั ษณะใดลักษณะหน่งึ ดังน้ี 1. ประสมสระเสียงยาวในแม ก กา เชน อา ดี เธอ ปู 2. ประสมสระ อํา ใอ ไอ เอา 3. มตี ัวสะกด เชน มด กดั เด็ก แผนบงั คับอินทรวเิ ชียรฉนั ท อินทรวิเชียรฉันท บทหน่ึงมี 2 บาท บาทหนึ่งมี 2 วรรค วรรคหนา 5 คํา วรรคหลัง 6 คํา มกี ารแบง จงั หวะการอา น ดงั นี้ สายันห ตะวนั ยาม ขณะขา ม ทฆิ ัมพร เขาภาค นภาตอน ทิศตะตก กร็ าํ ไร

28 หนังสือและสือ่ สารสนเทศ หนังสือ ปจจุบันน้ีมีหนังสือออกมาจําหนายหลายประเภท ท้ังตาํ ราวิชาการ วารสาร นิตยสาร หนังสือพิมพ นวนิยาย เร่ืองส้ัน สารคดี ฯลฯ การท่ีมีหนังสือออกมาจาํ หนายมากมายเชนน้ี ผูอาน จึงจําเปนที่จะตองรูวิธีการเลือกหนังสือ เพ่ือจะไดอานหนังสือที่เหมาะกับความตองการของตนเอง เหมาะกบั เวลาและโอกาส วธิ กี ารเลือกหนังสอื ประเภทตาง ๆ ในการเลือกอานหนังสือประเภทตาง ๆ นั้น ผูอานควรพิจารณาใหรอบคอบ ละเอียดถี่ถวน เพื่อประโยชนในการพจิ ารณาคุณคา ของหนงั สือน้ัน ๆ หนงั สือแตล ะประเภทควรเลอื กพจิ ารณา ดงั น้ี 1. ตําราวชิ าการ เปนหนงั สอื ทใ่ี หความรูด า นตาง ๆ โดยเฉพาะอาจจะเสนอทฤษฎีหรือเนอ้ื หา สาระอยางกวาง ๆ หรือเฉพาะดานใดดานหนึ่ง โดยผูแตงมีจุดมุงหมายทางดานวิชาการโดยตรง การพจิ ารณาควรดูรายละเอยี ดในดานตาง ๆ ดงั น้ี 1.1 พิจารณาดานเนื้อหา เนื้อหาจะตองถูกตองกับชื่อหนังสือ เชน วิชาวิทยาศาสตร กฎหมาย ภาษาศาสตร ประวัติศาสตร คณิตศาสตร ฯลฯ หนังสือวิชาการแขนงใด เน้ือหาก็ควรจะ เนนแขนงนั้นโดยเฉพาะ 1.2 พิจารณาขอมูลและภาพประกอบ ขอมูลและภาพประกอบควรถูกตองชัดเจน โดยเฉพาะภาพประกอบ ควรดูวาตรงกับคําบรรยายหรือไม และภาพน้ันนาสนใจเพียงใดเหมาะสม กบั วชิ าน้ันหรอื ไม 1.3 การใชภ าษา ภาษาที่ใชค วรเปนภาษาที่เหมาะสมกบั แขนงวิชานนั้ ๆ และดูการสะกด คาํ ดว ยถาหากมีคําผดิ ก็ควรจะเลอื กดูหนงั สอื ที่มคี ําผิดนอยท่ีสุด นอกจากนกี้ ารพิจารณาตาํ ราวชิ าการควรดูสว นประกอบอน่ื ๆ ดวย เชน รปู เลม ควรมีคาํ นํา สารบัญ ฯลฯ 2. สารคดี เปนหนังสอื ท่ีมีสาระในดานใหความรู ความคิด พรอมทั้งใหความเพลิดเพลินดวย หนังสือประเภทน้ีมีหลายชนิด เชน วิทยาศาสตร ประวัติศาสตร ประวัติบุคคลสําคัญ ฯลฯ หนังสือ สารคดีท่มี ีคณุ ภาพนัน้ พจิ ารณาในรายละเอยี ดตา ง ๆ ดังนี้ 2.1 พจิ ารณาดา นเนอ้ื หาสาระ คณุ คา ของสารคดีน้ันอยูท ่เี นอื้ หาสาระเปนประการสําคัญ เนื้อหาท่ีดีจะตองถูกตองและสมบูรณ รวมท้ังเสนอความคิดเห็นที่เปนประโยชนตอผูอานและสังคม สวนรวม เชน 2.1.1 สารคดีประเภทชีวประวัติ เน้ือหาสาระจะตองตรงตอความเปนจริง ผูเขียน จะตอ งเขียนดวยใจเปนธรรม ไมอคติตอเจา ของประวตั ินน้ั ๆ เนื้อหาจงึ ควรมที งั้ สว นดแี ละสว นบกพรอ ง ของเจา ของประวัติ 2.1.2 สารคดีประเภททอ งเทีย่ ว ควรมีเนอ้ื หาท่ีใหท้ังความรูแ ละความบนั เทงิ รวมท้ัง ประสบการณท ่ีแปลกใหมน า สนใจ เพ่อื ใหผูอ า นไดท ราบขอ เท็จจรงิ เก่ยี วกับสถานทีน่ น้ั ๆ

29 2.1.3 สารคดปี ระเภทเชิงวชิ าการ ควรมีเน้ือหาทใี่ หค วามรูอ ยางถูกตองแมนยาํ ควรมีภาพหรอื แผนที่ประกอบใหถ กู ตองตรงกับสาระของเรื่องดว ย 2.2 พจิ ารณาวิธีการเขยี น วธิ ีการเขียนสารคดพี จิ ารณาไดจากหลักเกณฑตอ ไปนี้ 2.2.1 การวางโครงเรอื่ งและการดาํ เนนิ เรอ่ื ง สารคดีตองมีวิธีการดาํ เนินเรอื่ ง ตามลาํ ดับ 2.2.2 เราความสนใจ ขอเขียนทดี่ ผี เู ขียนจะมีวธิ กี ารเขียนท่ีจะดึงดูดความสนใจของ ผูอานใหติดตามอานไปเรื่อย ๆ โดยไมเกิดความเบื่อหนาย เชน การสอดแทรกความคิดเห็นหรือ เหตุการณปจจุบันที่นาสนใจหรือการเลาตํานาน นิทาน เกร็ดขําขันตาง ๆ เปนตน ตอนปดเรื่องก็จบ อยางซาบซึ้งประทบั ใจหรือใหข อคดิ อยา งใดอยา งหนึง่ เพอ่ื ใหผ อู า นอยากติดตามอา นตอไป 2.2.3 สํานวนภาษา ภาษาทใ่ี ชในการเขยี นสารคดีเปนถอยคําภาษาท่ีไพเราะงดงาม มีสาํ นวนกะทดั รัด อา นเขา ใจงา ย ไมใชสาํ นวนทีไ่ มสุภาพ 2.2.4 สว นประกอบอืน่ ๆ ควรพิจารณาเก่ียวกบั ผแู ตงและสว นประกอบรปู เลมของ หนังสือถาสารคดีนั้นเปนหนังสือเลม ซ่ึงจะมีคาํ วา สารบัญ เน้ือเรื่อง บรรณานุกรม ฯลฯ ตามรูปแบบของหนังสือ 3. บันเทิงคดี เปนหนังสือทแ่ี ตง เพอื่ มงุ ใหผอู า นเกดิ ความสนุกสนานเพลดิ เพลิน อาจจะแทรก วรรณคดี บทรอยกรอง บทละคร ซ่ึงสามารถแตงเปนรอยแกวหรือรอยกรองก็ไดตามความเหมาะสม ในการพิจารณาเร่อื ง บันเทงิ คดี ควรพิจารณาในดานตาง ๆ ดังนี้ 3.1 โครงเรื่องและเนือ้ เรือ่ งสวนสําคัญของนวนิยายและเรื่องส้นั คือ การเลา เรอ่ื ง โดยเลาวาเปนเรื่องของใคร เกิดขึ้นที่ไหน เมื่อไร มีความสมั พันธระหวางเหตุการณตาง ๆ ในเร่ืองและ ระหวา งบคุ คลในเรื่องเกยี่ วเนอื่ งกันไปโดยตลอด มีการสรา งความสนใจใหผ ูอานอยากตดิ ตาม นอกจากน้ี เหตุการณท ่เี กิดขึ้นในเรื่องควรสมจรงิ และเปนไปอยา งสมเหตุสมผล และมีสวนประกอบปลีกยอ ยอ่ืน ๆ เพอื่ ใหนา ติดตาม 3.2 การดําเนินเรอ่ื ง สว นสําคญั ทช่ี วยใหเรอ่ื งนา สนใจชวนตดิ ตามขน้ึ อยูกับการดําเนินเร่ือง การดําเนินเร่ืองมีอยูหลายวิธี เชน ดําเนินเร่ืองตามลําดับวัย คือ เร่ิมต้ังแตตัวละครเกิดจนกระท่ัง ถึงแกกรรมดําเนินเร่ืองยอนตน คือ เลาเหตุการณในตอนทายเสียกอน แลวยอนกลับไปเลาต้ังแตตน จนกระทง่ั จบ เปนตน ฉากที่ดตี อ งมีสภาพความเปนจริงท้ังสภาพภูมิศาสตรและประวัติศาสตร นอกจากนี้ ยงั ตองสอดคลองกับเรื่องดว ย 3.3 ตัวละคร ผูเขียนมีวิธีการแนะนําตัวละครไดหลายวิธี เชน ดวยการบรรยายรูปราง ลกั ษณะของตวั ละครเอง ดวยการบรรยายพฤติกรรมของตัวละคร หรือดวยการใหตัวละครสนทนากัน เปนตน การบรรยายลักษณะนิสยั ของตวั ละครทด่ี นี น้ั ควรบรรยายอยางสมจรงิ ตัวละครตัวหน่ึง ๆ จะมี ลกั ษณะนิสยั หลาย ๆ อยาง ไมใชด ีจนหาท่ีติมิได หรอื เลวจนไมมีความดีท่จี ะใหช มเชย ความตองการของ ตวั ละครทีด่ ีควรจะเหมอื นคนธรรมดาทว่ั ๆ ไป เชน มีความรัก ความโกรธ เกลียด หรือตองการความสนใจ จากผอู ื่น เปนตน

30 3.4 แนวคิดของเรื่อง แนวคิดของเร่ืองสวนมากผูเขียนจะไมบอกตรง ๆ ผูอานจะตอง คน หาเองวาไดแนวคิดอยางไร ตัวอยางเชน เร่ืองลูกชายของศรีบูรพา ตองการแสดงวา “ลูกผูชายนั้น มีความหมายอยางไร” จดหมายจากเมืองไทยของโบตั๋นตองการใหเห็นขอดีขอเสียของคนไทย โดยเฉพาะ “นาํ้ ใจ” ซงึ่ ไมเหมอื นกนั กบั ชาตอิ ่นื เปนตน นวนิยายหรือเร่ืองส้ันที่ดีน้ัน ผูอานตองพิจารณาคุณคาที่จะไดจากเรื่องนั้น ๆ ไมทางใด ก็ทางหนึง่ ดวย 3.5 สาํ นวนภาษา เปนส่ิงสําคัญมากอยางหนึ่ง ในการพิจารณาเลือกอานนวนิยายและ เร่ืองส้ันผูอานมักจะรูสึกวาตนเองชอบหรือไมชอบสาํ นวนของนักเขียนคนนั้นคนน้ี แตบางคนก็ไม สามารถบอกวาเพราะเหตุใด สิ่งที่ควรพิจารณาเก่ียวกับสํานวนภาษาคือสาํ นวนภาษาของตัวละคร ในบทสนทนา ตอ งสมจริงและเหมาะสมกับตวั ละคร ประโยคท่แี ตกตา งควรกะทดั รัด สละสลวย เขาใจงา ย หากเปน ประโยคยาวกค็ วรเปน สาํ นวนทส่ี ามารถสรา งอารมณ และความรสู ึกไดด ี 4. วารสารและหนงั สอื พิมพ หนังสือประเภทนี้คนทว่ั ไปไดอ า นบอยกวา หนงั สอื ประเภทอ่ืน ๆ ในการผลติ หนงั สอื ประเภทนต้ี องแขงกับเวลา ดังน้ัน โดยการพิจารณาหนังสือประเภทนี้ควรพิจารณา ดงั น้ี หนังสือพิมพ หนังสือพิมพเปนเครื่องมือสื่อสารท่ีจะกระจายขาวคราวเหตุการณตาง ๆ ไปทั่วประเทศหรืออาจทว่ั โลก โดยเฉพาะหนังสือพมิ พร ายวนั เปน เครื่องมือส่อื สารทีเ่ สนอขาวท่ีนา สนใจ ท่ีเกดิ ข้นึ ในแตล ะวนั ดงั นน้ั หัวใจของหนังสอื พิมพรายวันก็คือ “ขาว” การพิจารณาหนังสือพิมพรายวัน จึงควรพจิ ารณาเกยี่ วกบั ขา ววามสี ว นในการชว ยยกระดับสงั คมใหสงู ขึน้ หรือมีประโยชนตอชนหมูมาก หรอื ไม หากขา วนัน้ ไมเ กยี่ วกับความเปน อยูข องคนหมมู าก หรอื กระทบกระเทอื นตอประชาชนสวนใหญ เหตุการณเหลาน้ันก็ไมควรนํามาเสนอในหนาหนังสือพิมพ ขาวที่ควรนําเสนอควรเปนขาวที่เกี่ยวกับ การปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม การศกึ ษา การอนามยั การประกอบอาชีพ ฯลฯ เหตุการณที่ไมสมควรนํามาเสนอเปนขาวอีกอยางหน่ึงก็คือ เหตุการณที่อาจจะสงผลทําลาย ความมน่ั คงของชาติ หรอื ทําลายวัฒนธรรม และประเพณีอนั ดงี าม บทวจิ ารณ ในหนังสอื พิมพร ายวันทุกฉบับจะมบี ทวจิ ารณ หรือบทวิเคราะหขา ว