Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กระบวนการทางประวัติศาสตร์

กระบวนการทางประวัติศาสตร์

Published by Pim, 2021-01-20 07:18:28

Description: กระบวนการทางประวัติศาสตร์

Search

Read the Text Version

ประวตั ศิ าสตร์เป็ นวชิ าทศี่ ึกษาเกย่ี วกบั อดตี โดยศึกษาถึง พฤตกิ รรมของมนุษย์ ตามบริบทของช่วงเวลาทเี่ กดิ ขนึ้ ซึ่งมผี ล ต่อมนุษยชาตเิ มอ่ื เหตุการณ์น้ันเปลย่ี นแปลงไป ประวตั ิศาสตร์ซ้ารอยไม่มีจริง เพราะ ถึงเหตุการณ์ท่ี เกดิ ขนึ้ จะคล้ายกบั ในอดีตแต่ บริบทของสถานการณ์ บุคคลกไ็ ม่ เหมอื นเดมิ

ซองจดหมายส่วน พระองค์ ร.5

ภาพพระราชพธิ ีฉลองสิริ ภาพพระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ราชสมบตั ิครบ 60 ปี ปี (รัชกาลที่ 7) พระราชทานรัฐธรรมนูญ ฉบบั แรก แห่งราชอาณาจักรไทย

ภาพนา้ ท่วม ภาพพระบาทสมเด็จพระ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2485 จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) เสดจ็ ประพาสรัสเซีย

ภาพวาดแสดงสงคราม ภาพวาดแสดงเหตุการณ์คณะราชทูตไทย ยุทธหัตถี นาโดยออกญาโกษาธิบดี (ปาน) เข้าเฝ้ า พระเจ้าหลุยส์ท่ี 14 แห่งฝร่ังเศส

ประกอบด้วย 5 ข้นั ตอนตามลาดบั ดงั นี้ ข้นั ตอนที่ 1 การกาหนดหัวเรื่องทจี่ ะศึกษา เลอื กหัวข้อ หรือประเดน็ ทางประวตั ศิ าสตร์ทสี่ นใจ โดย อาศัยความรู้จากการอ่าน หรือค้นคว้า และความสนใจอยากรู้ ก็ จะทาให้เกดิ ควากระตอื รือร้นในการศึกษาอย่างจริงจงั การกาหนดหัวเรื่อง จะศึกษาเร่ิมจากเหตุการณ์ทม่ี คี วามสาคญั ทมี่ ีผลต่อการเปลย่ี นแปลงทางสังคม การเมอื ง เศรษฐกจิ

ข้นั ตอนท่ี 2 การรวบรวมหลกั ฐาน หลกั ฐานทเี่ ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร เป็ นหลกั ฐานทส่ี าคญั โดยเฉพาะในช้ันต้น หรือปฐมภูมิ รองลงมาคอื หลกั ฐานทุตยภูมิ โดยผู้ศึกษาจะต้องรวบรวมหลกั ฐานสาคญั และศึกษาให้มาก

ข้นั ตอนท่ี 3 การประเมนิ คุณค่าของหลกั ฐาน หลงั จากทรี่ วบรวมหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ช้ันต้น, ช้ัน รอง จะต้องมกี ารวเิ คราะห์ และประเมนิ ค่าว่าหลกั ฐานช้ันต้นใด น่าเช่ือถือ ไม่ใช่ของปลอม มคี วามถูกต้องเทยี่ งตรง ถ้าเป็ น หลกั ฐานช้ันรองจะวเิ คราะห์ว่า ใครเป็ นผู้เขยี น มคี ุณสมบตั ใิ น การเขยี นเพยี งใด ข้นั ตอนนีม้ คี วามสาคญั มาก ถ้าเกดิ ความ ผดิ พลาด จะทาให้ข้อมูลไม่ถูกต้อง

ข้นั ตอนที่ 4 การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ จัดหมวดหมู่ข้อมูล การวเิ คราะห์ ช่วยทาให้ประเดน็ ต่าง ๆ ได้รับการแยกแยะ ส่วนการสังเคราะห์จะเป็ นการรวมประเดน็ แล้วนาเคราะห์มูลมา วเิ คราะห์ให้ได้ประเดน็ ใหม่ แล้วนามาจดั เป็ นหมวดหมู่ให้ตรง กบั เร่ืองทศ่ี ึกษา จดั ให้เป็ นระบบ เห็นความสัมพนั ธ์ของข้อมูล โดยให้ความสาคญั กบั เวลาว่าเวลาใดมากก่อนหลงั

