Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง รูปเรขาคณิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง รูปเรขาคณิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

Published by Teacher Indy, 2022-05-19 03:34:43

Description: หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง รูปเรขาคณิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

Search

Read the Text Version

โครงสรา้ งหน่วยการเรยี นรู้ รายวชิ า คณิตศาสตร์ 3 ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะห์รูปเรขาคณิต สมบัตขิ องรูปเรขาคณิต ความสัมพนั ธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้ ตัวชีว้ ัด : ค 2.2 ป.3/1 ระบุรูปเรขาคณิตสองมิตทิ ่ีมีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร หน่วย เวลา การ ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ / แผนการจัดการเรยี นรู้ (ช่ัวโมง) เรียนรู้ที่ 10 เรื่อง รูปเรขาคณิต 1 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง การเตรยี มความพร้อม 1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง รูปที่มีแกนสมมาตร 1 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 3 เรื่อง รปู ที่มีแกนสมมาตรหลายแกน 1 1 4 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 4 เรอ่ื ง รปู ท่มี ีแกนสมมาตรหลายแกน 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การประยุกตใ์ ชร้ ูปท่ีมีแกนสมมาตร (1) 1 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 6 เร่อื ง การประยุกตใ์ ช้รปู ที่มแี กนสมมาตร (1) 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7 เรอ่ื ง การประยุกตใ์ ชร้ ูปที่มแี กนสมมาตร (2) 1 แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 8 เร่ือง การประยุกตใ์ ช้รูปที่มีแกนสมมาตร (2) 1 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 9 เรอ่ื ง รว่ มคดิ ร่วมทำ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรอื่ ง แบบทดสอบท้ายบท

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101 ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรอื่ ง รูปเรขาคณิต เรอื่ ง การเตรยี มความพร้อม เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง สอนวนั ที่_________เดอื น________________พ.ศ.256_ มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะหร์ ูปเรขาคณติ สมบตั ิของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้ ตวั ช้วี ัด : - ทักษะพื้นฐานของนกั เรยี น 1.การจำแนก การสังเกต การเชื่อมโยง 2.รูปเรขาคณิตสองมิติ 3.การพับกระดาษ สาระสำคัญ รูปเรขาคณติ สองมิติ รอยพบั แกนสมมาตรรปู ที่มแี กนสมมาตรรปู ท่ีไม่มแี กนสมมาตรจำนวนแกน สมมาตร สาระการเรียนรู้ 1.ความรู้ รูปเรขาคณิต 2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ 1.ความสามารถในการสือ่ สารความหมายทางคณิตศาสตร์ 3.คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ 1.ใชห้ น้าเปิดบทของหนงั สือเรยี นเพอื่ กระต้นุ ความสนใจของนักเรยี นเกย่ี วกับสิ่งของท่ีมี ในภาพโดยใช้ คำถาม

− ภาพหน้าเปิดบทเป็นภาพเกยี่ วกับอะไร (เด็ก ๆ เลน่ กนั ท่สี นามเด็กเล่นของโรงเรยี น) − ในภาพมอี ะไรบ้าง (ธงชาติ ว่าว ดอกไม้ ตน้ ไม้ ก้อนเมฆ ผีเสื้อ แมลงเตา่ ทอง ต้นหญ้าธงสี หนา้ ต่างโรงเรียน เครอื่ งเล่นต่าง ๆ เชน่ ชิงชา้ กระดานลน่ื ไม้กระดก) − สงิ่ ใดบ้างทีม่ ลี กั ษณะคล้ายรูปเรขาคณติ และคล้ายรปู เรขาคณิตชนดิ ใด (ธงชาติ ว่าวหนา้ ต่าง โรงเรยี นและกระดานลน่ื มลี ักษณะคลา้ ยรูปสี่เหลยี่ ม ธงสี หนา้ จ่วั โรงเรียน และเสาชงิ ช้า มลี ักษณะคล้ายรปู สามเหลย่ี ม เกสรดอกไม้ ชอ่ งลมของบา้ นกระดานลื่น และแมลงเต่าทอง มีลักษณะคล้ายวงกลม แทน่ ยดึ ไม้ กระดก มีลักษณะคล้ายรูปหกเหลี่ยม) − รูปใดบา้ งเปน็ รปู ท่มี ีแกนสมมาตร 2.ถา้ นกั เรียนตอบคำถามสดุ ท้ายไม่ไดค้ รนู ำเขา้ สู่บทเรียนโดยกล่าววา่ ในบทเรียนนี้นกั เรยี นจะได้ เรียนร้เู ก่ยี วกับรปู ท่ีมีแกนสมมาตร ดังน้ี 3.การเตรยี มความพร้อมในการเรียนบทนใ้ี ห้นกั เรียนทำกิจกรรมเตรยี มความพร้อม“ตอนท่ี 1 รูป เรขาคณติ ”โดยแบง่ นักเรียนเปน็ กลุ่มแล้วแจกกระดาษ รปู เรขาคณิตชนิดต่าง ๆ ใหก้ ลุ่มละ 1 ชดุ ตามหนงั สอื เรยี น หน้า 140 4.ครูตดั กระดาษรปู เรขาคณติ ชนดิ ตา่ ง ๆจากนน้ั ครูขานชือ่ รูปเรขาคณิตทีละรูป เชน่ วงกลม วงรี รูป สามเหลยี่ มรูปส่ีเหลีย่ ม รปู หา้ เหลย่ี ม รูปหกเหลย่ี ม 5.แลว้ ให้นกั เรียนช่วยกนั เลือกกระดาษรูปเรขาคณติ ท่ีตรงกับ ช่ือรปู เรขาคณิต หรือในทางกลบั กนั ถา้ ครชู ูกระดาษ รปู เรขาคณิตให้นกั เรียนบอกชื่อรูปเรขาคณิตในกิจกรรม เตรียมความพรอ้ ม“ตอนที่ 2 ภาพใน กระจกเงา”ใหน้ ักเรียน จบั คู่กันและยืนหนั หนา้ เขา้ หากันจากนั้นให้นักเรยี นตกลง กันว่าใครจะเป็นคนแสดง ทา่ ทาง (A)และใครจะเปน็ คนทำทา่ ตาม (B) เมื่อครูใหส้ ญั ญาณให้ A แสดงท่าทาง เช่น ชมู ือขวาเหนือศรี ษะ ยก ขาซา้ ยไปขา้ งหลงั และให้ B ทำท่าทางเสมือนวา่ เป็นภาพ ในกระจกเงาของ A ดงั ตวั อย่างในหนังสือเรียนหน้า 140 ครใู ห้สัญญาณเพื่อเปลี่ยนท่าทางครูอาจ ใหน้ ักเรยี นแต่ละค่สู ลับบทบาทกันบา้ งจากน้ันครูอธบิ ายการทำ ทา่ ทางเสมือนวา่ เปน็ ภาพใน กระจกเงาของเพ่ือนนั้น คล้ายกับการทีเ่ ราสอ่ งกระจกเงาเม่อื เพื่อนชูมือขวาคนที่ ทำท่าเสมือน ต้องชูมือซ้ายของตนเอง จงึ จะเปน็ ภาพเสมือนจรงิ ในกระจกเงา 4

ส่ือการเรียนรู้ 1.หนงั สือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3 การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การ วิธวี ัด เครือ่ งมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ เรยี นรู้ กิจกรรม เตรียมความ 60% ข้นึ ไป ถือว่าผา่ นเกณฑ์ พรอ้ ม การประเมนิ 1. ดา้ นความรู้ (K) กิจกรรมเตรยี มความ แบบสงั เกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดบั ดา้ นทักษะ คุณภาพดีข้นึ ไป พรอ้ ม กระบวนการ แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรยี นได้คะแนนระดบั 2. ดา้ นทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมด้าน ดา้ นคุณลกั ษณะ คณุ ภาพดีขึน้ ไป ท่พี งึ ประสงค์ กระบวนการ (P) ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สังเกตพฤติกรรมด้าน ทีพ่ งึ ประสงค์ (A) คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ เกณฑก์ ารประเมนิ แบบฝึกหัด/ใบงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 1. 1.ความถูกต้องของ เน้อื หา 4 3 21 2. รปู แบบ เนอ้ื หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ 3. ความเป็นระเบยี บ ผลงานถกู ต้อง ผลงานถกู ต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกตอ้ ง ครบถ้วน สว่ นใหญ่ บางประเดน็ เปน็ ส่วนใหญ่ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่ น่าสนใจและ เป็นสว่ นใหญ่ ถกู ต้องบางส่วน เปน็ ไปตามเกณฑ์ เหมาะสมกับ สถานการณ์ ผลงานมคี วาม ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ เป็นระเบียบ ขอ้ บกพร่อง ขอ้ บกพร่อง เปน็ ระเบยี บ เล็กน้อย บางส่วน เกณฑ์ประเมินคุณภาพ 10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดบั 4 4 - 6 คะแนน หมายถึง พอใช้ ระดับ 2 7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี ระดับ 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรบั ปรุง ระดบั 1

เกณฑก์ ารให้คะแนนด้านทกั ษะและกระบวนการทำงาน ทักษะและกระบวนการ: การให้เหตุผล คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตุผลที่ปรากฏให้เห็น 4 : ดมี าก มกี ารอ้างอิง เสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจอยา่ งมีเหตุผล 3 : ดี มกี ารอ้างอิงทถ่ี ูกต้องบางสว่ น และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สนิ ใจ 2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสินใจ มคี วามพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ 1 : ควรปรบั ปรงุ แก้ไข ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา คะแนน:ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการแก้ปญั หาที่ปรากฏให้เห็น 4 : ดีมาก ใช้กระบวนการแก้ปัญหาได้สำเรจ็ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ อธบิ ายถึงเหตผุ ล หลกั การและขนั้ ตอนในการแกป้ ัญหาได้เข้าใจชดั เจนนำมาซึ่งคำตอบท่ถี ูกต้อง 3 : ดี ใชก้ ระบวนการแก้ปัญหาได้สำเร็จ แตน่ ่าจะอธบิ ายถึงเหตุผล หลักการและขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้ดีกว่านี้ 2 : พอใช้ มกี ระบวนการแก้ปัญหา สำเร็จเพียงบางสว่ น อธบิ ายถึงเหตผุ ล หลักการและข้นั ตอนในการแกป้ ญั หาได้บางสว่ น มรี ่องรอยการแกป้ ญั หาบางส่วน เริม่ คดิ ใช้เหตุผล หลกั การและขน้ั ตอน 1 : ควรปรับปรุงแกไ้ ข ในการแกป้ ัญหา แล้วหยุด อธบิ ายตอ่ ไม่ได้ แก้ปญั หาไม่สำเร็จ