ซงึ่ เปน ลักษณะ บทความ แสดงความคิดเห็นของผูเขียนเอง ประกอบกับขาวที่ตองการวิจารณ หรือวิเคราะหนั้น การพจิ ารณาบทวิจารณในหนังสอื พิมพ ควรพจิ ารณาถงึ ลกั ษณะตอ ไปนี้ 1. พจิ ารณาขอ มลู ทผ่ี ูเ ขยี นอางองิ วาถูกตอ งและมีขอเท็จจริงเพียงใด 2. พิจารณาวาผเู ขยี นบทความน้นั ชใ้ี หเหน็ ปญหาและวธิ แี กป ญ หาอยางไร 3. พจิ ารณาวา ผูเขียนบทวจิ ารณใชอารมณ และนําความรสู กึ สว นตวั เขาไปเก่ียวขอ งหรอื ไม 4. พิจารณาภาษาทใี่ ชวา มคี วามประณีตและถูกตอ งตามหลกั ภาษาเพียงใด วารสาร เปนหนังสือพิมพจําหนายตามกําหนดระยะเวลา เชน 7 วัน 10 วัน รายเดือน ราย 3 เดือน หรือรายป เปนตน หนังสือวารสารจึงมีเนื้อหาเนนทั้งสารคดี และบันเทิงคดี ขาวสารท่ี

31 ปรากฏมกั เปน ขาวสารที่มรี ะยะเวลาตอเนอื่ งกันเปนเวลานาน เชน ขา วเกีย่ วกับนโยบายโครงการตาง ๆ หรือขา วเกยี่ วกับการเมืองบางเรือ่ ง เปน ตน ดังนัน้ การอานวารสาร จงึ ควรพิจารณาเลือกอา นเร่ืองทเ่ี ราสนใจ และควรพยายามอาน อยา งสมาํ่ เสมอ นอกจากพิจารณาเก่ียวกับขาวสารดังกลาวแลว สิ่งท่ีควรพิจารณาอีกอยางหนึ่ง คือ รูปเลม ควรพิจารณาความเรยี บรอ ยและความคงทนของการจดั รูปเลม ใหเ หมาะสมกับราคาดวย ประโยชนข องการเลือกหนงั สือ การเลือกหนงั สอื ควรคาํ นึงถึงประโยชนที่จะไดร ับ ดงั ตอ ไปนี้ 1. เพอื่ ใหไ ดหนงั สือท่ีตรงกบั ความสนใจ และตอ งการทจี่ ะศกึ ษาคนควา 2. เพ่อื ใหไ ดอานหนงั สือทีด่ ีมีประโยชนต อ ชีวิต 3. เพือ่ เลอื กหนงั สอื ใหเ หมาะสมกับเวลา 1. การเลือกหนังสือทตี่ รงกับความสนใจ และตองการทีจ่ ะศึกษาคนควา ผูที่จะเลือกอานหนังสือประเภทน้ีก็คือ ผูที่มีความสนใจหนังสือเลมนั้นโดยตรง หรือผูที่ มีความตองการศึกษาคนควา เรื่องนั้น ๆ โดยเฉพาะ เชน ผูศึกษาคนควาตามแนวทางที่ตนไดเรียนมา ผูที่เรยี นทางดานภาษาก็จะคน ควาทางดานน้ี เพอ่ื จะไดรบั ประโยชนจากการอานอยางคุม คา 2. เพ่อื ใหไ ดอานหนงั สือทด่ี ีมปี ระโยชนตอชีวติ ผูท่ีอานหนังสือทุกคนยอมหวังท่ีจะไดรับประโยชนจากการอาน เชน ขอคิดเห็น ความรู ทางวิชาการ ขาวที่ทันเหตุการณ แนวทางดําเนินชีวิตที่ดี ฯลฯ แมวาจะไดรับประโยชนเพียงเล็กนอย ก็ตาม เพราะการทไ่ี ดรับประโยชนโดยตรงจากการอานนย้ี อมทําใหไมเ สยี เวลาโดยเปลา ประโยชน 3. เพอื่ เลือกหนงั สือใหเ หมาะสมกับเวลา การอานหนังสือนั้นจะเสียเวลามากหรือนอยยอมแลวแตเร่ืองที่อานวามีขนาดส้ัน ยาว แคไ หน มคี วามยากงายตอ การอา นมากนอ ยเพยี งใด ถาหากมเี วลานอยควรอานเรอื่ งสน้ั ทจ่ี บไดท ันเวลา ท่มี อี ยู ถามเี วลามากก็อานเรอ่ื งยาวขึน้ โดยเลอื กใหเ หมาะสมกับเวลา เพราะการอา นหนงั สือน้นั หากไม เลือกใหเหมาะสมกับเวลาอาจทาํ ใหผ ูอา นรสู ึกเบอื่ และไมอยากอา นอีกตอ ไป ประโยชนท ่ีไดร บั จากการอานหนงั สือ การอานหนังสอื ยอมไดรับประโยชนหลายประการ ซง่ึ พอจะสรปุ ได ดังนี้ 1. อา นหนังสอื ตรงกบั ความตอ งการของตน 2. ไดร ับความรูจากเรื่องนน้ั สมความตั้งใจ 3. ทําใหรักการอานมากยิง่ ข้ึน เพราะไดอานหนังสอื ท่ตี นเลือกเอง 4. ชว ยพฒั นาอาชีพใหกา วหนา 5. ชว ยใหเกดิ ความคดิ สรางสรรค 6. ทาํ ใหเ กดิ ความเพลิดเพลิน สนกุ สนาน

32 7. ทําใหท ราบความเปน ไปของบานเมือง ทนั โลก ทันเหตกุ ารณ 8. เพ่มิ พูนความรูความสามารถ เปน การพัฒนาตนเอง 9. ไดอ า นหนังสือทีม่ คี ณุ คา คุมกบั เวลาที่เสียไป สอื่ สารสนเทศ ปจจบุ ันไดมีการนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใชประโยชนทางการศึกษา ทั้งในดานการบรหิ าร การจัดการและการเรียนรูดานสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส เปนการใชประโยชนจากแหลงความรูจากส่ือตาง ๆ ทห่ี ลากหลายมากขึน้ เพื่อใหประชาชนสามารถเรยี นรูแ ละพฒั นาตนเองไดอ ยางตอ เนอ่ื ง สอื่ สารสนเทศมีทงั้ ส่ือส่ิงพมิ พ และส่ืออิเลก็ ทรอนิกส สอ่ื ส่ิงพมิ พ ส่ิงพิมพท่ีจัดพิมพขึ้นเพ่ือนําไปใชในการจัดการเรียนการสอน เชน หนังสือเรียน ตําราเรียน แบบเรียน แบบฝกหัด ใบงาน คูมือการสอนและสงเสริมการเรียนรู เชน หนังสือสงเสริมความรู สารานกุ รม พจนานกุ รม หนังสือพิมพ หนังสือบันเทิงคดี และสารคดีท่ีมีเน้ือหาเปนประโยชน สวนสื่อ สิ่งพิมพที่ใหความรูขาวสารตาง ๆ เชน หนังสือเลม หนังสือพิมพ วารสาร นิตยสาร เอกสาร จุลสาร แผนพับ แผน เปลา เปนตน สอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส สังคมยุคปจจุบัน การส่ือสารดวยเคร่ืองมืออิเล็กทรอนิกสมีใชกันอยางกวางขวางท่ัวประเทศ การใชส่ืออิเล็กทรอนิกสในสังคมยุคโลกาภิวัตนเปนเรื่องจาํ เปน เพราะชวยใหประชาชนเขาถึงขอมูล ขาวสารความรูตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว อันเปนการสงเสริมสรางโอกาสในการเขาถึงการศึกษาของ ประชาชน ใหส ามารถเรยี นไดอ ยางตอเนือ่ งตลอดชวี ติ สือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส ไดแก วทิ ยุ โทรทัศน เทปเสียง วดี ิทัศน โปรแกรมคอมพิวเตอรซอฟตแ วรในรปู แบบตา ง ๆ คอมพิวเตอรช วยสอน เปน ตน 1. วทิ ยุ เปน สอ่ื มวลชนท่ใี ชเสยี งเปน ส่ือ เรือ่ งราวท่สี อื่ สารมที ัง้ เรื่องทีใ่ หความบันเทงิ และเร่อื ง ทใ่ี หส าระความรู เชน ขาว บทความ รายการตอบปญ หา สัมภาษณบ คุ คลสาํ คัญ รายการวทิ ยุ เพ่อื การศึกษา เปน ตน 2. โทรทัศน เปนส่ือมวลชนท่ีใชทั้งเสียงและภาพเปนส่ือ การชมรายการทางโทรทัศน นอกจากเราจะสมั ผัสดวยหูแลว ยงั สมั ผัสไดดวยตาอกี ดว ย รายการโทรทศั นจงึ นาสนใจกวารายการวิทยุ และทําใหผูชมตื่นตวั อยูตลอดเวลา จึงประทับใจหรือจดจาํ ไดด ีกวา รายการวทิ ยุ รายการตาง ๆ ทางโทรทัศนไ มต า งกับรายการทางวิทยุ คือ มีทั้งรายการที่ใหความบันเทิงและ รายการทใ่ี หทงั้ ขอมูล ขาวสาร และความรูทท่ี นั สมยั ทนั เหตกุ ารณ รวมท้งั ใหความบันเทิง เชน รายการ ขาวทั้งในประเทศและตางประเทศ รายการโทรทัศนเพื่อการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช มหาวิทยาลัยรามคําแหง รายการสัมภาษณบุคคลสําคัญ รายการ รัฐบาลพบประชาชน รายการทดสอบเชาวน ความจาํ และอ่ืน ๆ 3. คอมพวิ เตอรช ว ยสอน เปนส่ือที่ผูเรียนสามารถนาํ ไปศึกษาดวยตนเองในเวลาและสถานท่ี ท่ีผูเรียนสะดวก ทําใหมีความเปนอิสระและเปนสวนตัวในการเรียนรู สามารถโตตอบหรือให

33 ผลยอ นกลับไดท ันที ทําใหผ เู รยี นทราบความกา วหนาในการเรียนของตนซึ่งหากไมเขาใจก็ยอนกลับไป ทบทวนไดห ลาย ๆ ดาน ทาํ ใหผเู รยี นไดพัฒนาความรูตามความพรอ มและศักยภาพของตน 4. อนิ เตอรเน็ต (Internet) หรือเทคโนโลยเี ครอื ขา ยเปนการเชอื่ มโยงแหลง ขอ มลู จากท่วั โลก ทหี่ ลากหลายคลา ยกับ “หองสมดุ โลก” ใหผูเรียนไดค นควา เน้ือหาสาระทตี่ องการไดอยางสะดวกรวดเร็ว และราคาประหยัด เรื่องที่ 3 การอา นจับใจความสําคัญ การอานจะเกิดประโยชนสงู สดุ แกผ ูอานไดนั้น ผูอานจะตองจับใจความสําคัญของเร่ืองที่อาน ใหไดแ ลวนาํ ไปปฏบิ ตั ิ ใจความสําคญั หมายถงึ ขอ ความท่ีเปน แกนหรอื หัวใจของเรอ่ื ง การจับใจความสําคัญในการอานก็คือ กรณีเอาขอความหรือประโยคที่เปนหัวใจของเรื่องนั้น ออกมาใหไ ด เพราะใจความสาํ คัญของเร่ืองจะเปน ใจความหลกั ของแตละบทแตล ะตอน หรือ แตละเรื่อง ใหรูวาแตละบทตอนน้นั กลา วถึงเรอื่ งอะไรเปน สาํ คญั ดังนน้ั การจบั ใจความสาํ คัญของเรื่อง ที่อานจะทํา ใหมคี วามเขาใจในเรอ่ื งน้ัน ๆ อยางแจม แจง หลักการอานจับใจความ 1. การเขา ใจความหมาย หลักเบื้องตนในการจับใจความของสาระท่ีอาน คือ การเขาใจความหมาย ความหมาย มีหลายระดับนับต้ังแตระดับคํา สํานวน ประโยค และขอความ คําและสํานวนเปนระดับภาษาที่ตอง ทาํ ความเขาใจเปน อนั ดบั แรก เพราะนาํ ไปสคู วามเขา ใจความหมายของประโยคและขอความ 1.1 ความหมายของคํา ความหมายของคําโดยทั่วไปมี 2 อยา ง คือ ความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย ก. ความหมายโดยตรง เปนความหมายตามรูปคําท่ีกําหนดขึ้น และรับรูไดเขาใจ ตรงกันความหมายประเภทน้ีเปน ความหมายหลกั ทใ่ี ชส อ่ื สารทาํ ความเขาใจกนั คําที่มีความหมายโดยตรงในภาษาไทยมีลักษณะอยางหน่ึงที่อาจเปนอุปสรรค ในการสื่อสารลักษณะดังกลาว คือ การพองคํา คําพองในภาษาไทยมีอยู 3 อยาง ไดแก คําพองรูป คําพอ งเสยี ง และคําพอ งรปู พอ งเสียง คําที่พอ งทัง้ 3 ลักษณะนีม้ คี วามหมายตางกัน คาํ พองรปู คือ คําท่ีสะกดเหมือนกัน แตออกเสียงตาง เชน เพลารถ กับ เพลาเย็น คําแรก ออกเสียง เพลา คาํ หลังออกเสียง เพ ลา คําพองรูปเปนอปุ สรรคตอการอานและทําความเขาใจ คําพองเสียง คือ คําท่ีออกเสียงเหมือนกัน แตสะกดตางกัน เชน การ กาน กานต กานท กาล กาฬ กาญจน ทง้ั หมดนอ้ี อกเสยี ง “กาน” เหมือนกนั การพอ งเสยี งเปนอุปสรรคตอการอาน เพ่ือความเขาใจ

34 คําพองรูปพองเสียง คอื คําทส่ี ะกดเหมอื นกันและออกเสยี งอยางเดยี วกัน โดยรูปคํา จะเหน็ วา เปน คาํ เดียวกัน แตมคี วามหมายแตกตางกนั ดงั ตวั อยา งตอไปน้ี ขนั หมายถงึ การทําใหแนน ขัน หมายถงึ ภาชนะตกั นา้ํ ขนั หมายถงึ ความรูส ึกชอบใจ ขัน หมายถงึ การสงเสียงรองของไกตัวผู ขัน หมายถงึ การรับ ฯลฯ คาํ พองรูป พองเสียงเปนอุปสรรคตอการฟงและอานเพื่อความเขาใจ วิธีท่ีจะชวยใหเขาใจ ความหมายของคาํ พอง จะตองดูคําขางเคียงหรือคาํ ท่ีประกอบกันในประโยค หรือขอความน้ัน ทเ่ี รยี กวา บรบิ ท ดงั ตวั อยา งตอไปน้ี ขนั ชะเนาะใหแ นน หยบิ ขันใหท ีซิ เขารูสกึ ขัน ไกข ันแตเ ชามดื เขาขันอาสาจะไปตดิ ตอ ให นอกจากดูคาํ ขางเคยี ง หรอื คําประกอบในประโยคแลว บางทีต่ องอาศยั สถานการณ เชน ประโยคท่วี า “ทําไมตอ งดกู ัน” คาํ วา “ดู” ในสถานการณท ว่ั ไป หมายถึง การมอง แตในสถานการณเ ฉพาะ เชน การสอบ ดจู ะมีความหมายวา ลอกกัน เอาอยา งกัน ในบทรอยกรอง ตองอาศัยฉันทลกั ษณ เชน สัมผัส เปนตน ตวั อยางเชน อยา หวงแหนจอกแหนใหแ กเรา แหน แ หน พอลมเพลาก็เพลาสายณั ห เพลา เพ ลา คําท่ีมีความหมายโดยตรงไดแก คําศัพท คําศัพท คือ คําที่ตองแปลความ เปนคําไทยที่มาจาก ภาษาอื่น สันสกฤต เขมร เปนตน เชน สมโภช รโหฐาน สุคติ โสดาบัน บุคคล จตุราบาย เปนตน รวมทั้งศัพทบัญญัติทั้งหลายท่ีใชในวงวิชาการหรือกิจบางอยาง เชน มโนทัศน เจตคติ กรมธรรม เปน ตน คําศัพทดังกลาวน้ีจําเปนตองศึกษาวามีมูลมาอยางไร ประกอบข้ึนอยางไร และมีความหมาย อยา งไร ข. ความหมายโดยนัย เปนความหมายท่ีสื่อหรือนําความคิดใหเกี่ยวโยงถึงบางส่ิง บางอยา งท่มี ลี ักษณะหรือคุณสมบัติเหมือนกับคําที่มีความหมายโดยตรง บางทานเรียกวา ความหมาย รอง หรือความหมายแฝง ความหมายโดยนัย มหี ลายลกั ษณะ กลาวคอื มคี วามหมายเปนเชิงเปรยี บเทียบ เชน เปรยี บเทียบโดยอาศยั นยั ของความหมายของคําเดิม ตัวอยางเชน

35 เธอมใี บหนา ยมิ้ แยม แจม ใส เขาทาํ งานเอาหนา หมายถงึ ทาํ งานเพ่อื ผลประโยชนข องตน เด็กสาดโคลนกันเลอะเทอะ เขาสาดโคลนคณุ พอ หมายถึง ใสร าย ตน ไมต นนเ้ี ปลอื กสวย หลอนรวยแตเปลอื ก หมายถึง ไมรา่ํ รวยจริง มกี ารเปรียบเทยี บกบั คุณสมบตั ขิ องสิง่ ท่ีนํามากลา ว เชน เขาเปน สิงหส นาม หมายถึง เปนคนเลนกฬี าเกง 1.2 ความหมายของสํานวน สาํ นวนเปนขอความที่มีความหมายพิเศษไปจากคําที่ประกอบอยูในขอความนั้น ไมไดมีความหมายตามรูปคาํ ความหมายของสาํ นวนมีลักษณะเปนเชิงเปรียบเทียบโดยอาศัยนัยของ ความหมายตามลกั ษณะหรือคุณสมบตั ิของขอ ความน้นั เชน ออยเขาปากชา ง หมายถงึ ของตกไปอยูในมือผอู น่ื แลวไมม ที างไดคืน ไกแ กแมปลาชอ น หมายถึง ผูทมี่ คี วามจัดจานเจนสงั เวยี น วัวหายลอ มคอก หมายถึง เม่อื เกดิ ความเสยี หายแลวจึงหาทางปองกนั กนิ ขา วตมกระโจมกลาง หมายถึง การพดู ถงึ สงิ่ สุดวิสัยทจ่ี ะทาํ ได สว นตาง ๆ ที่นาํ ไปกลาวเปรยี บเทยี บใหเ ขากบั สถานการณ เรียกวา คาํ พังเพย เชน เมอ่ื ของ หายแลวจงึ คิดหาทางปองกนั ก็เปรียบวา วัวหายลอมคอก เปนตน ความหมายของสํานวนมีลักษณะเหมือนความหมายโดยนัย คือ ตองตีความ หรือ แปล ความหมายตามนัยของคําหรือขอ ความนั้น ๆ 2. การเขา ใจลักษณะของขอ ความ ขอ ความแตล ะขอความตอ งมีใจความอนั เปน จดุ สําคัญของเร่ือง ใจความของเรื่องจะปรากฏ ท่ีประโยคสําคัญ เรียกวาประโยคใจความ ประโยคใจความจะปรากฏอยูในตอนใดของขอความก็ได โดยปกติจะปรากฏในตอนตา ง ๆ ดงั น้ี ปรากฏอยูในตอนตนของขอ ความ ตวั อยางเชน “ภัยอันตรายทีจ่ ะเปน เครอื่ งทาํ ลายชาติอาจเกดิ ข้ึนและมีมาไดต้ังแตภายนอก ทั้งที่ภายใน อนั ตรายทีจ่ ะมมี าต้ังแตภ ายนอกนัน้ ก็คือ ขา ศึกศตั รูยกมาย่าํ ยีตบี านตีเมืองเรา การที่ขาศึกศัตรูจะมาตีนั้น เขายอมจะเลือกหาเวลาใดเวลาหน่ึงซ่ึงชาติกําลังออนแอและมิไดเตรียมตัวไวพรอม เพ่ือตอสูปองกันตน เพราะฉะน้ันในบทที่ 2 ขาพเจาจึงไดเตือนทานทั้งหลายอยาไดเผลอตัว แตขอสําคัญที่สุดเปนเครื่องทอน กําลังและเสยี หลักความมนั่ คงของชาติ คือ ความไมส งบภายในชาตินั้นเอง จงึ ควรอธบิ ายความขอ นส้ี ักหนอ ย (พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจาอยูหัว ปลกุ ใจเสือปา)

36 ปรากฏอยใู นตอนกลางของขอ ความ ตัวอยา งเชน “อันความรกั ความชัง ความโกรธ ความกลวั ความขบขัน เหลา นี้เปนสามญั ลกั ษณะของปถุ ุชน ใครหวั เราะไมเ ปน ย้ิมไมอ อก กอ็ อกจะพกิ ลอยู คนสละความรกั ความชงั ไดก็มีแตพระอรหันต อารมณ ความรูส ึกดงั น้ี เปนธรรมชาติของมนษุ ย กวีและนักประพันธยอมจะแตงเรือ่ งยั่วเยา อารมณ ความรูสกึ เหลาน้ี และถาเขาแตงเปน แตงดี ก็จะปลุกอารมณของผูอานผูฟงใหเกิดข้ึน ทานคงจะเคยเห็นคน อานเร่อื งโศกจบั ใจจนนาํ้ ตาไหล สงสารตวั นางเอก พระเอก อานเร่ืองขบขันจนหัวเราะทองคัดทองแข็ง ท้ัง ๆ ที่รูวามันเปนเรื่องอานเลน และคนที่อานก็ไมไดมีสวนเสียอะไรกับตัวนาง ก็พลอยโศกเศราไป ดวยได อยางไรกด็ คี วามเศราของอารมณอนั เกิดจากความยวั่ เยาของศิลปะวรรณคดี ตลอดจนนาฏกรรม ตา ง ๆ น้นั เปน ความสขุ ชนิดหน่ึง มฉิ ะนนั้ เร่ืองทํานองโศกนาฏกรรมคงจะไมม ใี ครดเู ลย” (นายตํารา ณ เมอื งใต ภาษาและวรรณคด)ี ปรากฏใจความอยูทา ยยอ หนา ตัวอยางเชน “ทานกลาววา คนเปนสัตวท่ีเรียนรู คือ รูดู เห็นอะไรแลวเมื่อเห็นวาดีก็เอาไว ถาเห็นวาไมดี กไ็ มเ อาและหลีกเล่ียง เด็กรรู สหวาน กอ็ ยากไดอ ีก ถา รรู สขมของบอระเพด็ หรือเมื่อถูกไฟก็รูสึกรอนจะ ไมตองการกินบอระเพ็ดหรือเขาใกลไฟอีก นี่เปนเรื่องของการผานพบเคยรูเคยเห็นเรื่องน้ี ตอ ๆ มา หลาย ๆ ครั้ง เกิดความชาํ นาญชดั เจนขนึ้ โลกมีความเจรญิ กาวหนาเร่อื งวัฒนธรรมก็เพราะการผานพบ และการจดั เจนของมนุษย (เสถียรโกเศศ ชวี ติ ชาวไทยสมยั กอ นและการศกึ ษาเรอื่ งประเพณีไทย) ประโยคใจความอยตู อนตนและตอนทา ยของขอ ความ ตวั อยางเชน “คนไทยนั้นถือวา บา นเปนสิ่งจําเปนตอชีวิตต้ังแตเกิดไปจนตาย เพราะคนไทยโบราณนั้นใช บา นเปนทีเ่ กดิ การคลอดลูกจะกระทํากันท่ีบานโดยมีหมอพื้นบาน เรียกวา หมอตําแย เปนผูทําคลอด มไิ ดใชโรงพยาบาลหรือสถานผดงุ ครรภอ ยา งในปจจบุ นั น้ี และท่สี ดุ ของชีวติ เม่อื มีการตายเกิดขนึ้ คนไทย กจ็ ะเก็บศพของผูตายที่เปนสมาชิกของบานไวในบานกอนท่ีจะทําพิธีเผา เพื่อทําบุญสวดและเปนการ ใกลช ิดกับผูตายเปน ครัง้ สุดทาย ดังนนั้ บา นจึงเปนทีท่ ่ีคนไทยใชช วี ิตอยูเกือบตลอดเวลาต้ังแตเกิดจนตาย” (วิบูลย ล้สี ุวรรณ “บานไทย” ศลิ ปะชาวบา น) การเขา ใจถงึ การปรากฏของประโยคใจความในตอนตาง ๆ ของขอ ความดงั ที่กลา วแลว จะชวย ใหจ ับใจความไดด ยี ่ิงขน้ึ 3. การเขา ใจลักษณะประโยคใจความ เม่ือเขาใจถึงลักษณะของขอความวาตองมีประโยคใจความ และปรากฎอยูในตอนตาง ๆ ของขอ ความแลว ตอ งเขาใจตอ ไปวาประโยคใจความเปน อยา งไร ประโยคใจความ คือ ขอ ความทเ่ี ปนความคดิ หลกั ของหวั ขอ หรือเร่ืองของขอ ความน้ัน

37 ตัวอยา งเชน หวั ขอ บา น ความคิดหลัก บา นเปน ท่ีอยูอาศัย หวั ขอ ราชสีห ความคดิ หลัก ราชสีหไ ดช อ่ื วาเปนเจา ปา ในบรรดาสัตวท ้งั หลาย ความคิดหลกั น้ี คอื ประโยคใจความท่จี ะปรากฏในตอนใดตอนหนึง่ ของขอความท่ีกลา วแลว ฉะน้ันการท่ีจะทราบวา ประโยคใดเปน ประโยคใจความ ตอ งพจิ ารณาจากหัวเร่ือง ประโยคใจความมักมี เน้ือหาสอดคลอ งกบั หวั เรื่อง ในกรณที ไี่ มท ราบหัวขอ เรอื่ ง ตองเขา ใจวา สวนที่เปนประโยคใจความน้ันจะมเี นือ้ ความหลกั ของเนอ้ื ความอ่นื ท่ปี ระกอบกนั ขนึ้ เปน หวั ขอน้ัน ถาขาดสวนที่เปนใจความ เนื้อความอ่ืนก็เกิดข้ึนไมได หรอื ความหมายออนลง การอา นอยางวเิ คราะห การอานอยางวิเคราะห หมายถึง การอานท่ีมีการพิจารณาแยกรายละเอียดออกเปนสวน