ข้นั ตอนสุดท้าย ข้นั ตอนการเรียบเรียง / นาเสนอ เป็ นข้นั ตอนทส่ี าคญั ทส่ี ุด ผู้ศึกษาจะต้องนาข้อมูลต่าง ๆ ท่ี ได้ มาเรียบเรียง ให้ชัดเจนตรงประเดน็ มกี ารวเิ คราะห์ นาเสนอ ความรู้ทไ่ี ด้จากการศึกษา โดยภาษาทเี่ ข้าใจง่าย ชัดเจน มกี าร อ้างองิ ทไ่ี ปทมี่ าของข้อมูล โดยใช้เชิงอรรถ และบรรณานุกรม



1) หลกั ฐานที่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร - พระราชพงสาวดารกรุงเก่า ฉบับหลวงประเสริฐฯ เป็ นทย่ี อมรับเร่ืองของความถูกต้องเกย่ี วกบั เวลาศักราช และ เหตุการณ์ทก่ี ล่าวถงึ - พระราชพงสาวดารฉบบั พระราชหัตถเลขา มกี าร ตรวจสอบและชาระในสมยั รัชกาลท่ี 4 ทาให้เข้าใจแหตุการณ์ได้ ง่าย ถูกต้อง ชัดเจน

- หลกั ฐานทบี่ นั ทกึ เป็ นตวั หนังสือ เช่น จารึก ตานาน พงศาวดาร ชีวประวตั ิ เอกสารราชการ จดหมายเหตุ บันทกึ ส่วนบุคคล สื่อส่ิงพมิ พ์ วรรณกรรม และเวบ็ ไซต์ - หลกั ฐานไม่ถูกบนั ทกึ เป็ นตวั หนังสือ เช่น หลกั ฐานทาง โบราณคดี (โบราณสถาน/โบราณวตั ถุ) คาบอกเล่า ส่ือโสตทัศน์ หลกั ฐานด้านศิลปกรรม

- พระราชพงศาวดารกรุง ธนบุรี ฉบับพนั จนั ทนุมาศ (เจิม) ให้ความรู้เหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขนึ้ ต้งั แต่ ก่อนเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังท่ี 2 จนถงึ สิ้นสุดสมยั กรุงธนบุรี เป็ น หลกั ฐานท่ีสาคญั เป็ นอย่างดี

หลกั ฐานทเ่ี ป็ นบนั ทกึ ของ ชาวต่างชาติ ท่สี าคญั คอื จดหมาย เหตุลาลูแบร์ เขยี นโดยทูตฝรั่งเศส ทเ่ี ข้ามากรุงศรีอยุธยาสมัยสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช

หลกั ฐานทีเ่ ป็ นลายลกั ษณ์ อกั ษรอนื่ เช่น รายงานการเข้ามาเผย แผ่ศาสนาคริสต์ของมชิ ชันนารี ซ่ึงเล่า เรื่องเกย่ี วกบั ประวตั ิศาสตร์ การ ปกครอง สภาพสังคมชีวติ ความ เป็ นอยู่ของคนไทย, รายงานการค้า ของบริษทั ต่างชาตทิ เี่ ข้ามาต้งั สถานี การค้าในกรุงศรีอยุธยา

หลกั ฐานทไ่ี ม่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ต่าง ๆ ศิลปวตั ถุต่าง ๆ ภาพเขยี น การต้งั ถน่ิ ฐานของชาวต่างชาติ ซึ่ง สามารถใช้ประกอบกบั หลกั ฐานที่ เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรในการศึกษา ค้นคว้า

1) เป็ นของแท้ หรือของทาเลยี นแนบ โดยพจิ ารณาจาก สานวนการเขยี น วสั ดุทใี่ ช้ในการเขยี น รูปแบบของตวั เขยี น เช่น ในสมยั อยธุ ยานิยมบันทกึ ลงในสมุดข่อย 2) วตั ถุประสงค์ของการจัดทา เหตุใดจงึ มีการบันทึกเร่ืองน้ัน ๆ 3) ช่วงระยะเวลาทจ่ี ัดทาหลกั ฐาน มีการบันทึกไว้เป็ นรายวนั ย่อมดกี ว่าบันทกึ เมอื่ เวลาผ่านไปนานแล้ว ซ่ึงอาจมกี ารหลงลมื