ทกั ษะ และกระบวนการ: การเชื่อมโยง สรปุ องค์ความรู้ คะแนน:ระดับ ความสามารถในการเชื่อมโยงที่ปรากฏให้เหน็ คณุ ภาพ นำความรู้ หลกั การ และวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ในการเชอื่ มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์ 4 : ดีมาก หรือกจิ กรรมทต่ี ้องใช้องค์ความร้ทู ีเ่ รียนได้ถกู ต้องทุกกิจกรรมเพื่อช่วยในการแกป้ ัญหา หรอื ประยุกตใ์ ช้ได้อยา่ งสอดคล้องและเหมาะสม นำความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่ือมโยงกบั สาระคณิตศาสตร์ 3 : ดี หรือกิจกรรมทีต่ ้องใช้องค์ความรู้ที่เรียนไดเ้ ปน็ ส่วนใหญ่ เพอื่ ชว่ ยในการแก้ปญั หาหรอื ประยุกตใ์ ช้ได้บางส่วน 2 : พอใช้ นำความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตร์ไปเชอ่ื มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์หรอื กจิ กรรมท่ีต้องใชอ้ งค์ความรูท้ ่ีเรยี นไดบ้ างส่วน 1 : ควรปรบั ปรงุ นำความรู้ หลกั การ และวธิ ีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่ือมโยงยังไมเ่ หมาะสม สรุป แก้ไข องค์ความรูท้ ่ีได้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ : นักเรียนใฝเ่ รยี นรู้ คะแนน : ระดบั คณุ ลักษณะท่ปี รากฏใหเ้ หน็ คุณภาพ 3 : ดมี าก - มีความสนใจ / ความตงั้ ใจตลอดระยะเวลาการเรียนรู้ 2 : ดี - มคี วามสนใจ / ความตง้ั ใจเปน็ บางครั้ง 1 : พอใช้ - มีความสนใจ / ความต้ังใจในระยะเวลาส้นั ๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรยี น

คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ : นกั เรยี นมคี วามมงุ่ ม่ันในการทำงาน คะแนน : ระดบั คุณลักษณะท่ปี รากฏให้เห็น คุณภาพ 3 : ดีมาก - ส่งงานกอ่ นหรอื ตรงกำหนดเวลานัดหมาย - รับผิดชอบในงานทีไ่ ดร้ ับมอบหมายและปฏบิ ัตติ นเองจนเป็นนสิ ยั 2 : ดี - ส่งงานช้ากว่ากำหนด แตไ่ ด้มกี ารติดต่อชแ้ี จงผู้สอน มเี หตผุ ลทรี่ บั ฟงั ได้ - รับผิดชอบในงานท่ีได้รับมอบหมายและปฏบิ ัติตนเองจนเป็นนสิ ัย 1 : พอใช้ - ส่งงานชา้ กวา่ กำหนด - ปฏบิ ัติงานโดยต้องอาศยั การชแ้ี นะ แนะนำ ตักเตือนหรือให้กำลังใจ

กจิ กรรม

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 2 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101 ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 4 เรือ่ ง รปู เรขาคณิต เรือ่ ง รูปท่มี ีแกนสมมาตร เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง สอนวนั ที่_________เดือน________________พ.ศ.256_ มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชี้วดั มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะหร์ ูปเรขาคณิต สมบตั ขิ องรูปเรขาคณิต ความสมั พนั ธร์ ะหว่างรปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ตวั ชีว้ ดั : ค 2.2 ป.3/1 ระบุรูปเรขาคณิตสองมิตทิ ีม่ ีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร จดุ ประสงค์การเรยี นรูส้ ตู่ วั ชี้วัด 1.บอกระบรุ ูปทีม่ ีแกนสมมาตรได้ (K) 2.เขียนระบรุ ูปที่มีแกนสมมาตร (P) 3.นกั เรียนมคี วามมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A) สาระสำคัญ รปู ท่ีเม่อื พับแลว้ สองขา้ งของรอยพับ ทับกันสนิทเป็นรปู ทม่ี ีแกนสมมาตร รอยพบั เปน็ แกนสมมาตร สาระการเรยี นรู้ 1.ความรู้ รูปที่มีแกนสมมาตร 2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ 1.ความสามารถในการสื่อสารความหมายทางคณิตศาสตร์ 2.การแก้ปัญหา 3.คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุง่ มัน่ ในการทำงาน ช้ินงานหรือภาระงาน ใบงานที่ 2 เร่ือง รูปทีม่ แี กนสมมาตร กิจกรรมการจดั การเรียนรู้ 1.ก่อนจัดการเรียนการสอนเร่ืองรูปทมี่ ีแกนสมมาตร ครูฝึกใหน้ ักเรียนรู้จักการพับกระดาษที่ต้องพับ ใหส้ อง ขา้ งทับกันสนทิ เนื่องจากในบทเรยี นนี้ใหค้ วามหมายของรูปที่มีแกนสมมาตรวา่ เป็นรูปทีเ่ ม่ือพับแล้ว สองข้างของรอยพับทบั กนั สนิทและรอยพับเป็นแกนสมมาตร ดงั นั้นนักเรียนควรต้องมีพน้ื ฐาน เรือ่ ง การพับ กระดาษท่สี องข้างทบั กันสนิทโดยครใู ห้นักเรยี นทำกิจกรรม“พับกระดาษ” ตามหนังสือเรียน หนา้ 141ซ่ึงครู

ต้องสาธิตพร้อมอธิบายวิธกี ารพบั กระดาษใหส้ องขา้ งของรอยพับทบั กนั สนทิ พร้อมชใ้ี ห้นักเรยี นเหน็ การทับกัน สนิทของกระดาษและคลกี่ ระดาษออกใหน้ กั เรยี นเห็นรอยพบั จากน้ันแบ่งนักเรยี นเป็นกลมและแจกกระดาษ รปู ตา่ ง ๆ แล้วใหน้ ักเรยี นทดลองพับ กระดาษเพื่อหาว่ากระดาษรปู ใดบา้ งเมื่อพับแลว้ สองขา้ งของรอยพับทบั กนั สนิทแลว้ ใหน้ กั เรียน แต่ละกลุ่มนำเสนอวธิ ีการพบั กระดาษและร่วมกันแลกเปลี่ยนวิธกี ารพบั กระดาษ ดงั เช่นกระดาษรปู นี้ 2.จากกระดาษรปู ตา่ งๆท่ีนักเรียนพบั ครูช้ีให้ นักเรยี นสังเกตกระดาษรูปทเ่ี มือ่ พบั แลว้ สองข้าง ของรอย พับทบั กนั สนิทพร้อมแนะนำว่า รปู ลกั ษณะน้ีเราเรยี กว่ารูปทมี่ แี กนสมมาตรและ รอยพบั คอื แกน สมมาตรและจากกระดาษ รูปตา่ ง ๆทีน่ ักเรียนพบั ครูชี้ให้นักเรียนสังเกต กระดาษรปู ทีเ่ ม่ือพับแล้ว ไม่สามารถพับ ให้สองข้างของรอยพบั ทับกันสนทิ ได้ พร้อมแนะนำวา่ รูปลักษณะน้เี ราเรยี กว่า รูปท่ี ไมม่ ีแกนสมมาตร ดังน้ี 3.ครใู ห้นกั เรยี นสงั เกตรปู ทีม่ ีแกนสมมาตรและรูปที่ไม่มีแกนสมมาตร เพิ่มเติมจากหนงั สือเรยี นหน้า 142 ดังน้ี

4.เมอื่ นักเรียนรวู้ ธิ พี ับกระดาษเพ่ือบอกว่ารปู ใด เป็นรูปที่มีแกนสมมาตรหรือรูปใดเปน็ รูปที่ไม่มแี กน สมมาตร แล้วครูใหน้ ักเรียนฝึกการพับกระดาษเพื่อบอก รูปเรขาคณิตทีก่ ำหนดให้เปน็ รูปทม่ี ีแกนสมมาตร หรอื ไม่ โดยใหน้ ักเรยี นทำกิจกรรม “หารปู ท่มี แี กนสมมาตร” ตามหนังสือเรียนหนา้ 143 5.แล้วให้นักเรยี นพบั กระดาษรูปเรขาคณติ เพอื่ หาวา่ รูปใดเปน็ รปู ทีม่ ีแกนสมมาตร จากนัน้ ให้ นกั เรียน แต่ละกลุม่ นำเสนอและรว่ มกันแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ เน่ืองจากกระดาษรูปเรขาคณิตบางรปู นกั เรียนแต่ละกลุ่ม อาจพับได้แตกตา่ งกนั หรือพับได้หลากหลายวิธที ี่ ทำให้สองข้างของรอยพบั ทบั กนั สนิท ดงั น้ี 6.จากนั้นครูใหน้ กั เรียนแต่ละกลมุ่ ช่วยกนั บอกว่ารปู ทอี่ ยู่ในกรอบท้ายหนังสือเรียนหนา้ 143 รปู ใด เปน็ รปู ที่มแี กนสมมาตร ถา้ นักเรยี นยงั บอกไม่ได้ ให้ครแู จกกระดาษทตี่ ัดเป็นรูปต่าง ๆ ตามที่กำหนดแลว้ ใหน้ กั เรยี นพับและชว่ ยกันพจิ ารณาว่ารูปตา่ ง ๆ ดังกลา่ ว รปู ใดเปน็ รปู ทีม่ ี แกนสมมาตร โดยใช้การถาม - ตอบ เชน่

รูป 1 เป็นรูปท่มี แี กนสมมาตรหรอื ไม่ (เปน็ รูปท่ีมี แกนสมมาตร) รปู 2 เปน็ รูปทมี่ ีแกนสมมาตรหรือไม่ (ไมเ่ ปน็ รปู ทมี่ แี กนสมมาตร) และรปู 3เปน็ รปู ทีม่ ีแกนสมมาตรหรือไม่ (เป็นรปู ท่ีมีแกนสมมาตร) 7.ตรวจสอบความเขา้ ใจของนักเรยี นโดยครูให้นักเรยี นทำใบงานที่ 2 ครูและนักเรยี นรว่ มกันตรวจสอบ ความถกู ต้องจากนัน้ ครูและนักเรียนรว่ มกนั สรปุ สิง่ ที่ได้เรยี นรู้ วา่ “รูปท่ีเมอ่ื พับแล้วสองขา้ งของรอยพับ ทับกัน สนทิ เปน็ รปู ท่ีมีแกนสมมาตร รอยพับเปน็ แกนสมมาตร” สอื่ การเรียนรู้ 1. หนังสือเรยี นคณติ ศาสตร์ ป.3 2. ใบงานที่ 2 เรอ่ื ง รปู ทมี่ ีแกนสมมาตร การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงคก์ าร วธิ ีวดั เคร่อื งมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน เรยี นรู้ 1. ด้านความรู้ (K) ตรวจทำใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ การประเมิน 2. ดา้ นทกั ษะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสงั เกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดบั กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านทกั ษะกระบวนการ คุณภาพดีขึน้ ไป 3. ด้านคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสังเกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดบั ทพ่ี งึ ประสงค์ (A) คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ ดา้ นคณุ ลกั ษณะ คุณภาพดีขึน้ ไป ท่พี ึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝกึ หัด/ใบงาน ประเด็นการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 1. 1.ความถกู ต้องของ เนอ้ื หา 4 3 21 2. รูปแบบ เนอื้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ 3. ความเป็นระเบียบ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไมถ่ ูกต้อง ครบถว้ น สว่ นใหญ่ บางประเด็น เป็นสว่ นใหญ่ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่ น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถกู ต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์ เหมาะสมกบั สถานการณ์ ผลงานมคี วาม ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ เปน็ ระเบียบ ขอ้ บกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ เล็กนอ้ ย บางส่วน เกณฑป์ ระเมนิ คณุ ภาพ 10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดับ 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดับ 2 7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี ระดบั 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง ระดับ 1 เกณฑก์ ารให้คะแนนดา้ นทกั ษะและกระบวนการทำงาน ทกั ษะและกระบวนการ: การให้เหตผุ ล คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลท่ีปรากฏใหเ้ หน็ 4 : ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างมเี หตุผล 3 : ดี มีการอ้างอิงทถ่ี ูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สินใจ 2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสินใจ มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจ 1 : ควรปรับปรงุ แกไ้ ข

ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา คะแนน:ระดับคุณภาพ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น 4 : ดีมาก ใช้กระบวนการแกป้ ัญหาได้สำเร็จ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ อธิบายถงึ เหตุผล หลักการและขน้ั ตอนในการแก้ปัญหาได้เข้าใจชดั เจนนำมาซ่ึงคำตอบทถี่ ูกต้อง 3 : ดี ใช้กระบวนการแกป้ ญั หาไดส้ ำเร็จ แต่นา่ จะอธิบายถึงเหตุผล หลกั การและขน้ั ตอนในการแกป้ ัญหาได้ดกี ว่านี้ 2 : พอใช้ มีกระบวนการแกป้ ัญหา สำเรจ็ เพยี งบางส่วน อธบิ ายถึงเหตผุ ล หลกั การและขั้นตอนในการแก้ปญั หาได้บางส่วน มีร่องรอยการแกป้ ญั หาบางสว่ น เริ่มคดิ ใช้เหตุผล หลักการและข้ันตอน 1 : ควรปรับปรุงแก้ไข ในการแกป้ ัญหา แล้วหยดุ อธิบายต่อไม่ได้ แกป้ ัญหาไมส่ ำเรจ็ ทักษะ และกระบวนการ: การเชอ่ื มโยง สรุปองค์ความรู้ คะแนน:ระดับ ความสามารถในการเชือ่ มโยงที่ปรากฏใหเ้ ห็น คณุ ภาพ นำความรู้ หลกั การ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกับสาระคณติ ศาสตร์ 4 : ดมี าก หรือกิจกรรมท่ีต้องใช้องคค์ วามรูท้ ่ีเรียนได้ถกู ต้องทุกกิจกรรมเพื่อช่วยในการแก้ปัญหา หรอื ประยุกต์ใช้ได้อยา่ งสอดคลอ้ งและเหมาะสม นำความรู้ หลกั การ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกบั สาระคณิตศาสตร์ 3 : ดี หรอื กิจกรรมทต่ี ้องใชอ้ งคค์ วามรูท้ ่เี รยี นไดเ้ ป็นส่วนใหญ่ เพือ่ ชว่ ยในการแก้ปญั หาหรอื ประยุกต์ใช้ได้บางสว่ น 2 : พอใช้ นำความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตร์ไปเช่อื มโยงกับสาระคณติ ศาสตรห์ รอื กิจกรรมท่ีต้องใชอ้ งค์ความรูท้ ี่เรยี นได้บางสว่ น 1 : ควรปรับปรงุ นำความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่อื มโยงยงั ไม่เหมาะสม สรุป แกไ้ ข องค์ความรู้ที่ได้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ : นกั เรียนใฝ่เรยี นรู้ คะแนน : ระดบั คณุ ลักษณะที่ปรากฏให้เห็น คุณภาพ 3 : ดมี าก - มคี วามสนใจ / ความต้งั ใจตลอดระยะเวลาการเรียนรู้ 2 : ดี - มีความสนใจ / ความตัง้ ใจเปน็ บางครง้ั 1 : พอใช้ - มีความสนใจ / ความต้งั ใจในระยะเวลาสัน้ ๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ : นักเรยี นมคี วามมุง่ มัน่ ในการทำงาน คะแนน : ระดบั คณุ ลกั ษณะท่ปี รากฏให้เหน็ คณุ ภาพ 3 : ดีมาก - สง่ งานกอ่ นหรือตรงกำหนดเวลานดั หมาย - รับผดิ ชอบในงานท่ีไดร้ ับมอบหมายและปฏิบตั ติ นเองจนเปน็ นสิ ยั 2 : ดี - สง่ งานช้ากวา่ กำหนด แตไ่ ด้มกี ารตดิ ต่อชี้แจงผู้สอน มีเหตผุ ลท่รี ับฟงั ได้ - รบั ผดิ ชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมายและปฏิบัตติ นเองจนเปน็ นสิ ัย 1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากวา่ กำหนด - ปฏบิ ัตงิ านโดยตอ้ งอาศยั การชี้แนะ แนะนำ ตักเตือนหรือใหก้ ำลงั ใจ

ใบงานท่ี 2 เรอื่ ง รปู ทีม่ แี กนสมมาตร รูปใดเป็นรูปทมี่ ีแกนสมมาตร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………….………………………................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ .............. .....................................................................................…………….………………………................. ............................. .................................................................................................................……………………………… …………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………….………………………. .............................................................................................................................................................................. .................................................................................................................... .......................................................... .......................…………….………………………....................................................................................... ..................... ...................................................…………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………….………………………............................................................... ................................................................................................................... ........................................................... ............................................................................................................................. ..........…………….………………… ……...............................................................................................................................................................……… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………….………………………..........................................................................................................................

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 3 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เร่อื ง รปู เรขาคณติ เรือ่ ง รปู ทีม่ แี กนสมมาตรหลายแกน เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง สอนวนั ที่_________เดอื น________________พ.ศ.256_ มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชีว้ ัด มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบตั ิของรูปเรขาคณิต ความสมั พันธ์ระหวา่ งรปู เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้ ตัวชวี้ ัด : ค 2.2 ป.3/1 ระบุรูปเรขาคณิตสองมติ ทิ ี่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร จุดประสงคก์ ารเรียนรสู้ ูต่ วั ชี้วดั 1.บอกระบรุ ปู ที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร (K) 2.เขียนระบรุ ูปท่ีมแี กนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร (P) 3.นกั เรยี นมีความมงุ่ ในการทำงานและสามารถนำความรู้ทไี่ ด้ไปต่อยอดในการเรยี นเรื่องต่อไป (A) สาระสำคัญ รูปทีม่ ีแกนสมมาตร บางรูปมีแกนสมมาตร 1 แกน บางรปู มแี กนสมมาตรมากกว่า 1 แกน สาระการเรยี นรู้ 1.ความรู้ รูปทีม่ ีแกนสมมาตรหลายแกน 2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด 1.ความสามารถในการสื่อสารความหมายทางคณิตศาสตร์ 2.การแกป้ ัญหา 3.การเชอ่ื มโยง 3.คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน ชิน้ งานหรือภาระงาน ใบงานที่ 3 เรื่อง รูปที่มแี กนสมมาตรหลายแกน

กจิ กรรมการจดั การเรียนรู้ 1.เม่ือนกั เรียนมีความรเู้ กี่ยวกับรปู ท่ีมี แกนสมมาตรแลว้ ต่อไปนักเรียนจะได้เรียนรู้ เกี่ยวกับรูปท่มี ีแกน สมมาตรหลายแกนครยู กตัวอย่างโดยใชก้ ระดาษรปู ตา่ ง ๆ ทม่ี แี กน สมมาตร 1 แกน 2แกน หรอื มากกว่า 2 แกน ก็ได้ 2.ครูยกตวั อยา่ งรปู ส่เี หลย่ี มที่มแี กนสมมาตร 4 แกนและสามารถพับให้สองข้างของรอยพับทบั กันสนิท ได้หลายแบบครูอาจใหน้ ักเรียน ออกมาแสดงการพบั กระดาษในแต่ละแบบหรืออาจแสดงการพับให้นักเรยี นดู เป็นตัวอย่างก่อน แลว้ จงึ ให้นักเรยี นออกมาแสดงการพับกระดาษ โดยใช้การถาม – ตอบ ดังน้ี − รูปสีเ่ หล่ยี มรปู นเี้ ปน็ รูปท่ีมแี กนสมมาตรหรือไม่ เพราะเหตใุ ด (รูปสเ่ี หลย่ี มรปู นเี้ ปน็ รูป ท่ีมี แกนสมมาตรเพราะสามารถพับให้สองขา้ งของรอยพบั ทบั กันสนทิ ได)้ − สามารถพับใหส้ องข้างของรอยพบั ทับกนั ได้สนทิ ได้ก่ีแบบ(4แบบ) นกั เรียนบางคนอาจตอบว่า 2 แบบ 3 แบบ หรือ 4 แบบ ครูอาจแจกกระดาษแบบเดียวกันให้ นกั เรยี น คนละ 1แผน่ แล้วใหน้ ักเรยี นพับกระดาษแลว้ ขดี เส้นตามรอยพับตามทคี่ รสู าธติ จนครบท้ัง 4 แบบ จากน้ันครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปวา่ รูปสเ่ี หล่ียมรูปน้ีสามารถพับใหส้ องข้างของรอยพับทับกนั สนิท ได้ 4 แบบ ดังนี้ 3.จากนั้นครถู ามนกั เรยี นวา่ รูปสามเหลี่ยมนมี้ ีแกนสมมาตรก่แี กน (4แกน) ครแู ละนักเรยี นร่วมกัน สรุปว่า รูปสี่เหล่ียมทส่ี ามารถพับให้สองขา้ งของรอยพับทบั กนั สนิทได้ 4 แบบ จะมแี กนสมมาตร 4 แกน ดงั น้ี 4.จากนนั้ ครูแจกกระดาษท่ีตัดเปน็ รปู ต่าง ๆ ตามกรอบท้ายหนังสือเรียนหน้า 145 เชน่