ๆ เพือ่ ทําความเขาใจ และใหเห็นถึงความสัมพนั ธร ะหวา งสวนตาง ๆ เหลานั้น การอานอยา งวิเคราะหเร่ิมตนจากพ้ืนฐานขอมูลและความคิดจากการอานเองเปนอันดับแรก เพ่อื ใหเขาใจเนอื้ เรื่องโดยตลอด ตอจากน้ันจึงแยกเร่ืองในบทอานออกเปนสวน ๆ ไดรูวา ใครทําอะไร เพื่ออะไร อยางไร ในเร่ืองมีใครบาง หรือตัวละครก่ีตัว และที่มีบทบาทสําคัญมีกี่ตัว ทําไมเหตุการณ จงึ เปนอยางน้นั หรือเพราะเหตใุ ด ตอไปนา จะเปนอยา งไร ตอ ไปน้ีจะนํานทิ านเรือ่ ง “กระตายบนดวงจันทร” มาเลาใหฟง นิทานเรื่อง กระตายบนดวงจันทร กาลครงั้ หนง่ึ มกี ระตา ย ลิง นกน้าํ และสนุ ขั จ้ิงจอก สาบานรวมกันวาจะไมฆาสัตวตัดชีวิต และ บาํ เพ็ญตนเปนฤๅษีอยูในปา พระอินทรขอทดสอบในศรัทธาของสัตวทั้งสี่ จึงปลอมตัวเปนพราหมณ เท่ียวขอบรจิ าคทานโดยไปขอจากลงิ เปน ตวั แรก ลงิ มอบมะมว งให จากนั้นพราหมณไปขอทานจากนกน้ํา นกนาํ้ ถวายปลาซ่งึ มาเกยตนื้ อยรู ิมฝง แมนาํ้ สว นสุนัขจิ้งจอกก็ถวายนมหมอหนึ่งกับผลไมแ หง เมอ่ื พราหมณไปขอบริจาคทานจากกระตาย กระตายพูดกับพราหมณวา “ขากินแตหญาเปน อาหารหญาก็ไมมีประโยชนใด ๆ กับทา นเลย” พราหมณจ งึ เอย ขนึ้ วา ถากระตายบําเพญ็ พรตเปนฤๅษี ท่แี ทจ รงิ ขอใหส ละชีวิตของตนเปนอาหารแกพราหมณ กระตายตอบตกลงทันทีและทําตามที่พราหมณ ขอรอ งวา ใหกระโดดลงกองไฟแดง พราหมณจะไมลงมอื ฆา และปรงุ กระตายเปนอาหาร กระตายปนข้ึน ยืนบนกอนหินและกระโดดลงกองไฟ ในขณะท่ีกระตายกําลังจะตกสูเปลวไฟน้ัน พราหมณไดควา กระตายไว แลวเปด เผยตัวตนทแ่ี ทจรงิ วาคือใคร แลวพระอินทรก ็นํากระตา ยไปไวบ นดวงจนั ทร (จากนิตยสารสารคดี ฉบบั ท่ี 147 ปท ี่ 13 หนา 30)

38 เม่ืออานเรือ่ งนอ้ี ยางวเิ คราะหก ็จะตอ งใหค วามคดิ ติดตามประเด็นตา ง ๆ ตัวละครในนทิ านเรื่องน้ี มใี ครบา ง มีลักษณะนิสัยอยางไร ตัวละครแตละตัวไดกระทําสิ่งใดบาง ทําอยางไร ผลของการกระทํา เปนอยางไร ทําไมสัตวทงั้ 4 จึงสาบานรว มกนั วา จะไมฆาสตั วแ ละบําเพญ็ ตนเปนฤๅษีอยูในปา เพราะเหตุใด สัตวทั้ง 4 จึงบริจาคทานไมเหมือนกัน ทําไมพราหมณจึงนํากระตายไปไวบนดวงจันทรเพียงตัวเดียว หากพระอนิ ทรน าํ สัตวท้งั 4 ไปไวบนดวงจันทรเ ราจะเหน็ รปู ของสัตวทั้ง 4 บนดวงจนั ทรทั้งหมดหรือไม เรอื่ งที่ 4 มารยาทในการอาน และนสิ ยั รักการอา น การอา นอยา งมมี ารยาทเปน เรอื่ งท่ีจาํ เปนและสาํ คญั เพราะการอานอยางมีมารยาทเปน เรื่อง การประพฤติปฏบิ ตั ิอยา งมวี นิ ยั และรบั ผิดชอบ รวมทั้งการมจี ติ สาํ นึกและแสดงถึงความเจรญิ ทางดาน จติ ใจทค่ี วรยดึ ถือใหเ ปนนสิ ยั มารยาทในการอา น คาํ วา มารยาท หมายถงึ กิริยา วาจาทเี่ รียบรอย หรอื การกระทาํ ท่ดี ีงาม ผอู า นที่ดีตอ งมี มารยาทที่ดีในการอา น ดังตอ ไปนี้ 1. ไมสงเสียงดังรบกวนผูอ ืน่ 2. ไมทําลายหนงั สอื โดยการ ขูด ลบ ขีด ทับ หรือฉกี สวนทต่ี อ งการ 3. เม่อื คดั ลอกเนอื้ หาเพือ่ อา งองิ ในขอ เขียนของตน ตอ งอา งองิ แหลง ทีม่ าใหถ กู ตอ ง ตามหลกั การเขียนอางองิ โดยเฉพาะงานเขยี นเชงิ วชิ าการ 4. เมือ่ อานหนงั สือเสรจ็ แลว ควรเก็บหนังสือไวท เี่ ดมิ 5. ไมควรอา นเรอ่ื งทเี่ ปน สว นตัวของผอู น่ื 6. อานอยา งต้ังใจ และมสี มาธิ รวมทัง้ ไมทาํ ลายสมาธผิ อู นื่ 7. ไมใชสถานทอี่ านหนังสือทาํ กิจกรรมอยางอื่น เชน นอนหลบั รบั ประทานอาหาร นิสยั รักการอา น การทบ่ี ุคคลใดบุคคลหนึง่ จะมีนสิ ัยรกั การอานไดจ ะตอ งไดรบั การฝก ฝนมาต้ังแตเ ดก็ ๆ แตก ม็ ใิ ช วาเม่ือโตเปนผูใหญแลวจะไมสามารถสรางนิสัยรักการอานได ท้ังน้ีเราจะตองสรางบรรยากาศ สภาพแวดลอมทเี่ อื้อใหเ ด็ก ๆ หนั มาสนใจการอาน ดงั น้ี 1. อา นหนงั สอื ที่ตนเองชอบ จะทําใหอานไดอ ยางตอ เน่อื ง และไมเบอื่ หนา ย 2. ทําตนใหเปนผใู ฝร ู 3. การอานจะตอ งมสี มาธเิ พอื่ จับใจความของเร่ืองท่อี านได 4. เริม่ อานหนังสอื จากระยะเวลาสัน้ ๆ กอน แลวคอ ย ๆ กําหนดเวลาเพิ่มขึ้น 5. การอานจะตอ งมสี มาธิเพอื่ จบั ใจความของเรือ่ งท่ีอานได