4) การศึกษาภูมหิ ลงั ของผู้จดั ทาหลกั ฐานน้ัน ๆ เช่น ผู้ บันทกึ เป็ นบุคคลทม่ี คี วามรู้ในเรื่องทบ่ี นั ทกึ หรือไม่ เป็ นผู้ทใี่ กล้ชิด อยู่หรือในเหตุการณ์หรือไม่ เป็ นคนไทยหรือคนต่างชาติ มกี าร วางตวั เป็ นกลางทางการเมอื งหรือไม่ 5) รูปลกั ษณ์ของหลกั ฐาน ถ้า เป็ นการบนั ทึกส่วนตวั อาจมกี ารใส่ อารมณ์และความรู้สึกลงไป

การแยกแยะหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ 1) ความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริง กบั ความคดิ เห็น 2) ความจริง (ความจริงหรือไม่เป็ นความจริง) กบั ข้อเท็จจริง (คาอธิบายหรือเหตุผล)

ความสาคญั ของการตีความทางประวตั ศิ าสตร์ 1. เพอื่ อธิบายเร่ืองราวทปี่ รากฏในหลกั ฐาน 2. เพอ่ื ตคี วาม วเิ คราะห์ความสาคญั ของหลกั ฐาน 3. เพอื่ ความเทยี่ งตรง ไม่ลาเอยี งในการวพิ ากษ์วจิ ารณ์ หลกั ฐาน 4. ช่วยอธิบายความถูกต้องของหลกั ฐานได้ 5. เพอื่ อธิบายหลกั ฐานให้เข้าใจง่ายขนึ้ เกย่ี วกบั สถานท่ี ตวั บุคคล

หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ แบ่งตามความสาคญั ของหลกั ฐาน 1) หลกั ฐานช้ันต้น (ปฐมภูม)ิ คอื หลกั ฐานทถี่ ูกสร้าง บันทกึ หรือจดั ทาขนึ้ จากผู้พบเห็นหรือเกย่ี วข้องกบั เหตุการณ์ โดยตรง เช่น จารึก จดหมายเหตุ กฎหมาย เอกสารราชการ โบราณสถาน โบราณวตั ถุ

2) หลกั ฐานช้ันรอง (ทุตยิ ภูมิ) การนาเอาหลกั ฐาน ช้ันต้นมาเขยี นตามแนวคดิ ทไี่ ด้มาถ่ายทอด รวบรวม หลงั จากเหตุการณ์น้ันผ่านไปแล้ว ซึ่งผู้สร้างหรือจัดทา ไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์ขณะน้ัน เช่น ตานาน คาบอกเล่า สื่อสิ่งพมิ พ์ ตาราวชิ าการ ชีวประวตั ิ เวบ็ ไซต์ เป็ นต้น



ตัวอย่างหลกั ฐานทเี่ ป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร จารึก บนั ทกึ อกั ษรลงวสั ดุทค่ี งทน เช่น แผนหิน (ศิลาจารึก) ใบลาน แผ่นเงิน เรื่องราวเน้นศาสนา บ้านเมอื ง กษตั ริย์ เป็ นหลกั ฐานเก่าทส่ี ุดในไทย ใช้อกั ษรทแ่ี ตกต่างกนั ไปตามยุค สมยั เช่น ปัลลวะ ขอมโบราณ

จารึก มคี วามน่าเชื่อถอื สูง เพราะสร้างได้คร้ังเดยี ว แก้ไข หรือ แต่งเตมิ ยาก อยู่ได้นาน นักประวตั ศิ าสตร์จงึ ให้ความสาคญั กบั หลกั ฐานชนิดนีม้ าก ศึกษาได้ยาก ต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญ ด้านภาษาศาสตร์ในการศึกษา

ตานาน - มุขปาฐะ ทบี่ อกเล่าสืบต่อกนั มา แล้วบันทกึ เป็ นลาย ลกั ษณ์อกั ษรภายหลงั และผดิ จากต้นฉบับไปเร่ือย ๆ - มอี ทิ ธิฤทธ์ิปาฏิหาริย์มาเกย่ี วข้อง ส่วนใหญ่เป็ นเรื่องราวทางศาสนา, กาเนิด บ้านเมอื ง และราชวงศ์, กษตั ริย์และวรี บุรุษ (ท้าวแสนปม, พระร่วง) - พบได้ทุกภาคของไทย มคี ุณค่าทางประวตั ศิ าสตร์น้อย

พระราชพงศาวดาร - บนั ทกึ เรื่องราวของพระมหากษตั ริย์ลงบนสมุดไทย ตามลาดบั เหตุการณ์ - เร่ิมต้งั แต่สมัยอยธุ ยาถงึ สมยั รัชกาลที่ 5 - มกี ารชาระภายหลงั คอื การนาเอา พระราชพงศาวดารเก่ามาตรวจสอบแก้ไข และเติมเร่ืองใหม่เข้าไป