แลว้ ให้นกั เรยี นพบั กระดาษแลว้ ขดี เสน้ ตามรอยพับ เพื่อช่วยกันพิจารณาว่ารปู ดังกล่าวมีแกนสมมาตรก่ี แกนโดยการถาม-ตอบเช่น รูปในข้อ1 นักเรียน สามารถพับให้สองข้างของรอยพับทบั กนั สนิทได้กแี่ บบ (2แบบ) ดงั นั้น รปู นีม้ ีแกนสมมาตรก่ี แกน (2 แกน) รปู ในขอ้ 2 นักเรยี นสามารถพบั ใหส้ องข้างของรอยพับทบั กนั สนิทได้ก่ีแบบ (5แบบ) ดังนนั้ รปู นี้ มแี กนสมมาตรกี่แกน (5 แกน) แล้วครูให้นกั เรยี นสังเกตวา่ รปู สี่เหล่ยี มในขอ้ 1และรูปสเ่ี หลี่ยม ที่ครูสาธิตการพับน้ันเป็นรูป สเ่ี หลี่ยมเหมือนกนั แตจ่ ำนวนแกนสมมาตรไม่เทา่ กัน 5.ครใู หน้ ักเรยี นทำกจิ กรรม“มแี กนสมมาตรก่ีแกน” โดยแบ่งนกั เรียนออกเปน็ กล่มุ แลว้ แจก กระดาษ รปู เรขาคณติ ชนิดต่างๆ ให้กลุ่มละ 1 ชดุ ตามหนังสือเรียนหน้า 146 ครอู าจตัดกระดาษรูปเรขาคณิต ชนิดตา่ ง ๆ แลว้ ใหน้ ักเรียน แต่ละกล่มุ พับกระดาษและขดี เสน้ ตามรอยพับเพื่อแสดง แกนสมมาตร แลว้ บันทึกจำนวน แกนสมมาตรของแต่ละรูปลงในแบบบันทึกกิจกรรมจากน้นั ครูและนกั เรียนร่วมกัน ตรวจสอบความถูกต้องครู และนกั เรยี นร่วมกนั อภิปราย เพม่ิ เติมเก่ียวกบั จำนวนแกนสมมาตรของวงกลมและวงรี ว่าแตกตา่ งกนั คือวงรี นนั้ มีแกมสมมาตรเพียง 2 แกน ส่วนวงกลมน้ันแกนสมมาตรหลายแกนจนไม่สามารถนบั ได้ ดงั น้ี กิจกรรม มีแกนสมมาตรกี่แกน 6.จากการพับกระดาษของรปู เรขาคณิตชนิดต่าง ๆ ในกิจกรรม “มีแกนสมมาตรกแ่ี กน”นักเรยี นจะได้ ความรวู้ า่ รปู เรขาคณิตชนดิ ตา่ งๆ มแี กนสมมาตรก่ีแกนแลว้ ครใู ห้ นักเรยี นจัดกลุ่มตามชนิดของรปู เรขาคณติ ชนดิ ต่างๆ และอนื่ ๆ แล้วพิจารณาดูว่ารปู เรขาคณติ ชนิดเดียวกันมจี ำนวนแกมสมมาตรเท่ากนั หรอื ไม่ และรูป เรขาคณิตรปู ใดบา้ งมีจำนวนแกนสมมาตรเท่ากับจำนวนด้านแลว้ ให้นักเรยี นแยกกลุ่ม ของรูปเรขาคณติ ชนิด ดงั กล่าวออกมาและใหพ้ จิ ารณาว่าเหมอื นกันอย่างไร (เหมือนกนั ตรงที่ รปู เรขาคณิตทแี่ ยกออกมานั้นจะมีความ ยาวดา้ นเท่ากันทุกดา้ นเชน่ รปู สามเหล่ียมที่มีความยาว ดา้ นเท่ากันทุกดา้ นรูปส่ีเหลยี่ มท่ีมีความยาวด้านเท่ากัน ทกุ ด้าน รปู ห้าเหลีย่ มที่มคี วามยาว ด้านเท่ากนั ทกุ ด้านรูปหกเหลย่ี มท่มี ีความยาวด้านเท่ากันทกุ ด้าน)แลว้ ครใู ห้ นักเรียนสงั เกตวา่ รูปเรขาคณิตเหล่านั้นมีแกนสมมาตรกี่แกน (รปู สามเหลี่ยมทมี่ ีความยาวดา้ นเทา่ กนั ทุกด้าน มแี กนสมมาตร 3 แกน รปู สเ่ี หลยี่ มที่มีความยาวด้านเทา่ กันทกุ ด้าน มีแกนสมมาตร4 แกน รูปหา้ เหล่ียมท่มี ี ความยาวด้านเทา่ กันทุกด้าน มีแกนสมมาตร 5 แกน รปู หกเหลย่ี มท่ีมคี วามยาว ด้านเท่ากนั ทกุ ด้านมแี กน

สมมาตร 6 แกน)ครูชใ้ี ห้นกั เรียนสังเกตรปู ที่มีแกนสมมาตรและจำนวน แกนสมมาตรเพ่ิมเตมิ จากหนังสือ เรยี นหน้า 147 ดังน้ี − รูปสามเหล่ยี มรูป 1 มีแกนสมมาตร 3แกน รูป 2 และ 3มีแกนสมมาตร 1 แกน − รูปสีเ่ หล่ยี ม รปู 4 มแี กนสมมาตร 4 แกน รูป 5 มแี กนสมมาตร 2 แกน และรูป 6 มแี กน สมมาตร 1 แกน ตรวจสอบความเข้าใจของนกั เรยี นโดยครูให้นักเรียนทำใบงานท่ี 3 ครูและนักเรียนรว่ มกนั ตรวจสอบ ความถกู ต้องจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสงิ่ ที่ได้เรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ 1. หนังสือเรยี นคณติ ศาสตร์ ป.3 2. ใบงานท่ี 3 เร่ือง รูปท่มี ีแกนสมมาตรหลายแกน

การวัดและประเมินผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงคก์ าร วธิ ีวัด เครื่องมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ เรยี นรู้ 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ การประเมนิ 1. ดา้ นความรู้ (K) ตรวจทำใบงานท่ี 1 เตรยี ม ทำใบงานที่ 1 เตรยี ม นักเรียนได้คะแนนระดบั คณุ ภาพดีขนึ้ ไป ความพร้อม ความพร้อม นักเรียนได้คะแนนระดบั 2. ดา้ นทกั ษะ สงั เกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม คณุ ภาพดีข้นึ ไป กระบวนการ (P) ทกั ษะกระบวนการ ดา้ นทกั ษะ กระบวนการ 3. ดา้ นคุณลกั ษณะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ (A) คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านคณุ ลกั ษณะ ทีพ่ งึ ประสงค์ เกณฑ์การประเมนิ แบบฝึกหัด/ใบงาน ประเดน็ การประเมิน ระดบั คุณภาพ 1. 1.ความถกู ต้องของ เนื้อหา 4 3 21 2. รูปแบบ เนื้อหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ 3. ความเป็นระเบยี บ ผลงานถกู ต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถกู ต้อง ผลงานไมถ่ ูกตอ้ ง ครบถว้ น สว่ นใหญ่ บางประเด็น เปน็ ส่วนใหญ่ การนำเสนอ การนำเสนอถกู ต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่ น่าสนใจและ เปน็ สว่ นใหญ่ ถูกต้องบางสว่ น เปน็ ไปตามเกณฑ์ เหมาะสมกับ สถานการณ์ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมี ผลงานไมม่ ีความ เป็นระเบียบ ขอ้ บกพร่อง ขอ้ บกพร่อง เปน็ ระเบียบ เลก็ นอ้ ย บางส่วน เกณฑ์ประเมนิ คุณภาพ 10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดบั 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดบั 2 7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี ระดับ 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง ระดบั 1

เกณฑก์ ารให้คะแนนด้านทกั ษะและกระบวนการทำงาน ทักษะและกระบวนการ: การให้เหตุผล คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตุผลที่ปรากฏให้เห็น 4 : ดมี าก มกี ารอ้างอิง เสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจอยา่ งมีเหตุผล 3 : ดี มกี ารอ้างอิงทถ่ี ูกต้องบางสว่ น และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สนิ ใจ 2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสินใจ 1 : ควรปรบั ปรงุ แก้ไข มคี วามพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา คะแนน:ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการแก้ปญั หาที่ปรากฏให้เห็น 4 : ดีมาก ใช้กระบวนการแก้ปัญหาได้สำเรจ็ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ อธบิ ายถึงเหตผุ ล หลกั การและขนั้ ตอนในการแกป้ ัญหาได้เข้าใจชดั เจนนำมาซึ่งคำตอบท่ถี ูกต้อง 3 : ดี ใชก้ ระบวนการแก้ปัญหาได้สำเร็จ แตน่ ่าจะอธบิ ายถึงเหตุผล หลักการและขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้ดีกว่านี้ 2 : พอใช้ มกี ระบวนการแก้ปัญหา สำเร็จเพียงบางสว่ น อธบิ ายถึงเหตผุ ล หลักการและข้นั ตอนในการแกป้ ญั หาได้บางสว่ น 1 : ควรปรับปรุงแกไ้ ข มรี ่องรอยการแกป้ ญั หาบางส่วน เริม่ คดิ ใช้เหตุผล หลกั การและขน้ั ตอน ในการแกป้ ัญหา แล้วหยุด อธบิ ายตอ่ ไม่ได้ แก้ปญั หาไม่สำเร็จ

ทกั ษะ และกระบวนการ: การเช่อื มโยง สรุปองค์ความรู้ คะแนน:ระดับ ความสามารถในการเชอ่ื มโยงทป่ี รากฏให้เหน็ คุณภาพ นำความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกบั สาระคณติ ศาสตร์ 4 : ดีมาก หรอื กจิ กรรมท่ตี ้องใชอ้ งคค์ วามรู้ท่เี รยี นได้ถกู ต้องทุกกจิ กรรมเพื่อชว่ ยในการแกป้ ญั หา หรือประยุกต์ใช้ได้อยา่ งสอดคล้องและเหมาะสม นำความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชือ่ มโยงกับสาระคณติ ศาสตร์ 3 : ดี หรอื กิจกรรมทีต่ ้องใช้องค์ความร้ทู ีเ่ รียนได้เป็นสว่ นใหญ่ เพอ่ื ชว่ ยในการแก้ปญั หาหรอื ประยุกต์ใช้ได้บางสว่ น 2 : พอใช้ นำความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตร์ไปเชื่อมโยงกับสาระคณิตศาสตรห์ รอื กิจกรรมที่ต้องใช้องค์ความรทู้ ่ีเรียนไดบ้ างสว่ น 1 : ควรปรับปรุง นำความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตร์ในการเช่ือมโยงยังไม่เหมาะสม สรุป แกไ้ ข องค์ความรทู้ ่ีได้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ : นักเรยี นใฝ่เรียนรู้ คะแนน : ระดบั คณุ ลักษณะทปี่ รากฏใหเ้ หน็ คณุ ภาพ 3 : ดมี าก - มีความสนใจ / ความตงั้ ใจตลอดระยะเวลาการเรยี นรู้ 2 : ดี - มีความสนใจ / ความตัง้ ใจเปน็ บางครงั้ 1 : พอใช้ - มคี วามสนใจ / ความต้งั ใจในระยะเวลาสน้ั ๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรยี น คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ : นกั เรียนมีความม่งุ มั่นในการทำงาน คะแนน : ระดับ คุณลักษณะทีป่ รากฏใหเ้ ห็น คณุ ภาพ 3 : ดีมาก - สง่ งานกอ่ นหรือตรงกำหนดเวลานดั หมาย - รับผิดชอบในงานทไี่ ด้รบั มอบหมายและปฏิบัติตนเองจนเป็นนสิ ัย 2 : ดี - ส่งงานชา้ กวา่ กำหนด แต่ได้มกี ารติดต่อชี้แจงผ้สู อน มเี หตุผลที่รับฟงั ได้ - รับผดิ ชอบในงานที่ไดร้ ับมอบหมายและปฏบิ ัติตนเองจนเปน็ นสิ ยั 1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากวา่ กำหนด - ปฏบิ ตั ิงานโดยตอ้ งอาศัยการช้แี นะ แนะนำ ตักเตือนหรอื ให้กำลงั ใจ

ใบงานที่ 3 เร่อื ง รปู ที่มีแกนสมมาตรหลายแกน รูปต่อไปนม้ี แี กนสมมาตรก่แี กน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………….………………………................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ................ .....................................................................................…………….………………………............... ............................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………….………………………................................................................................................................. ........................................................................................................................................................... ................... .....................................................................................…………….………………………............ .................................. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………….………………………................................................................................................................. ........................................................................................................................................................ ......................

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 กลุม่ สาระการเรยี นรู้ คณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เร่อื ง รปู เรขาคณติ เรือ่ ง รปู ทีม่ แี กนสมมาตรหลายแกน เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง สอนวนั ที่_________เดอื น________________พ.ศ.256_ มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชีว้ ัด มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณติ สมบตั ิของรูปเรขาคณิต ความสมั พันธ์ระหวา่ งรปู เรขาคณติ และทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้ ตัวชวี้ ัด : ค 2.2 ป.3/1 ระบุรูปเรขาคณิตสองมติ ทิ ี่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร จุดประสงคก์ ารเรียนรสู้ ูต่ วั ชี้วดั 1.บอกระบรุ ปู ที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร (K) 2.เขียนระบรุ ปู ท่ีมแี กนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร (P) 3.นกั เรยี นมีความมงุ่ ในการทำงานและสามารถนำความรู้ทไี่ ด้ไปต่อยอดในการเรยี นเรื่องต่อไป (A) สาระสำคัญ รูปทีม่ ีแกนสมมาตร บางรูปมีแกนสมมาตร 1 แกน บางรปู มแี กนสมมาตรมากกว่า 1 แกน สาระการเรยี นรู้ 1.ความรู้ รูปทีม่ ีแกนสมมาตรหลายแกน 2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด 1.ความสามารถในการสื่อสารความหมายทางคณิตศาสตร์ 2.การแกป้ ัญหา 3.การเชอ่ื มโยง 3.คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน ชิน้ งานหรือภาระงาน ใบงานที่ 4 เรื่อง รูปที่มแี กนสมมาตรหลายแกน

กิจกรรมการจัดการเรยี นรู้ 1.ครใู ห้นักเรยี นทำกจิ กรรม “หาแกนสมมาตร” โดยแบ่งนกั เรยี นเปน็ กลุ่มแล้วแจกกระดาษรูปตา่ ง ๆ ใหก้ ลุม่ ละ 1 ชุด ตามหนังสือเรียนหน้า 148 2.ครตู ดั กระดาษ รูปตา่ งๆ แล้วใหน้ กั เรยี น แตล่ ะกลุ่มพับกระดาษและขดี เสน้ ตามรอยพับ เพอ่ื แสดง แกนสมมาตรของรูปน้ัน ตัวอยา่ งการตดั กระดาษ จากนัน้ บนั ทึก จำนวนแกนสมมาตรลงในแบบบันทกึ กจิ กรรม จากน้นั ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันตรวจสอบ ความถูกตอ้ งครูอาจเนน้ ให้นักเรียนสังเกตว่า เวลาพบั กระดาษ แลว้ สองขา้ งของรอยพับ ต้องทบั กันสนิทและแต่ละรปู น้ันสามารถพับ ให้สองขา้ งของรอยพบั ทับกันไดส้ นิทกี่ แบบ แล้วขีดเสน้ ตามรอยพบั และบนั ทึกจำนวน แกนสมมาตรตามจำนวนรอยพบั ของรปู นน้ั 3.กิจกรรมในหนังสือเรยี นหน้า 149 นี้ จะเป็นการหา จำนวนแกนสมมาตรจากการลากเส้นผา่ นรปู แลว้ ให้รปู ทง้ั สองขา้ งของเส้นที่ลากนเ้ี ท่ากัน เปรยี บเทยี บกับการที่พบั กระดาษแล้วให้สองขา้ ง ของรอยพับทบั กนั สนิทครูอาจเชื่อมโยงให้ นักเรยี นเหน็ จากการนำกระดาษรปู ส่ีเหล่ียมที่พับ จากต้นชั่วโมง แลว้ นำรูปสีเ่ หลี่ยม นั้นมาวาดบนกระดานแล้วลากเสน้ ผา่ นรูปสีเ่ หลี่ยมให้รูปทงั้ สองข้างของเสน้ ทีล่ ากนี้เท่ากัน

จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกัน พจิ ารณารปู ต่างๆ ทก่ี ำหนดใหใ้ นหนังสอื เรยี น หน้า149 ว่ามี แกนสมมาตรกแ่ี กน โดยให้ชว่ ยกัน ลากเส้นผา่ นแตล่ ะรปู ที่คดิ ว่าเป็นแกนสมมาตร แล้วออกมานำเสนอ ครู และนกั เรยี นรว่ มกัน ตรวจสอบความถูกต้อง 4.ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนโดยครใู ห้นักเรยี นทำใบงานท่ี 3 ครูและนักเรียนรว่ มกันตรวจสอบ ความถกู ต้อง จากนนั้ ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปสง่ิ ท่ีได้เรียนรู้ วา่ รูปทีม่ แี กนสมมาตร บางรปู มีแกนสมมาตร 1 แกน บางรปู มีแกนสมมาตรมากกวา่ 1 แกน ส่ือการเรียนรู้ 1.หนงั สอื เรียนคณิตศาสตร์ ป.3 2.ใบงานที่ 4 เร่อื ง รปู ท่ีมีแกนสมมาตรหลายแกน

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จุดประสงค์การ วธิ ีวัด เครื่องมือวดั เกณฑก์ ารประเมิน เรียนรู้ 1. ด้านความรู้ (K) ตรวจทำใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือวา่ ผ่านเกณฑ์ การประเมนิ 2. ด้านทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรม นกั เรียนได้คะแนนระดับ กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ดา้ นทกั ษะ คณุ ภาพดีขึน้ ไป กระบวนการ 3. ด้านคุณลักษณะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรม นกั เรยี นได้คะแนนระดับ ท่พี งึ ประสงค์ (A) คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ ดา้ นคณุ ลักษณะ คุณภาพดีขน้ึ ไป ท่ีพงึ ประสงค์ เกณฑ์การประเมนิ แบบฝกึ หัด/ใบงาน ประเด็นการประเมิน ระดับคุณภาพ 1. 1.ความถูกต้องของ เน้อื หา 4 3 21 2. รูปแบบ เนอ้ื หาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนอื้ หาสาระของ เน้ือหาสาระของ 3. ความเป็นระเบียบ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเปน็ ผลงานถกู ต้อง ผลงานไมถ่ ูกตอ้ ง ครบถว้ น ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นสว่ นใหญ่ การนำเสนอ การนำเสนอถกู ต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่ น่าสนใจและ เปน็ สว่ นใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์ เหมาะสมกับ สถานการณ์ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไมม่ ีความ เป็นระเบยี บ ขอ้ บกพร่อง ข้อบกพร่อง เปน็ ระเบยี บ เลก็ น้อย บางส่วน เกณฑ์ประเมินคุณภาพ 10 - 12 คะแนน หมายถึง ดีมาก ระดับ 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดับ 2 7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี ระดับ 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรบั ปรุง ระดบั 1

เกณฑก์ ารให้คะแนนด้านทกั ษะและกระบวนการทำงาน ทักษะและกระบวนการ: การให้เหตุผล คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตุผลที่ปรากฏให้เห็น 4 : ดมี าก มกี ารอ้างอิง เสนอแนวคดิ ประกอบการตัดสินใจอยา่ งมีเหตุผล 3 : ดี มกี ารอ้างอิงทถ่ี ูกต้องบางสว่ น และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สนิ ใจ 2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสินใจ 1 : ควรปรบั ปรงุ แก้ไข มคี วามพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจ ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา คะแนน:ระดับคณุ ภาพ ความสามารถในการแก้ปญั หาท่ปี รากฏให้เห็น 4 : ดีมาก ใช้กระบวนการแก้ปัญหาได้สำเรจ็ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ อธบิ ายถึงเหตผุ ล หลกั การและขนั้ ตอนในการแกป้ ัญหาได้เข้าใจชดั เจนนำมาซึ่งคำตอบท่ถี ูกต้อง 3 : ดี ใชก้ ระบวนการแก้ปัญหาได้สำเร็จ แตน่ ่าจะอธบิ ายถึงเหตุผล หลักการและขั้นตอนในการแก้ปัญหาได้ดกี ว่านี้ 2 : พอใช้ มกี ระบวนการแก้ปัญหา สำเร็จเพียงบางสว่ น อธบิ ายถึงเหตผุ ล หลักการและข้นั ตอนในการแกป้ ญั หาได้บางสว่ น 1 : ควรปรับปรุงแกไ้ ข มรี ่องรอยการแกป้ ญั หาบางส่วน เริม่ คดิ ใช้เหตุผล หลกั การและขน้ั ตอน ในการแกป้ ัญหา แล้วหยุด อธบิ ายตอ่ ไม่ได้ แก้ปญั หาไม่สำเร็จ

ทกั ษะ และกระบวนการ: การเชื่อมโยง สรุปองค์ความรู้ คะแนน:ระดับ ความสามารถในการเช่ือมโยงทป่ี รากฏให้เห็น คุณภาพ นำความรู้ หลักการ และวิธกี ารทางคณิตศาสตรใ์ นการเชื่อมโยงกับสาระคณติ ศาสตร์ 4 : ดีมาก หรอื กจิ กรรมทต่ี ้องใชอ้ งคค์ วามรู้ทเี่ รยี นได้ถกู ต้องทุกกจิ กรรมเพื่อชว่ ยในการแกป้ ญั หา หรือประยุกตใ์ ชไ้ ด้อย่างสอดคลอ้ งและเหมาะสม นำความรู้ หลักการ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ในการเชอ่ื มโยงกบั สาระคณิตศาสตร์ 3 : ดี หรอื กิจกรรมทีต่ ้องใชอ้ งคค์ วามรู้ทเ่ี รียนไดเ้ ป็นสว่ นใหญ่ เพอ่ื ชว่ ยในการแกป้ ัญหาหรือประยุกตใ์ ช้ไดบ้ างสว่ น 2 : พอใช้ นำความรู้ หลกั การ และวธิ ีการทางคณิตศาสตร์ไปเช่อื มโยงกบั สาระคณิตศาสตร์หรอื กิจกรรมที่ต้องใชอ้ งค์ความรทู้ ่ีเรียนไดบ้ างสว่ น 1 : ควรปรับปรุง นำความรู้ หลกั การ และวธิ ีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเชื่อมโยงยังไม่เหมาะสม สรุป แกไ้ ข องค์ความรทู้ ่ีได้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ : นักเรียนใฝ่เรียนรู้ คะแนน : ระดบั คุณลักษณะทีป่ รากฏให้เห็น คณุ ภาพ 3 : ดมี าก - มีความสนใจ / ความตง้ั ใจตลอดระยะเวลาการเรยี นรู้ 2 : ดี - มีความสนใจ / ความตัง้ ใจเป็นบางคร้งั 1 : พอใช้ - มคี วามสนใจ / ความตงั้ ใจในระยะเวลาสัน้ ๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ : นักเรียนมคี วามมุ่งมน่ั ในการทำงาน คะแนน : ระดับ คุณลกั ษณะทีป่ รากฏใหเ้ หน็ คณุ ภาพ 3 : ดีมาก - สง่ งานก่อนหรือตรงกำหนดเวลานดั หมาย - รับผิดชอบในงานทีไ่ ด้รับมอบหมายและปฏบิ ตั ติ นเองจนเปน็ นิสยั 2 : ดี - ส่งงานช้ากวา่ กำหนด แตไ่ ด้มีการติดต่อชแ้ี จงผู้สอน มีเหตุผลทีร่ ับฟงั ได้ - รับผดิ ชอบในงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายและปฏบิ ัตติ นเองจนเป็นนสิ ัย 1 : พอใช้ - สง่ งานชา้ กวา่ กำหนด - ปฏบิ ตั ิงานโดยต้องอาศยั การชแ้ี นะ แนะนำ ตักเตือนหรอื ให้กำลังใจ

ใบงานที่ 4 เร่ือง รปู ท่ีมแี กนสมมาตรหลายแกน 1. รูปต่อไปนมี้ แี กนสมมาตรกีแ่ กน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………….………………………................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................…………….……………………….......................... ..................... ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………….………………………................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .....................................................................................…………….………………………......................... .....................

แผนการจัดการเรียนรูท้ ่ี 5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101 ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 เรอ่ื ง รปู เรขาคณิต เรอ่ื ง การประยุกต์ใชร้ ูปที่มีแกนสมมาตร (1) เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง สอนวนั ท่ี_________เดอื น________________พ.ศ.256_ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้วี ดั มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์รปู เรขาคณิต สมบตั ิของรูปเรขาคณติ ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งรูป เรขาคณิตและทฤษฎบี ททางเรขาคณติ และนำไปใช้ ตัวชีว้ ดั : ค 2.2 ป.3/1 ระบรุ ูปเรขาคณิตสองมิติทม่ี ีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้สู่ตัวชี้วดั 1.บอกหลกั การประยุกต์ใช้รปู ที่มีแกนสมมาตรเพื่อประดิษฐผ์ ลงานต่าง ๆ (K) 2.ประยกุ ต์ใช้รปู ท่ีมีแกนสมมาตรเพ่อื ประดิษฐผ์ ลงานตา่ งๆ (P) 3.นักเรียนมคี วามมงุ่ ในการทำงานและสามารถนำความรู้ทีไ่ ดไ้ ปตอ่ ยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A) สาระสำคญั สามารถนำความรเู้ กี่ยวกับรปู ท่ีมีแกนสมมาตรมาประดิษฐ์เป็นผลงานต่าง ๆ สาระการเรยี นรู้ 1.ความรู้ การประยุกต์ใชร้ ปู ทม่ี ีแกนสมมาตร 2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด 1.ความสามารถในการส่อื สารความหมายทางคณิตศาสตร์ 2.การแก้ปัญหา 3.การเชอ่ื มโยง 4.การให้เหตุผล 5.การคดิ สร้างสรรค์ 3.คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มนั่ ในการทำงาน ชน้ิ งานหรือภาระงาน ชน้ิ งานทเ่ี กดิ การประยุกตใ์ ช้รูปทมี่ แี กนสมมาตร

กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 1.ครอู ธิบายนักเรียนมีความรู้เรอ่ื งรปู ท่ีมีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตรแลว้ ครแู นะนำวา่ เรา สามารถนำความรเู้ รื่องรูปที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตรมาประยกุ ต์ใชใ้ นกจิ กรรม พบั กระดาษเพ่ือ ตดั ให้เป็นรปู ต่าง ๆ ได้ โดยครอู าจนำส่งิ ที่พบในชวี ติ จริงมาใชเ้ ปน็ ตัวอยา่ งนำเขา้ สู่ บทเรียน เช่น การตัด กระดาษทำพวงมโหตร ในงานประเพณลี อยกระทง งานวัดหรืองานบุญต่าง ๆ โคมไฟต่าง ๆ ดังรปู 2.ครใู ห้นักเรียนทำกิจกรรม“รูปทม่ี แี กนสมมาตรกบั การตัดกระดาษ” ตามหนงั สือเรยี นหนา้ 151-153 ซ่ึง กจิ กรรมนจี้ ะแบง่ เป็น 2 ตอน ได้แก่ ตอนท่ี 1 ครสู าธติ การพบั กระดาษ วาดและตดั ตามรอยทวี่ าด แลว้ คล่ี กระดาษออกมาใหเ้ ปน็ รปู หวั ใจตามหนงั สอื เรยี นหนา้ 151 ดังนี้ กจิ กรรมตอนท่ี 1 ใหน้ ักเรยี นทำกิจกรรมเพื่อให้เขา้ ใจวา่ การพับครึ่งกระดาษ 1 ครั้ง ตามรอย ท่พี ับนนั้ เปน็ การนำเอาความร้เู รื่องแกนสมมาตรมาใช้ รปู หวั ใจนี้มแี กนสมมาตร 1 แกน จงึ ตอ้ งพับกระดาษ 1 ครัง้ แล้ว วาดเส้นเปน็ รปู หัวใจด้านเดยี วเพือ่ ตัดแล้วจะได้หวั ใจเต็มรูป ตามหนงั สอื เรียนหน้า 151 จากนัน้ ครูให้นักเรยี นพับกระดาษ 1 คร้ัง แล้ววาดเปน็ รปู อ่ืน ตดั ตามรอยวาด แลว้ คลีก่ ระดาษออกมา นกั เรยี นจะได้กระดาษเป็นรปู อะไรบา้ ง เช่น 3.กิจกรรมตอนที่ 2เป็นกิจกรรมทนี่ ำความรเู้ รื่องรปู ทีม่ แี กนสมมาตร 2 แกนมาใช้ โดยครูสาธติ การพับคร่ึง กระดาษ 2 ครง้ั วาดและตัดตามรอยวาด แลว้ คลี่กระดาษออกมาเป็นรูปดอกไม้ลักษณะของกลบี ขึ้นอยู่กับวิธีพับกระดาษและการวาดตามหนังสือเรียนหน้า152 ครูใหน้ ักเรยี นพับครึ่ง กระดาษ 2 ครง้ั วาดและตัดตามทอี่ อกแบบเองจากนั้นคล่ีออกมาได้กระดาษเป็นรปู อะไรบา้ ง จากนั้นครูให้นกั เรยี นพบั ครงึ่ กระดาษมากกว่า 2ครง้ั วาดและตดั ตามรอยวาด แล้วคลี่กระดาษออกมา เป็นรูปอะไรบา้ ง ครใู ห้

นักเรียนนำผลงานท่ตี ัดทั้งหมดออกมาตกแตง่ ใหส้ วยงามแล้วนำเสนอหน้าห้องถา้ มีผลงานท่นี ่าสนใจ ครสู ่มุ ออกมาให้เจา้ ของผลงานนำเสนอวิธกี ารพบั วาดและตดั ตามรอยวาดนนั้ ครแู ละนักเรียนร่วมกัน อภิปรายเกี่ยวกบั การนำความรู้เรื่องรูปทมี่ ีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตรมาใชใ้ นกิจกรรมน้ี สือ่ การเรยี นรู้ 1.หนงั สือเรยี นคณติ ศาสตร์ ป.3 การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การ วธิ วี ัด เคร่อื งมือวัด เกณฑ์การประเมิน เรียนรู้ 1. ด้านความรู้ (K) ตรวจผลงานรูปท่มี ี ผลงานรูปท่ีมแี กน 60% ขึ้นไป ถอื ว่าผ่าน สมมาตรกับการตดั เกณฑ์การประเมนิ แกนสมมาตรกบั การ กระดาษ แบบสังเกต นกั เรยี นได้คะแนนระดับ ตัดกระดาษ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขึ้นไป ทักษะกระบวนการ 2. ดา้ นทักษะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสังเกต นกั เรยี นได้คะแนนระดบั พฤติกรรมดา้ น คุณภาพดีขึ้นไป กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ คณุ ลักษณะ ท่พี ึงประสงค์ 3. ด้าน สังเกตพฤติกรรมดา้ น คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึง คุณลกั ษณะทพี่ ึง ประสงค์ (A) ประสงค์ แบบประเมินช้ินงาน ระดบั คุณภาพ ลำดับท่ี รายการประเมนิ 32 1 (ดี) (พอใช้) (ปรบั ปรุง) 1 การสรา้ งผลงาน 2 ความคดิ สรา้ งสรรค์ 3 ความถกู ตอ้ งของเน้ือหา 4 กำหนดเวลาสง่ งาน รวม ลงช่อื ...................................................ผ้ปู ระเมนิ

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า ค 13101 ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 เรือ่ ง รปู เรขาคณิต เร่อื ง การประยุกตใ์ ช้รปู ที่มีแกนสมมาตร (1) เวลาเรยี น 1 ชวั่ โมง สอนวนั ท่ี_________เดอื น________________พ.ศ.256_ มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณติ สมบตั ขิ องรปู เรขาคณติ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรูป เรขาคณิตและทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนำไปใช้ ตวั ช้ีวดั : ค 2.2 ป.3/1 ระบรุ ูปเรขาคณิตสองมิติท่ีมีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร จดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้สู ูต่ วั ช้ีวดั 1.บอกหลกั การประยุกต์ใชร้ ูปทม่ี แี กนสมมาตรเพื่อประดิษฐผ์ ลงานต่าง ๆ (K) 2.ประยุกตใ์ ช้รูปท่ีมีแกนสมมาตรเพ่ือประดษิ ฐผ์ ลงานตา่ งๆ (P) 3.นกั เรยี นมคี วามมงุ่ ในการทำงานและสามารถนำความรู้ทไ่ี ดไ้ ปตอ่ ยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A) สาระสำคัญ สามารถนำความรูเ้ ก่ียวกบั รปู ท่ีมแี กนสมมาตรมาประดิษฐ์เปน็ ผลงานตา่ ง ๆ สาระการเรยี นรู้ 1.ความรู้ การประยุกตใ์ ช้รูปทมี่ ีแกนสมมาตร 2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด 1.ความสามารถในการสอื่ สารความหมายทางคณิตศาสตร์ 2.การแกป้ ญั หา 3.การเช่ือมโยง 4.การให้เหตผุ ล 5.การคิดสรา้ งสรรค์ 3.คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน ชน้ิ งานหรอื ภาระงาน ใบงานที่ 5 เกดิ การประยุกตใ์ ช้รูปทม่ี ีแกนสมมาตร

กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ 1.ครอู าจแนะว่า รูปทก่ี ำหนดให้นั้นเป็นรปู ทม่ี ีแกนสมมาตรกีแ่ กน (2แกน)แล้วให้ นักเรยี นพับตาม รอยทเี่ ป็นแกนสมมาตรแล้ววาดตามรูปอีกหนา้ หนึ่งของแกนสมมาตร ตดั ตามรอยวาด แล้วคล่ีกระดาษออกซง่ึ ขน้ึ อยกู่ ับว่านักเรยี นจะใชร้ ปู ท่มี แี กนสมมาตรก่ีแกนถ้าใชร้ ูปทมี่ แี กนสมมาตร 1 แกนก็ให้พบั ครง่ึ กระดาษ 1 คร้งั ดงั น้ี ถ้าใช้รปู ท่ีมแี กนสมมาตร 2 แกน ก็ให้พบั ครง่ึ กระดาษ 2 ครงั้ แลว้ วาดตามรปู อีกด้านหนึ่งของแกน สมมาตร ตดั กระดาษตามรอยวาด แลว้ คลี่กระดาษออกมา ดังน้ี 2.จากน้ันครใู หน้ กั เรยี นชว่ ยกนั พับครงึ่ กระดาษ วาด ตดั แลว้ คลี่ออกมาให้เปน็ รปู ตามทก่ี ำหนดให้ ในกรอบ ทา้ ยหนังสือเรียนหนา้ 153 ครูอาจแนะนำวา่ รปู ทีก่ ำหนดใหม้ แี กนสมมาตรกีแ่ กน 3.แล้วนักเรียนจะวาดรูปตามส่วนใดจึงจะคลี่ ออกมาแล้วเป็นรูปตามที่กำหนดให้ครูและ นักเรียนร่วมกัน อภิปรายเกี่ยวกับแกนสมมาตรและรูปที่มีแกนสมมาตรโดยครูเน้นว่ารอยพับคือ แกนสมมาตร ถ้ารูปที กำหนดให้มีแกนสมมาตร 1 แกนสามารถใช้วิธีการพับกระดาษ วาดแล้ว ตัดตามรอยวาดให้ได้รูปนั้น โดยพับ ครึ่งกระดาษ ได้ 1 ครั้ง แต่ถ้ารูปที่กำหนดให้มีแกนสมมาตร 2 แกนสามารถใช้วิธีการพับกระดาษวาด แล้วตดั ตามรอยวาดใหไ้ ด้รูปนน้ั โดยพับคร่ึง กระดาษได้ 1 ครั้ง หรือ 2 ครั้งก็ได้ตามจำนวน แกนสมมาตรและรูปท่ี วาดในการพบั แตล่ ะครง้ั กจ็ ะตา่ งกนั ด้วยครแู ละนักเรยี นร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง 4. ตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน เป็นรายบุคคลให้นักเรียนทำใบงานที่ 5 โดย แจกกระดาษให้ นักเรยี นคนละ1แผ่นพับคร่ึง กระดาษวาดและตัดกระดาษ แล้วคลี่ออกมา ใหไ้ ด้ตามรปู ที่กำหนด ครูอาจะแนะ ว่ารปู นม้ี ี แกนสมมาตรกแ่ี กน และต้องวาดรปู อยา่ งไร ครแู ละนักเรียนร่วมกนั ตรวจคำตอบ ดังนี้

ส่อื การเรียนรู้ 1.หนงั สือเรยี นคณติ ศาสตร์ ป.3 2.ใบงานท่ี 6 เรอื่ ง เกดิ การประยุกต์ใชร้ ปู ท่ีมีแกนสมมาตร การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การ วิธวี ดั เคร่ืองมือวัด เกณฑก์ ารประเมิน เรยี นรู้ 1. ดา้ นความรู้ (K) ตรวจผลงานรูปที่มีแกน ผลงานรปู ท่ีมีแกน 80% ข้นึ ไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ สมมาตรกบั การตัด สมมาตรกบั การตัด การประเมนิ กระดาษ กระดาษ 2. ดา้ นทกั ษะ สังเกตพฤติกรรมดา้ น แบบสังเกต นกั เรยี นได้คะแนนระดับ กระบวนการ (P) ทกั ษะกระบวนการ พฤติกรรมด้านทักษะ คณุ ภาพดีขน้ึ ไป กระบวนการ 3. ดา้ น สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรยี นได้คะแนนระดบั คณุ ลกั ษณะทพี่ ึง คณุ ลกั ษณะทพี่ ึง พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขน้ึ ไป ประสงค์ (A) ประสงค์ คุณลักษณะ ท่ีพงึ ประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝกึ หัด/ใบงาน ประเด็นการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 1. 1.ความถกู ต้องของ เนอ้ื หา 4 3 21 2. รูปแบบ เนอื้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ 3. ความเป็นระเบียบ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไมถ่ ูกต้อง ครบถว้ น สว่ นใหญ่ บางประเด็น เป็นสว่ นใหญ่ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่ น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถกู ต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์ เหมาะสมกบั สถานการณ์ ผลงานมคี วาม ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ เปน็ ระเบียบ ขอ้ บกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ เล็กนอ้ ย บางส่วน เกณฑป์ ระเมนิ คณุ ภาพ 10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดับ 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดับ 2 7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี ระดบั 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง ระดับ 1 เกณฑก์ ารให้คะแนนดา้ นทกั ษะและกระบวนการทำงาน ทกั ษะและกระบวนการ: การให้เหตผุ ล คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลท่ีปรากฏใหเ้ หน็ 4 : ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างมเี หตุผล 3 : ดี มีการอ้างอิงทถ่ี ูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สินใจ 2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสินใจ มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจ 1 : ควรปรับปรงุ แกไ้ ข

ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา คะแนน:ระดับคุณภาพ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น 4 : ดีมาก ใช้กระบวนการแกป้ ัญหาได้สำเร็จ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ อธิบายถงึ เหตุผล หลักการและขน้ั ตอนในการแก้ปัญหาได้เข้าใจชดั เจนนำมาซ่ึงคำตอบทถี่ ูกต้อง 3 : ดี ใช้กระบวนการแกป้ ญั หาไดส้ ำเร็จ แต่นา่ จะอธิบายถึงเหตุผล หลกั การและขน้ั ตอนในการแกป้ ัญหาได้ดกี ว่านี้ 2 : พอใช้ มีกระบวนการแกป้ ัญหา สำเรจ็ เพยี งบางส่วน อธบิ ายถึงเหตผุ ล หลกั การและขั้นตอนในการแก้ปญั หาได้บางส่วน มีร่องรอยการแกป้ ญั หาบางสว่ น เริ่มคดิ ใช้เหตุผล หลักการและข้ันตอน 1 : ควรปรับปรุงแก้ไข ในการแกป้ ัญหา แล้วหยดุ อธิบายต่อไม่ได้ แกป้ ัญหาไมส่ ำเรจ็ ทักษะ และกระบวนการ: การเชอ่ื มโยง สรุปองค์ความรู้ คะแนน:ระดับ ความสามารถในการเชือ่ มโยงที่ปรากฏใหเ้ ห็น คณุ ภาพ นำความรู้ หลกั การ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกับสาระคณติ ศาสตร์ 4 : ดมี าก หรือกิจกรรมท่ีต้องใช้องคค์ วามรูท้ ่ีเรียนได้ถกู ต้องทุกกิจกรรมเพื่อช่วยในการแก้ปัญหา หรอื ประยุกต์ใช้ได้อยา่ งสอดคลอ้ งและเหมาะสม นำความรู้ หลกั การ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกบั สาระคณิตศาสตร์ 3 : ดี หรอื กิจกรรมทต่ี ้องใชอ้ งคค์ วามรูท้ ่เี รยี นไดเ้ ป็นส่วนใหญ่ เพือ่ ชว่ ยในการแก้ปญั หาหรอื ประยุกต์ใช้ได้บางสว่ น 2 : พอใช้ นำความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตร์ไปเช่อื มโยงกับสาระคณติ ศาสตรห์ รอื กิจกรรมท่ีต้องใชอ้ งค์ความรูท้ ี่เรยี นได้บางสว่ น 1 : ควรปรับปรงุ นำความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่อื มโยงยงั ไม่เหมาะสม สรุป แกไ้ ข องค์ความรู้ที่ได้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ : นกั เรียนใฝ่เรยี นรู้ คะแนน : ระดบั คณุ ลักษณะที่ปรากฏให้เห็น คุณภาพ 3 : ดมี าก - มคี วามสนใจ / ความต้งั ใจตลอดระยะเวลาการเรียนรู้ 2 : ดี - มีความสนใจ / ความตัง้ ใจเปน็ บางครง้ั 1 : พอใช้ - มีความสนใจ / ความต้งั ใจในระยะเวลาสัน้ ๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ : นักเรยี นมคี วามมุง่ มัน่ ในการทำงาน คะแนน : ระดบั คณุ ลกั ษณะท่ปี รากฏให้เหน็ คณุ ภาพ 3 : ดีมาก - สง่ งานกอ่ นหรือตรงกำหนดเวลานดั หมาย - รับผดิ ชอบในงานท่ีไดร้ ับมอบหมายและปฏิบตั ติ นเองจนเปน็ นสิ ยั 2 : ดี - สง่ งานช้ากวา่ กำหนด แตไ่ ด้มกี ารตดิ ต่อชี้แจงผู้สอน มีเหตผุ ลท่รี ับฟงั ได้ - รบั ผดิ ชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมายและปฏิบัตติ นเองจนเปน็ นสิ ัย 1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากวา่ กำหนด - ปฏบิ ัตงิ านโดยตอ้ งอาศยั การชี้แนะ แนะนำ ตักเตือนหรือใหก้ ำลงั ใจ

ใบงานท่ี 6 เกดิ การประยุกต์ใช้รูปที่มแี กนสมมาตร พับ วาด และตัดกระดาษ แลว้ คลใ่ี หไ้ ด้รูปตามท่ีกำหนด

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 7 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ รหสั วชิ า ค 13101 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 เรอื่ ง รปู เรขาคณิต เรอ่ื ง การประยุกตใ์ ช้รปู ทม่ี ีแกนสมมาตร (2) เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง สอนวันท่ี_________เดือน________________พ.ศ.256_ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัด มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวเิ คราะห์รปู เรขาคณติ สมบตั ิของรปู เรขาคณิต ความสัมพันธร์ ะหวา่ งรปู เรขาคณติ และทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้ ตวั ชวี้ ดั : ค 2.2 ป.3/1 ระบุรูปเรขาคณิตสองมติ ิที่มีแกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตร จุดประสงค์การเรียนรูส้ ตู่ วั ช้ีวดั 1.บอกหลกั การประยุกต์ใชร้ ปู ทีม่ ีแกนสมมาตรเพื่อประดิษฐ์ผลงานต่าง ๆ (K) 2.ประยุกต์ใชร้ ปู ท่ีมีแกนสมมาตรเพอื่ ประดษิ ฐผ์ ลงานตา่ งๆ (P) 3.นักเรียนมคี วามมุง่ ในการทำงานและสามารถนำความรู้ทไี่ ดไ้ ปตอ่ ยอดในการเรยี นเรื่องต่อไป (A) สาระสำคญั สามารถนำความรู้เก่ยี วกับรปู ท่ีมีแกนสมมาตรมาประดิษฐเ์ ป็นผลงานต่าง ๆ สาระการเรยี นรู้ 1.ความรู้ การประยุกต์ใช้รปู ทีม่ ีแกนสมมาตร 2.ทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนการคดิ 1.ความสามารถในการส่ือสารความหมายทางคณิตศาสตร์ 2.การแกป้ ัญหา 3.การเชื่อมโยง 4.การให้เหตุผล 5.การคดิ สรา้ งสรรค์ 3.คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน ช้ินงานหรือภาระงาน ใบงานท่ี 6 เรอ่ื ง เกดิ การประยุกตใ์ ช้รปู ที่มีแกนสมมาตร

กิจกรรมการจดั การเรยี นรู้ 1.ครูยกตวั อย่างการนำความรู้เรือ่ งรปู ทมี่ ี แกนสมมาตรและจำนวนแกนสมมาตรมาใช้ใน การวาดรปู โดยใชก้ ระดาษจดุ จากนั้นครูแนะนำกระดาษจุดวา่ แตล่ ะจุดมรี ะยะหา่ งเทา่ กันพร้อม รปู ทมี่ แี กนสมมาตรทว่ี าด โดยใช้กระดาษจุด 2.ครใู ช้การถาม - ตอบ เพอื่ สรา้ งความเข้าใจเกย่ี วกับการวาดรูปโดยใช้กระดาษจุด ดงั น้ี − รูปนี้เปน็ รปู อะไร (รปู สามเหลย่ี ม) − รปู สามเหลีย่ มนี้เป็นรูปท่มี ีแกนสมมาตรหรือไม่ (รปู สามเหลี่ยมนี้เปน็ รูปที่มแี กนสมมาตร) − รูปสามเหล่ยี มน้ีมแี กนสมมาตรกแ่ี กน (1 แกน) 3.จากนั้นครูวาดแกนสมมาตรในรปู ดังน้ี 4.แล้วครูให้นกั เรยี นสังเกตรูปสามเหล่ียมทว่ี าดแกนสมมาตรแล้วนี้กับการวาดรปสู มมาตรโดยใช้ กระดาษจุดว่า มหี ลักการในการวาดรปู สมมาตรน้อี ยา่ งไร นักเรียนอาจจะยังตอบไม่ได้ ครนู ำรปู สามเหล่ยี มนี้ ตัดออก ครึ่งหน่ึงแลว้ ให้นักเรียนวาดรปู สามเหลี่ยมนอ้ี ีกด้านหน่ึง โดยใชก้ ารถาม - ตอบ ดังน้ี 5.นักเรยี นจะวาดรปู อีกด้านหน่ึงของรปู สามเหลย่ี มนไี้ ด้อย่างไรนักเรียนควรจะตอบได้ว่าต้องลากเส้น ให้เปน็ รปู สามเหลี่ยมโดยลากต่อจากจดุ ที่เป็นแกนสมมาตรให้มีจำนวนจุดเท่ากันเชน่ ลากเสน้ ตอ่ จากจุดทเี่ ปน็ แกนสมมาตรไปทางขวาจำนวน 3 จุด และลากมาเช่ือมกันดังรูป

6.จากนั้นครใู หน้ ักเรียนทำกิจกรรมตามหนงั สือเรียนหนา้ 155 โดยครวู าดรปู ท่ีมแี กนสมมาตรให้เพียง ดา้ นเดยี วแลว้ ใหน้ ักเรยี นวาดรปู ท่มี แี กนสมมาตรต่อจากรูปทีก่ ำหนดใหเ้ ป็นรปู ที่มแี กนสมมาตร 1 แกน โดยใช้ การถาม – ตอบ เชน่ − จากรูปทกี่ ำหนดจะวาดให้เปน็ รูปทีม่ ีแกนสมมาตรไดอ้ ย่างไร (ลากเส้นตอ่ จากจุดท่เี ป็น แกนสมมาตรใหม้ รี ะยะห่างเทา่ กัน) 7.จากน้ันครูและนักเรยี นสนทนารว่ มกันเกยี่ วกับการวาดรปู ดังกล่าวบนกระดาษจดุ ว่าการวาดรูปท่มี ี แกนสมมาตรโดยใช้กระดาษจุด เมอ่ื กำหนดแกนสมมาตรและรูปขา้ งหนงึ่ ของแกนสมมาตรให้ทำได้ โดย ลากเสน้ ผา่ นจุดบนกระดาษจุดทม่ี ีระยะห่างจากแกนสมมาตรเท่ากันกบั รูปอีกขา้ งหนึ่งของแกน สมมาตรตาม หนงั สอื หนา้ 155 ดงั น้ี 8. เมอ่ื นกั เรยี นเข้าใจวิธีการวาดรปู อีก ข้างหน่งึ ของแกนสมมาตรโดยใชก้ ระดาษจุด แลว้ ครูให้นักเรียน ทำกิจกรรม “ตอ่ ให้เปน็ รูป ท่ีมีแกนสมมาตร 1 แกน” ตามหนงั สือเรยี นหนา้ 156 เพือ่ ฝึกใหน้ ักเรียนมีความ เข้าใจมากขึ้น 9.โดยครูแจกใบกิจกรรมจากสือ่ เพิ่มเตมิ ของหนังสือเรียนบทน้ีใน QR Code หนา้ แรก ของบทให้ นักเรยี นคนละ 1แผ่นแล้วให้นักเรียน แตล่ ะคนลากเส้นต่อจุดให้ไดร้ ปู อกี ข้างหน่งึ ของแกนสมมาตรหรือ

ลากเสน้ ให้เปน็ รปู ทีม่ ี แกนสมมาตร 1 แกนและระบายสีตกแต่งภาพ ใหส้ วยงานพร้อมท้ังตงั้ ช่อื ภาพครูสมุ่ นกั เรยี น ออกมานำเสนอหรืออาจให้นกั เรยี นทุกคน นำผลงานมาตดิ ทปี่ ้ายนิเทศหนา้ ห้องเรยี น เพอ่ื แสดง ผลงาน 10.ตรวจสอบความเขา้ ใจของนกั เรียนโดยครใู หน้ กั เรยี นทำใบงานท่ี 6 ครแู ละนักเรียนร่วมกัน ตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากนั้นครูและนกั เรียนร่วมกันสรุปสิ่งท่ไี ดเ้ รียนรู้ สือ่ การเรียนรู้ 1.หนังสอื เรียนคณติ ศาสตร์ ป.3 2.ใบงานท่ี 6 เร่ือง เกดิ การประยกุ ตใ์ ช้รูปท่ีมีแกนสมมาตร การวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ จดุ ประสงค์การ วธิ ีวัด เครื่องมือวดั เกณฑก์ ารประเมิน เรยี นรู้ 1. ด้านความรู้ (K) ตรวจทำใบงาน ใบงาน 60% ขนึ้ ไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ การประเมิน 2. ด้านทักษะ สงั เกตพฤติกรรมด้านทักษะ แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรยี นได้คะแนนระดบั กระบวนการ (P) กระบวนการ ด้านทักษะกระบวนการ คณุ ภาพดีขน้ึ ไป 3. ดา้ นคุณลกั ษณะท่ี สังเกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ พึงประสงค์ (A) คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ ด้านคณุ ลักษณะ คุณภาพดีข้นึ ไป ทีพ่ งึ ประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝกึ หัด/ใบงาน ประเด็นการประเมนิ ระดบั คุณภาพ 1. 1.ความถกู ต้องของ เนอ้ื หา 4 3 21 2. รูปแบบ เนอื้ หาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนอ้ื หาสาระของ เนื้อหาสาระของ 3. ความเป็นระเบียบ ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไมถ่ ูกต้อง ครบถว้ น สว่ นใหญ่ บางประเด็น เป็นสว่ นใหญ่ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่ น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถกู ต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์ เหมาะสมกบั สถานการณ์ ผลงานมคี วาม ผลงานส่วนใหญม่ ี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ เปน็ ระเบียบ ขอ้ บกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ เล็กนอ้ ย บางส่วน เกณฑป์ ระเมนิ คณุ ภาพ 10 - 12 คะแนน หมายถงึ ดีมาก ระดับ 4 4 - 6 คะแนน หมายถงึ พอใช้ ระดับ 2 7 - 9 คะแนน หมายถึง ดี ระดบั 3 1-3 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง ระดับ 1 เกณฑก์ ารให้คะแนนดา้ นทกั ษะและกระบวนการทำงาน ทกั ษะและกระบวนการ: การให้เหตผุ ล คะแนน:ระดบั คณุ ภาพ ความสามารถในการใหเ้ หตผุ ลท่ีปรากฏใหเ้ หน็ 4 : ดีมาก มีการอ้างอิง เสนอแนวคิดประกอบการตัดสินใจอย่างมเี หตุผล 3 : ดี มีการอ้างอิงทถ่ี ูกต้องบางส่วน และเสนอแนวคิดประกอบการตดั สินใจ 2 : พอใช้ เสนอแนวคิดไม่สมเหตสุ มผลในการประกอบการตัดสินใจ มีความพยายามเสนอแนวคิดประกอบการตัดสนิ ใจ 1 : ควรปรับปรงุ แกไ้ ข

ทกั ษะและกระบวนการ : การแก้ปญั หา คะแนน:ระดับคุณภาพ ความสามารถในการแก้ปัญหาที่ปรากฏให้เห็น 4 : ดีมาก ใช้กระบวนการแกป้ ัญหาได้สำเร็จ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ อธิบายถงึ เหตุผล หลักการและขน้ั ตอนในการแก้ปัญหาได้เข้าใจชดั เจนนำมาซ่ึงคำตอบทถี่ ูกต้อง 3 : ดี ใช้กระบวนการแกป้ ญั หาไดส้ ำเร็จ แต่นา่ จะอธิบายถึงเหตุผล หลกั การและขน้ั ตอนในการแกป้ ัญหาได้ดกี ว่านี้ 2 : พอใช้ มีกระบวนการแกป้ ัญหา สำเรจ็ เพยี งบางส่วน อธบิ ายถึงเหตผุ ล หลกั การและขั้นตอนในการแก้ปญั หาได้บางส่วน มีร่องรอยการแกป้ ญั หาบางสว่ น เริ่มคดิ ใช้เหตุผล หลักการและข้ันตอน 1 : ควรปรับปรุงแก้ไข ในการแกป้ ัญหา แล้วหยดุ อธิบายต่อไม่ได้ แกป้ ัญหาไมส่ ำเรจ็ ทักษะ และกระบวนการ: การเชอ่ื มโยง สรุปองค์ความรู้ คะแนน:ระดับ ความสามารถในการเชือ่ มโยงที่ปรากฏใหเ้ ห็น คณุ ภาพ นำความรู้ หลกั การ และวิธีการทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกับสาระคณติ ศาสตร์ 4 : ดมี าก หรือกิจกรรมท่ีต้องใช้องคค์ วามรูท้ ่ีเรียนได้ถกู ต้องทุกกิจกรรมเพื่อช่วยในการแก้ปัญหา หรอื ประยุกต์ใช้ได้อยา่ งสอดคลอ้ งและเหมาะสม นำความรู้ หลกั การ และวธิ กี ารทางคณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกบั สาระคณิตศาสตร์ 3 : ดี หรอื กิจกรรมทต่ี ้องใชอ้ งคค์ วามรูท้ ่เี รยี นไดเ้ ป็นส่วนใหญ่ เพือ่ ชว่ ยในการแก้ปญั หาหรอื ประยุกต์ใช้ได้บางสว่ น 2 : พอใช้ นำความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตร์ไปเช่อื มโยงกับสาระคณติ ศาสตรห์ รอื กิจกรรมท่ีต้องใชอ้ งค์ความรูท้ ี่เรยี นได้บางสว่ น 1 : ควรปรับปรงุ นำความรู้ หลักการ และวธิ ีการทางคณิตศาสตรใ์ นการเช่อื มโยงยงั ไม่เหมาะสม สรุป แกไ้ ข องค์ความรู้ที่ได้

เกณฑ์การใหค้ ะแนนดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ : นกั เรียนใฝ่เรยี นรู้ คะแนน : ระดบั คณุ ลักษณะที่ปรากฏให้เห็น คุณภาพ 3 : ดมี าก - มคี วามสนใจ / ความต้งั ใจตลอดระยะเวลาการเรียนรู้ 2 : ดี - มีความสนใจ / ความตัง้ ใจเปน็ บางครง้ั 1 : พอใช้ - มีความสนใจ / ความต้งั ใจในระยะเวลาสัน้ ๆ ชอบเลน่ ในเวลาเรียน คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ : นักเรยี นมคี วามมุง่ มัน่ ในการทำงาน คะแนน : ระดบั คณุ ลกั ษณะท่ปี รากฏให้เหน็ คณุ ภาพ 3 : ดีมาก - สง่ งานกอ่ นหรือตรงกำหนดเวลานดั หมาย - รับผดิ ชอบในงานท่ีไดร้ ับมอบหมายและปฏิบตั ติ นเองจนเปน็ นสิ ยั 2 : ดี - สง่ งานช้ากวา่ กำหนด แตไ่ ด้มกี ารตดิ ต่อชี้แจงผู้สอน มีเหตผุ ลท่รี ับฟงั ได้ - รบั ผดิ ชอบในงานท่ีได้รบั มอบหมายและปฏิบัตติ นเองจนเปน็ นสิ ัย 1 : พอใช้ - สง่ งานช้ากวา่ กำหนด - ปฏบิ ัตงิ านโดยตอ้ งอาศยั การชี้แนะ แนะนำ ตักเตือนหรือใหก้ ำลงั ใจ

ใบงานท่ี 6 เกดิ การประยกุ ต์ใช้รูปทม่ี ีแกนสมมาตร เลือก ก ข หรือ ค ทเี่ ป็นรูปเมื่อนำมาต่อกับรปู ท่ีกำหนดใหแ้ ล้วได้รปู ท่มี แี กนสมมาตร