39 6. จัดตารางเวลาสาํ หรบั การอานหนังสอื เปน ประจาํ ทกุ วันใหเกดิ ความเคยชินจนเกิดเปนนิสัย รกั การอาน กิจกรรม บทที่ 3 การอาน กจิ กรรมที่ 1 ใหผเู รยี นตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. การอานในใจมจี ดุ มุงหมายอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………….…………… 2. การอา นออกเสียงมีลกั ษณะอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………….…………… 3. จงยกตัวอยา งการอานออกเสยี งท่เี ปน ทางการมา 5 ตัวอยา ง ……………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………….…………………………………………….……… กจิ กรรมท่ี 2 การจบั ใจความสําคัญ คอื การอานอยางไร ………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………..……… กิจกรรมที่ 3 สื่ออเิ ลก็ ทรอนิกสชวยใหเ กิดการเรยี นรูตลอดชีวิตไดแกอ ะไรบา ง ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………..…………………… กิจกรรมที่ 4 การอานอยางไร จึงจะเรียกวา เปน การอา นวเิ คราะหว ิจารณ ………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………….………………………………… กิจกรรมที่ 5 ผูอ า นทดี่ ี ควรมมี ารยาทอยา งไร ………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………….………………….……………

40 บทท่ี 4 การเขียน สาระสาํ คญั การเขยี น เปนทักษะสาํ คญั หนง่ึ ในทกั ษะท้งั สี่ของรายวิชาภาษาไทย คอื การฟง อา น เขียน และ พูด การเขยี นหนงั สอื ใหไ ดดีจะเปน พน้ื ฐานในการเรียนรู และการนาํ เสนอผลการเรียนรใู นเรอ่ื งตา ง ๆ ไดดี ทําใหความรูขยายไปอยา งกวางขวาง ผเู รยี นจึงควรไดรจู ักและฝกฝนการเขยี นประเภทตา ง ๆ ผลการเรียนทค่ี าดหวัง ผเู รียนสามารถ 1. เลอื กใชภ าษาในการนําเสนอตามรปู แบบของงานเขียนประเภทรอยแกว และ รอยกรอง ไดอ ยางสรางสรรค 2. ใชแผนภาพความคดิ จัดลาํ ดับความคดิ กอนการเขยี น 3. แตง บทรอ ยกรอง ประเภทกลอนสี่ กลอนสภุ าพ 4. เขียนบทรอ ยแกว ประเภทประวตั ติ นเอง อธบิ ายความ ยอ ความ ขา ว 5. เขยี นรายงานการคนควา สามารถอา งอิงแหลง ความรไู ดถกู ตอ ง 6. กรอกแบบรายการตา ง ๆ 7. ปฏิบัตติ นเปน ผมู มี ารยาทในการเขยี น และการจดบันทกึ อยา งสมา่ํ เสมอ ขอบขา ยเน้อื หา เรอ่ื งที่ 1 หลกั การเขยี น การใชภ าษาในการเขียน เรื่องที่ 2 หลกั การเขียนแผนภาพความคิด เร่ืองที่ 3 การเขยี นเรยี งความและยอ ความ เร่อื งท่ี 4 การเขยี นเพอื่ การสือ่ สาร เรอื่ งท่ี 5 การสรา งนิสัยรักการเขียนและการศึกษาคนควา

41 เรือ่ งท่ี 1 หลกั การเขียน การใชภาษาในการเขยี น หลักการเขียน การเขยี นเพื่อส่อื ความหมายใหผ ูอน่ื เขา ใจตามตอ งการน้นั มีความจําเปน ตองระมัดระวังใหม าก เก่ียวกับการใชภาษา ควรใชถ อยคําทค่ี นอาน อา นแลว เขาใจทันที เขียนดวยลายมอื ทช่ี ดั เจนอานงายเปน ระเบียบและผูเขียนจะตองใชภาษาใหถูกตองตามหลักการเขียน ใชคําใหเหมาะสมกับกาลเทศะและ บคุ คลดว ย จึงจะถือวาผเู ขยี นมหี ลักการใชภ าษาไดด มี ีประสิทธิภาพ การเขียนมหี ลกั ท่ีควรปฏบิ ตั ิดงั ตอ ไปน้ี 1. เขยี นใหชัดเจน อา นงาย เปนระเบยี บ 2. เขียนใหถูกตอ ง ตรงตามตวั สะกด การนั ต วรรณยุกต 3. ใชถ อ ยคาํ ท่ีสุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ และบุคคล 4. ใชภ าษาทง่ี าย ๆ สน้ั ๆ กะทดั รดั สือ่ ความหมายเขา ใจไดด ี 5. ใชภาษาเขียนที่ดี ไมควรใชภาษาพดู ภาษาโฆษณาหรอื ภาษาทไ่ี มไ ดม าตรฐาน 6. ควรใชเ ครอื่ งหมายวรรคตอนใหถ ูกตอ ง เชน เวนวรรค ยอ หนา ฯลฯ 7. เขยี นใหสะอาด ตวั อยา ง ขอ ความการเขยี นชองซา ยมือมีขอบกพรองอยางไร พรอมขอ วิจารณ ขอความท่ีเขยี น ขอวจิ ารณ 1. ความรกั โคถกึ 1. เขียนไมช ดั เจน อา นเขา ใจยาก ควรเขียน ใหชดั เจนวา “ความรักเหมอื นโคถกึ ” 2. ชวี ิตของฉนั มีหมานาํ 2. ใชคําไมส ภุ าพในภาษาพดู สุนขั 3. หมอเด็กยงั ไวใ จไมไ ด 3. คําขีดเสน ใตเ ขา ใจยาก ควรเปน “หมอคนนัน้ ยงั เด็กอยยู งั ไวใ จไมไ ด 4. คนกินกลว ย แขกรอนจนตาเหลือก 4. แบงวรรคไมถูก ควรเปน “คนกนิ กลวยแขกรอ นจนตาเหลือก 5. นายมาเปน ไขโ ปง ดับอนาถ 5. ใชสาํ นวนส่ือมวลชน ควรแกไ ขเปน \"นายมาถกู ยิงถงึ แกก รรมแลว \"