จดหมายเหตุ - จดหมายเหตุของชาวต่างชาติ คอื บนั ทกึ ของชาวต่างชาตทิ เี่ ข้า มาตดิ ต่อกบั ไทยสมยั ต่าง ๆ และเขยี นเรื่องราวด้านการเมอื ง เศรษฐกจิ สังคมในสมัยน้ัน เช่น จดหมายเหตุของ บาทหลวงปาเลอกวั ซ์ (เรื่องเล่า กรุงสยาม), เยเรเมียส ฟานฟลตี - ประโยชน์ ได้ข้อมูลทหี่ ลากหลายกว่า หลกั ฐานไทย, มักบนั ทกึ ตามสิ่งที่พบเห็น (ปราศจากอคต)ิ - ข้อเสีย ไม่เข้าใจวฒั นธรรมแท้จริง

บันทกึ ส่วนบุคคล - บนั ทึกเหตุการณ์ในอดตี ทผี่ ู้บนั ทกึ มสี ่วนเกย่ี วข้อง หรืออยู่ใน เหตุการณ์น้ัน - ทาให้รู้จักอธั ยาศัย และความรู้สึกของผู้เขยี น - ตัวอย่าง ไกลบ้าน, สาส์นสมเด็จ, บันทึก พระยาทรงสุรเดช

ชีวประวตั ิ - ประวตั ชิ ีวติ ผลงาน เหตุการณ์สาคญั และความ เปลย่ี นแปลงในชีวติ ของบุคคล - พมิ พ์แจกในงานศพ วาระ สาคญั ของชีวติ และพมิ พ์จาหน่าย เหมอื นหนังสือทวั่ ไป

กฎหมาย กฎเกณฑ์ของสังคมทบี่ อกความสัมพนั ธ์ระหว่าง ประชาชนกบั ประชาชน และประชาชนกบั รัฐ เช่น รัฐธรรมนูญ, กฎหมายตราสามดวง, กฎหมายพระธรรมศาสตร์

วรรณกรรม - เร่ืองราวทผ่ี ู้แต่งจนิ ตนาการ ขนึ้ โดยนาเอาเรื่องราวทาง ประวตั ศิ าสตร์มาประกอบ - สะท้อนวถิ ีชีวติ พธิ ีกรรม ค่านิยม ความเชื่อ หรือความคดิ ของ คนสมยั น้ัน

งานเขยี นทางประวตั ศิ าสตร์ - ผลการศึกษาค้นคว้าของนัก ประวตั ิศาสตร์ หรือนักวชิ าการสาขาอน่ื ๆ - งานเขยี นประวตั ิศาสตร์สมยั ใหม่ ตามแบบตะวนั ตก เริ่มขนึ้ ในสมัยรัชกาลท่ี 4 เช่น วทิ ยานิพนธ์ ปริญญานิพนธ์ งานวจิ ยั ทางประวตั ิศาสตร์

หลกั ฐานทางโบราณคดี - ร่องรอยทเี่ ป็ นวตั ถุเกยี่ วข้องกบั มนุษย์ในอดตี ซึ่งมนุษย์ ในอดตี ได้สร้างหรือทงิ้ ไว้ - นักโบราณคดี ได้สารวจขดุ ค้นมาศึกษา และให้นัก ประวตั ิศาสตร์นาไปศึกษาต่อ เช่น โครงกระดูก เคร่ืองป้ันดนิ เผา ภาพวาดตามฝาผนัง คูนา้ คนั ดนิ พระราชวงั



หลกั ฐานด้านศิลปกรรม - มกั ได้รับแรงบันดาลใจจากความเชื่อทางศาสนา แบ่งตาม รูปแบบศิลปะตามสมยั ทสี่ ร้าง เช่น ศิลปะศรีวชิ ัย ทวารวดี ลพบุรี ล้านนา อู่ทอง อยุธยา - เช่น ทศั นศิลป์ (ประตมิ ากรรม, จิตรกรรม), ศิลปะการแสดง (ดนตรี, นาฏศิลป์ , เพลงพนื้ บ้าน )

หลกั ฐานด้านคาบอกเล่า - ถ่ายทอดด้วยคาพดู สืบต่อกนั มา - มกั เปลย่ี นแปลงตามผู้เล่า และกาลเวลา จึงต้องใช้ข้อมูล จากหลกั ฐานอน่ื ประกอบ - การหาข้อมูลได้โดยการสัมภาษณ์ และเหมาะกบั การศึกษาประวตั ิศาสตร์ท้องถิ่น เช่น นิทาน สุภาษติ ชีวประวตั ิ ขนบธรรมเนียม

หลกั ฐานช้ันต้น หลกั ฐานช้ันรอง ลายลกั ษณ์อกั ษร ไม่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร ลายลกั ษณ์อกั ษร ไม่เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร A B CG F D EH A บันทกึ คณะราษฎร B จดหมายลาลูแบร์ C พระแก้วมรกต D คาบอกเล่ากรุงเก่า E ศิลาจารึกอกั ษรขอม F ลลิ ติ ตะเลงพ่าย G ภาพวาดฝาผนังผาแต้ม H กฎหมายตราสามดวง

ข้อ 1 การจดบันทกึ ข้อมูลรายละเอยี ดต่างๆ ท้งั ข้อมูลและ แหล่งข้อมูลให้ถูกต้อง เพอ่ื การอ้างองิ ทนี่ ่าเชื่อถอื อยู่ใน ข้นั ตอนใดขอวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ 1. วเิ คราะห์ข้อมูล 2. ระบุประเดน็ ปัญหา 3. สรุปองค์ความรู้ 4. รวบรวมข้อมูล

ข้อ 2 ข้นั ตอนสุดท้ายของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ คอื ข้อใด 1. ให้ความหมายของงานท่ีศึกษา 2. อธิบายคาตอบทมี่ ีเหตุผลชัดเจน 3. เชื่อมโยงความสัมพนั ธ์ของหลกั ฐาน 4. รวบรวมการสัมภาษณ์ของปราชญ์ชาวบ้าน

ข้อ 3 หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ข้อใดท่นี ่าเช่ือถอื น้อยทส่ี ุด 1. จารึกโบราณ 2. จดหมายเหตุ 3. ตานานโบราณ 4. เครื่องป้ันดนิ เผา

ข้อ 4 ข้อใด ไม่ใช่ หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ประเภทวตั ถุ 1. พระพทุ ธรูปสมยั เชียงแสน 2. พระราชพงศาวดาร 3. ปราสาทหินพมิ าย 4. โครงกระดูก

ข้อ 5 หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ในข้อใดจดั ได้ว่าเป็ น หลกั ฐานช้ันต้น 1. พระพทุ ธรูป 2. พระไตรปิ ฎก 3. จดหมายเหตุวนั วลติ 4. เคร่ืองป้ันดินเผาบ้านเชียง

ข้อ 6 วพิ ากษ์วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์หมายถึงวธิ ีการใด 1. การตีความ 2. การประเมนิ 3. การวเิ คราะห์ 4. การสังเคราะห์

ข้อ 7 ข้อใดคอื ข้นั ตอนแรกของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ 1. การค้นหาข้อมูล และ รวบรวมหลกั ฐาน 2. การต้งั คาถาม และ กาหนดประเดน็ ของการศึกษา 3. การอธิบายทมี่ เี หตุผล และ มคี าตอบทชี่ ัดเจน 4. การแสวงหาความหมาย และ ความสัมพนั ธ์ของข้อมูล

ข้อ 8 พระราชพงศาวดารสมัยอยุธยาฉบบั ใดท่ีนักประวตั ิศาสตร์ ยอมรับว่ามีข้อมูลถูกต้องทีส่ ุด 1. ฉบับบริตชิ มวิ เซียม 2. ฉบบั พนั จันทนุมาศ (เจมิ ) 3. ฉบบั สมเด็จพระพนรัตน์ 4. ฉบบั หลวงประเสริฐอกั ษรนิต์ิ

ข้อ 9 การพจิ ารณาว่าหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์เป็ นของแท้หรือ ของทาเลยี นแบบอยู่ในข้นั ตอนใดของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ 1. การรวบรวมหลกั ฐาน 2. การประเมนิ คุณค่าของหลกั ฐาน 3. การวเิ คราะห์ข้อมูลหลกั ฐาน 4. การเรียบเรียงข้อมูลและนาเสนอ

ข้อ 10 “การใช้ภาษาทช่ี ัดเจน เข้าใจง่าย มกี ารอ้างองิ หลกั ฐานใน เชิงอรรถ...” คอื ข้นั ตอนใดของวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ 1. การรวบรวมหลกั ฐาน 2. การวเิ คราะห์ข้อมูลหลกั ฐาน 3. การประเมินคุณค่าของหลกั ฐาน 4. การเรียบเรียงข้อมูลและนาเสนอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook