94 บทท่ี 3 การตดั สินใจเลือกพัฒนาอาชีพ สาระสาํ คัญ สังคมยุคปจจุบัน มีการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีอยางรวดเร็ว ในการตอบสนองความ ตองการของบคุ คลและสงั คม กอใหเกดิ ความหลากหลายอันเปนชองทางใหสามารถตัดสินใจเลือก พัฒนาอาชีพใหเหมาะสมกบั ตนเองได ตัวช้วี ดั ตดั สินใจเลอื กพฒั นาอาชีพไดอยางเหมาะสมกับตนเอง ขอบขายเน้ือหา เรอ่ื งที่ 1 ขอมูลการตดั สนิ ใจเลือกพฒั นาอาชพี เรือ่ งที่ 2 ตดั สินใจพัฒนาอาชพี ดวยการวเิ คราะหศ กั ยภาพ
95 เรอ่ื งท่ี 1 ขอมูลการตดั สนิ ใจเลอื กพัฒนาอาชีพ 1. ความพรอม หมายถึง สภาพของบุคคลท่ีมีวุฒิภาวะแรงจูงใจและประสบการณเดิมสูง พอท่ีจะ กอใหเ กดิ การตัดสินใจเลอื กพัฒนาอาชีพไดโ ดยสะดวก การวเิ คราะหก ารตัดสนิ ใจเลือกพัฒนาอาชพี ผลประโยชน ประสิทธิภาพ ตอบแทน - คาใชจ าย - ทรัพยากร - เวลา - สภาพแวดลอม โอกาส/ งานอาชพี การบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค ประสทิ ธิผล - ผลตอบแทนท่เี ปนตัวเงิน - ผลตอบแทนท่ีไมไ ดเปน ตัวเงิน 2. ความตอ งการของตลาด การวิเคราะหดา นการตลาด ตลาด คอื กลุมของบุคคลและองคการท่มี ีความตองการและมอี ํานาจในการซื้อสนิ คาและบริการ สว นประกอบของตลาด 1. ความสนใจในสนิ คาและบรกิ าร 2. ความเตม็ ใจที่จะแลกเปลี่ยนสินคา และบรกิ าร 3. มีอาํ นาจซอื้ การตลาด มรี ะบบของการดาํ เนินงานของธุรกจิ ทมี่ ุงเนนการตอบสนองของตลาด หรือผบู รโิ ภค เปนสําคัญ การหาคาํ ตอบเกี่ยวกับผบู รโิ ภค 1. ผซู อ้ื คอื ใคร 2. ตอ งการซอ้ื อะไร
96 3. ตองการซือ้ อยา งไร 4. ตองการซื้อเมือ่ ใด 5. ตอ งการซ้ือที่ไหน 6. เพราะเหตใุ ดจึงซอ้ื 7. ใครเปน ผูมอี ทิ ธพิ ลในการซื้อ ปจจัยที่ควรคาํ นงึ ถงึ ในการตดั สนิ ใจเลอื กกลยทุ ธต ลาดเปา หมาย 1. ทรัพยากรของกจิ การ 2. ความเหมอื นกนั ของผลิตภณั ฑ 3. ลาํ ดบั ชนั้ ในวัฏจักรชีวิตผลติ ภณั ฑ 4. ความเหมือนกนั ของตลาด 5. กลยุทธก ารตลาดของคูแขงขนั การพยากรณความตอ งการของตลาด อปุ สงคข องผลติ ภณั ฑ ปรมิ าณทงั้ หมดของผลติ ภณั ฑทซี่ ้อื โดยกลุมลกู คาท่ีกาํ หนด ไดแ ก 1. ผลิตภัณฑ 2. ปรมิ าณทั้งหมด 3. การซอ้ื 4. กลมุ ลูกคา 5. ขอบเขตของภมู ิศาสตร 6. ระยะเวลา 7. สภาวะแวดลอ มการตลาด 8. แผนการตลาด วธิ กี ารในการพยากรณค วามตองการของตลาด 1. เทคนคิ การสาํ รวจ 1.1 สาํ รวจความคดิ เห็นจากผูบริหาร 1.2 สาํ รวจความคดิ เห็นจากพนักงานขาย 1.3 สํารวจความคิดเหน็ จากลกู คา 2. การวิเคราะหย อดขายในอดีต 3. การวเิ คราะหแนวโนม 4. การวเิ คราะหส หสมั พนั ธและการถดถอย 5. การทดสอบตลาด
97 3. ความร/ู ทักษะและเทคนคิ ตาง ๆ ความรู หมายถึง การเรียนรู การจํา และการระลึกถึงความคิดโดยใชขอมูลขอเท็จจริงให เปน ไปตามเปาหมายวัตถุประสงคในการตดั สินใจเลือกพฒั นาอาชีพ ทกั ษะ คือ ความสามารถในการปฏิบตั งิ านดา นตา ง ๆ อยางชํานาญ ซง่ึ ครอบคลุมการตัดสินใจ เลือกพฒั นาอาชีพ เทคนคิ คอื กลวธิ ีตาง ๆที่ใชเสริมกระบวนการ ขั้นตอน วธิ ีการ หรือการกระทําใด ๆ เพ่ือชวยให กระบวนการขนั้ ตอน วิธกี าร หรอื การกระทาํ ในกิจกรรม/งานน้นั ๆ มคี ุณภาพและประสทิ ธิภาพมากขึน้ 4. ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ ม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม หมายถึง ส่ิงท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และทุกสิ่ง ทุกอยางทอ่ี ยูรอบตวั เรา ทงั้ มชี วี ติ และไมม ชี ีวติ ท้งั ทเี่ ปน รูปธรรมและนามธรรม (วัฒนธรรม แบบแผน ประเพณี ความเชื่อ) มีอิทธิพลเกี่ยวโยงถึงกัน เปนปจจัยในการเกื้อหนุนซ่ึงกันและกัน ผลกระทบ จากปจจัยหนึ่งจะมีสวนเสริมสราง หรือทําลายอีกสวนหนึ่งอยางหลีกเล่ียงมิได สิ่งแวดลอมเปน วงจรวฏั จกั รท่เี กี่ยวของกนั ไปทัง้ ระบบ และมนษุ ยส ามารถนํามาใช หรือปรับแตงใหเกิดประโยชน ในการดํารงชวี ิต การพัฒนาการเกษตร ท่ีมีผลตอดา นเศรษฐกจิ และสังคมของครวั เรือนเกษตรกร จําเปน ตอง อาศัยทรัพยากรในระดับครวั เรอื น คือ ทดี่ นิ ทนุ แรงงาน และทรัพยากรมนษุ ย หรอื ความสามารถใน การจัดการเพื่อดาํ เนนิ การผลติ สนิ คาเกษตรสผู บู รโิ ภค ทรัพยากรระดับครัวเรือน มีความสัมพันธกับขนาดของฟารม แรงงาน การถือครองและ รายได รายจา ยครัวเรือน ขนาดของฟารม ขนาดเล็กสามารถรองรับแรงงานไดนอยกวาฟารมขนาด ใหญ และการถือครองและการใชท่ีดินจําเปนตองเพิ่มประสิทธิภาพการใชที่ดินโดยการปลูกพืช หมนุ เวียนหรอื พชื แซม การวางแผนการใชทรัพยากรระดับครัวเรือน มีความจําเปนอยางยิ่งในการผลิตพืชผล การเกษตร ซ่ึงผูจัดการหรือเจาของฟารมตองพิจารณาใชทรัพยากรอยางเหมาะสม ไมทําลาย สิ่งแวดลอม และอนุรักษทรัพยากรอยา งยง่ั ยนื การวเิ คราะหผลกระทบทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอม - การเปลีย่ นแปลงสมดลุ ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม - ผลกระทบดานบวกและดานลบ งาน/ ทรัพยากรธรรมชาติ - มองการปรบั ปรงุ ผลเสยี โครงการ และสิง่ แวดลอ ม - ใชผ ลดใี หเกดิ ประโยชนสงู สุด - ปองกันและลดคาใชจ า ยใน การแกป ญ หา - การตดั สินใจลงทุน
98 5. การใชทดี่ ิน ทด่ี ิน เปนทรัพยากรที่มจี าํ กัดตามธรรมชาติ มลี กั ษณะแตกตางกันตามชนิดโครงสรางและ คณุ สมบตั ิขึ้นอยูกับสภาพภมู ปิ ระเทศ ที่ดิน เปน ปจ จยั อยางหน่ึงไมว าจะผลติ ทางดา นการเกษตร หรืออุตสาหกรรม อยางไรก็ตาม ในดา นการเกษตรน้นั ท่ีดินถือวามีความสาํ คัญพิเศษ โดยปกติแลวท่ีดินมีคุณลักษณะที่แตกตางกัน ในแตล ะทอ งที่ ความอดุ มสมบรู ณกแ็ ตกตา งกนั ออกไป ความลาดชัน ที่ราบ ที่ลุม ท่ีดอน ก็มีความ แตกตางกัน ดังนน้ั ดินเปน ปจจัยหน่งึ ในการกําหนดกจิ กรรมตา ง ๆ ภายในฟารม กลาวคอื 1. ทดี่ นิ เปน ปจ จยั สาํ คญั ทก่ี าํ หนดวาควรจะผลติ ชนดิ พืชและสตั วอะไร 2. ที่ดินสามารถจะกาํ หนดระยะเวลาการปลกู ระบบการปลูกพืช และรูปแบบการผลิตทาง การเกษตร เชน ที่ดนิ เปนท่ีราบลุมและมคี วามชน้ื อยูบาง สามารถกาํ หนดระยะเวลาการปลูกของพืช แตละชนิด การปลูกพืชหมุนเวียน การปลูกพืชแซม การปลูกพืชเหลื่อมฤดู และรูปแบบการผลิต แบบไรนาสวนผสม และเกษตรผสมผสาน 3. ชนดิ ของดนิ ทสี่ วนในการกาํ หนดกิจกรรม เชน ดินเหนียวปนดินรวน อาจจะเหมาะสม ตอ การทาํ นา ดินรวนปนดินทรายอาจจะเหมาะตอ การทาํ พชื ไรบ างชนิด ดนิ เหนียวหรือดินทรายก็ยัง สามารถปลูกพืชและทําบอปลาได แตถาหากดินทั่วไป ไมมีความอุดมสมบูรณมากนักอาจจะใช เลี้ยงสัตว เปน ตน 4. สภาพพื้นที่แตละแหง เชน ที่ราบและที่ลุมอาจจะเหมาะสมตอการทํานา พืชผัก ไมดอกไมประดับ ไมผลและไมยืนตนบางชนิด หากสภาพพื้นที่ลุมมากอาจจะทําบอปลา นาบัว นาผักกระเฉด เปนตน สวนสภาพพื้นที่ดอนอาจจะปลูกพืชไร ไมผลและไมยืนตนบางชนิด ตลอดจนการเล้ียงสตั ว 5. ลักษณะและคุณสมบัติอื่น ๆ เชน ความเปนกรดเปนดาง ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ดินเปร้ยี ว ดนิ เคม็ ความลกึ ของหนาดนิ ดนิ ชั้นตาง ๆ เปนตน สง่ิ เหลา นม้ี ีผลตอการกาํ หนดกิจกรรม วิธกี ารผลิตทงั้ ปริมาณและคุณภาพ อยางไรก็ตาม ทดี่ ินมไิ ดมองเฉพาะเนอ้ื ดนิ ชนดิ ของดิน ลักษณะดนิ และสภาพตาง ๆ ทางเคมี หรือทางกายภาพท่กี ลาวมาแลว เทา น้ัน ดนิ ยงั หมายถึง สภาพพน้ื ดินที่มนี ้ําใตดนิ น้าํ บนดนิ ความช้ืน ของดนิ ความอุดมสมบูรณข องดนิ ปริมาณอินทรียวัตถุ พืชพรรณไมน านาชนดิ ท่ีปรากฏใหเห็นบน พื้นท่ีเหลานั้น ส่ิงมีชีวิตสัตวบกเล็ก ๆ บนพ้ืนดิน เปนตน ดังน้ัน ดินจึงเปนปจจัยสําคัญหน่ึงที่จะ กําหนดกิจกรรมการเกษตรได ทั้งน้ี ขน้ึ อยูกับความสามารถของเจาของฟารมจะจัดการกับท่ีดินให เกดิ ประโยชนส งู สดุ ไดอ ยางไรแตถามองในแงเศรษฐศาสตรผ ลตอบแทนที่ดิน คอื คา เชา ท่ดี ิน ประเทศไทยมีขนาดฟารม โดยเฉล่ีย 25.94 ไร และสภาพการใชท่ีดินเพื่อการเกษตร ในแตละภาคมีลักษณะและปญหาแตกตา งกนั ดังนี้
99 ภาคกลาง มีระบบชลประทานคอ นขา งสมบูรณ อัตราขยายตัวของการผลิตทางการเกษตร สงู ขน้ึ 7 % ตอป ปญหาทีเ่ กดิ ขึน้ คอื ปญหากรรมสิทธ์ทิ ีด่ ิน ปญหาดินเปรย้ี วในทร่ี าบภาคกลาง และ ปญ หาดินเคม็ ตามแนวราบฝง ทะเล ทาํ ใหป ระสิทธภิ าพในการใชดินโดยเฉลยี่ ทงั้ ภาคไมส ูงเทา ทค่ี วร กลา วคือ ผลผลิตตอ ไรใ นภาคกลางยังตํา่ กวาภาคเหนือ แตก ารทาํ นาขาวในภาคกลางยังมีโอกาสเพิ่ม ผลผลิตตอไรไ ด เนื่องจากระบบชลประทานเออ้ื อํานวยและการนําเทคโนโลยเี ขาปรับปรุงดนิ เปรี้ยว และดนิ เค็มที่มีปญหา ภาคเหนือ มีผลผลิตตอไรสูงสุด เพราะคุณภาพดินดี มีการกระจายการผลิตและปลูกพืช หมุนเวียนมาก แตกม็ ขี นาดการถอื ครองทด่ี ินเล็กที่สุดในประเทศ มีปญหาการบุกรุกทําลายปาเพ่ือ ทําไรเล่ือนลอย แตมีลูทางท่ีจะกระจายการผลิตไปสูพืชหมุนเวียน พืชยืนตน ไมผลเมืองหนาว ไมดอกเมืองหนาว ชา กาแฟ และการเลยี้ งโคนม ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มีขนาดพ้นื ท่ที ําการเกษตรสูดสุดในประเทศ คือ 41% ของเนื้อที่ ทาํ การเกษตรท้ังหมด แตมผี ลผลิตเพียง 26 % ของผลผลิตรวมท้ังประเทศ จึงเปนภาคที่มีอัตราการ ขยายตวั ของการผลิตทางการเกษตรตํ่าสุด คุณภาพดินไมดี ไมเก็บซับน้ําฝน และมีดินเค็มอยูเปน เนื้อท่กี วางใหญ มีเน้ือที่รับนํ้าชลประทานเพียง 1.6 ลานไร จากเนื้อที่เพาะปลูกท้ังภาค 60 ลานไร เปนภาคที่อาศัยการเกษตรนํา้ ฝนมากที่สุด แตยังมีโอกาสกระจายการผลิตไปสูพืชฤดูแลวไดอีก เชน มนั สําปะหลงั ออย พชื น้ํามัน ฝาย และปศุสตั ว เปนตน ภาคใต เปน ภาคทม่ี ผี ลผลิตเกษตรหลักเพียง 2 ชนิด คือ ยางพารา และขาว นับวาเปนฐาน การเกษตรท่ีแคบมากทั้ง ๆ ที่โอกาสในการใชที่ดินเพ่ือปลูกพืชหมุนเวียนแซมสวนยางพาราและ การปลูกผลไมยนื ตนยังมอี ีกมาก รวมท้ังโอกาสในการเลี้ยงปศุสัตวในพ้ืนท่ีซ่ึงเคยใชทําเหมืองแร แลว นาํ มาฟน ฟูใหเปนทุงหญาเล้ียงสัตว 6. การใชทุน ทนุ หมายถึง เงินทุน เครอื่ งจกั รกลการเกษตรตาง ๆ โรงเรือน ส่ิงกอสรางท่ีใชในการผลิต และเกบ็ รักษาผลผลติ รวมทัง้ ปจจยั การผลิตทเี่ ปนพันธุพชื พนั ธุส ตั ว ปยุ สารเคมี เปนตน ทนุ มีความสําคญั มากตอ การผลติ และทุนยงั มีความสัมพนั ธก บั แรงงาน ถาใชทนุ มากการใช แรงงานก็นอยลง การเกษตรแบบสมัยใหมจําเปนตองอาศัยทุน สําหรับแหลงเงินทุนอาจไดจาก ทรัพยสินท่ีมีอยู ไดจากกิจกรรมที่ใหผลตอบแทนหลังจากดําเนินงานเสร็จและการออมทรัพย ทุนอาจไดจากการกูเงินหรือมีเครดิตกับสถาบันการเงินหรือกับเพ่ือนบาน การใชทุนใหมี ประสิทธภิ าพ มีขอ พจิ ารณา ดังน้ี 1. ในกรณกี ารลงทนุ ในระบบทางการเงนิ การธนาคารมีการแบงทนุ ใน 2 ลักษณะดว ยกนั 1.1 ทุนดาํ เนินการเตรียมการหรอื คา ลงทนุ ซง่ึ ทนุ นจี้ ะดาํ เนินการใชไ ดหลายปและ ยาวนาน ถึงแมวาบางคร้ังอาจจะมีการซอมแซมหรือตอเติมความจาํ เปน และระยะเวลาท่ีใช เชน ทุนในการปรับสภาพพน้ื ท่จี ากพื้นราบเปน แบบยกรอ งคันลอม ขั้นบนั ได ขุดบอ โรงเรอื นและอาคาร
100 ระบบคลองและระบบสงนํา้ เคร่ืองมือ เครื่องจักรและอุปกรณการเกษตรที่คงทนถาวรตลอดจน คาซอ้ื ท่ดี ิน เปนตน 1.2 ทุนดําเนินการในการผลิต หรือเงินทุนหมุนเวียน สวนใหญเปนทุนทางดาน การผลิตผันแปร เชน พันธุพืช พันธุสัตว ปุย และยาเคมี อาหารสัตว น้ํามันเช้ือเพลิง อุปกรณ การเกษตรชั่วคราวที่ใชในฤดูการผลิตเทานั้น เชน เชือก ถุงพลาสติก เปนตน ตลอดจนคาจาง แรงงาน 2. ขนาดของทุนท่ีใชในแตละกิจกรรมหรือท้ังฟารม จะสังเกตวามีขนาดของทุนมากก็ สามารถมโี อกาสขยายกจิ กรรมไดม าก มที นุ นอ ยกข็ ยายกิจกรรมไดนอย 2.1 ขนาดของทนุ จะสัมพันธกับชนิดของกิจกรรม โดยเฉพาะทุนขนาดใหญหรือ ทุนมากมักจะเปน ดา นการปศสุ ตั ว การประมง และไมผล ไมยนื ตน เปนสว นใหญ นอกจากน้ีอาจจะ เปน ฟารมลักษณะประณีต เชน ไมดอกไมป ระดับ พืชผักเมอื งหนาว หรือกิจกรรมตาง ๆ ที่ตองการ ใชเทคโนโลยีคอนขางสงู 2.2 ขนาดของทุนจะสัมพันธกับระยะเวลาการลงทุน หรือระบบสินเช่ือจาก แหลงตาง ๆ มักจะพบวา ขนาดของทุนมากการลงทุนสวนใหญจะเปนกิจกรรมระยะยาว เชน ไมผล ไมย นื ตน และปศสุ ตั ว ทเ่ี ลยี้ งแบบมีโรงเรือนและอาคาร หากจะเปรียบเทียบกบั ระบบสนิ เช่ือแลว มักจะเปนการลงทุนท่ีตองคืนเงินทุนสินเชื่อเกิน 3 ป หากทุนนอยหรือขนาดทุนเล็กจะเปน การลงทุนกิจกรรมระยะสน้ั ภายใน 1 ป เชน การทํานา ทาํ ไร และพชื ผัก สัตวบ างชนิด เปนตน 3. การใชท ุนกบั ระยะเวลาการลงทุนและผลตอบแทนกลับคืนจากการลงทุน เม่ือกลาวถึง ระยะเวลาของการลงทุนทจี่ ะใหผลตอบแทนน้ัน เวลาเปน ตวั สาํ คญั มากในการตดั สนิ ใจในการเลือก ดําเนินกจิ กรรม หากมีทุนนอยแลวเลอื กกิจกรรมท่ีใหญ หรือมีระยะเวลาการลงทุนนานก็จะทําให สูญเสียโอกาสของการลงทุน ในบางครั้งหากมีการกูยืมจากเพ่ือนบาน หรือสถาบันการเงินก็จะ ทําใหดอกเบยี้ สูง การชําระหนี้ลําบาก ซ่ึงมีตัวอยางมากมายในดานการเกษตร อุตสาหกรรม และ ธุรกิจ ดังนั้น หากเปนฟารมขนาดเล็กควรเลือกกิจกรรมท่มี ีการลงทุนนอยและชวงระยะเวลาส้ันใน การใหผลตอบแทน นอกจากนแ้ี ลวจาํ นวนผลตอบแทนที่ไดร บั กม็ ีความหมายในการเลือกกิจกรรม เชนกนั หากผลตอบแทนคมุ กบั การลงทุนไมว า ระยะสั้นหรือยาว หลังจากไตรตรองคิดคํานวณแลว ก็สามารถจะทําการผลิตได จากท่ีกลาวมาแลวน้ีระยะเวลาและจํานวนผลตอบแทนที่ไดรับจาก การลงทุนกม็ ีบทบาทสาํ คญั ในการพิจารณาเร่อื งทุน เม่ือพูดถึงการวัดประสิทธิภาพ หรือผลตอบแทนการใชทุน หากทุนอยูในรูปเงินสด ผลตอบแทนคอื ดอกเบย้ี หากทนุ อยูในรูปของเครือ่ งจักร เครื่องมืออุปกรณการเกษตร ปจจัยการผลิต ผลตอบแทนคือ คา เชาเครอื่ งจักร คาปยุ คาเมลด็ พันธุ เปน ตน
101 7. การใชแรงงาน แรงงานเปนปจ จัยสําคัญอยางหนึง่ ในการผลติ ในท่นี ้หี มายถึงลกั ษณะทัง้ กายภาพและจติ ใจ ในดานกายภาพนน้ั เก่ยี วกับเรือ่ งสุขภาพและอนามัย ความแข็งแรงสมบูรณในการทํางาน สวนดาน จติ ใจนน้ั รวมถึงทศั นคติ อดุ มการณ ความขยนั หมนั่ เพยี ร ความรสู ึกรบั ผิดชอบในการผลิต ลักษณะ ของแรงงานพอทแ่ี ยกแรงงานออกเปน 3 ประเภท คอื 1. แรงงานคน 2. แรงงานสตั ว 3. แรงงานเครอ่ื งจกั รกลการเกษตร การใชแรงงานแตละประเภทข้ึนอยูกับจุดมุงหมาย ขั้นตอนการทํางาน คาใชจาย และ รวมถงึ เวลา อยางไรกต็ ามแรงงานแตละประเภทก็อาจจะสามารถใชรวมกันได ขึ้นอยูกับกิจกรรม และข้ันตอนการผลิต สําหรับแรงงานในลักษณะฟารมขนาดเล็กมีความสําคัญมากตองรูจักใช แรงงานใหม ีประสิทธิภาพ ลักษณะของแรงงานคนอาจพอจาํ แนกตามภาวะปจ จบุ นั นี้ไดค อื แรงงาน ในครอบครัว แรงงานจาง และการแลกเปล่ียนแรงงาน (การลงแขก การเอาแรง) ในแงของเกษตรกร พยายามสง เสริมใหเกษตรกรใชแรงงานครอบครัวใหมากท่ีสดุ ไมค วรปลอยใหแรงงานวา งโดยเปลา ประโยชน การใชแ รงงานใหมปี ระสทิ ธภิ าพควรพิจารณา ดงั นี้ 1. การใชแรงงานทเ่ี หมาะสมกบั ชนดิ ของงาน เชน กจิ กรรมดา นพชื และสัตว 2. การใชแรงงานหรือจัดระบบการกระจายของแรงงานใหเหมาะสม เชน กิจกรรมที่มี หลายอยา งในเวลาเดยี วกันหรือเวลาที่ใกลเคียงกัน หรือเวลาท่ีตอเน่ืองกัน ไดแก การปลูกพืชและ เล้ียงสตั ว การปลกู พืชหมุนเวียน การปลูกพชื แซม เปน ตน 3. การใชแ รงงานใหเหมาะสมกบั วิทยาการแผนใหมแ ละพน้ื บา น เชน วิทยาการการเตรียม ดนิ การปลกู การใสปุย กาํ จัดศตั รพู ชื และการเก็บเกยี่ ว ซงึ่ บางคร้ังวิทยาการสมยั ใหมอ าจจะมีความ ยุง ยากหรอื มขี ้นั ตอนมากอาจจะทําใหเ กษตรกรแบงเวลาหรอื แบงงานไมถกู ตอง 4. การใชแรงงานแบงตามเพศและอายุกับข้ันตอนแรงงานหรือชนิดของงาน กลาวคือ การเตรียมดินควรจะเปนเพศชายท่ีแข็งแรง การปลูกอาจจะเปนท้ังเพศชายและหญิงเชนเดียวกับ การเก็บเก่ยี วงานหัตถกรรมพ้นื บานอาจจะเหมาะกับเพศหญิงท้ังคนแก และหนุมสาว แรงงานเด็ก อาจชวยใหอ าหารปลา อาหารสตั ว เปน ตน 5. การใชแรงงานผสมผสานหรือทดแทนแรงงานคน สัตว และเคร่ืองจักรกลการเกษตร อยา งไรจึงกอใหเกิดประสิทธิภาพลดตนทนุ การผลติ และประหยัดเวลา การจัดการเร่ืองแรงงานเปนเรื่องท่ีจาํ เปน อยา งยิ่ง โดยเฉพาะแรงงานในครอบครัวเกษตรกร ควรจัดการใหม กี ารกระจายการใชแรงงานไดตลอดป มีกิจกรรมการเกษตรอยางตอเน่ืองเพื่อใหมี
102 การใชแ รงงานอยางสมํ่าเสมอทกุ ๆ เดือน กอ ใหเ กิดรายไดเพ่ิมข้ึน และลดการจางแรงงานที่ไมจําเปน เพื่อลดตนทุนการผลติ สําหรับผลตอบแทนของแรงงานก็คอื คาจา งแรงงาน นน่ั เอง 8. การจัดการ การจดั การในทนี่ ้ี หมายถึง การจัดสรรหรอื การดาํ เนินการทรัพยากรในการผลิต (ท่ีดิน ทุน และแรงงาน) เพื่อทําใหการผลิตใหไดตามวัตถุประสงคและเปาหมายของผูจัดการฟารม ดังน้ัน การจดั การของผูจดั การฟารมในแตล ะสภาพพ้นื ทแี่ ตละฟารม ไมเหมือนกัน โดยการตัดสินใจวาจะ เลือกผลิตกิจกรรมอะไร และอยา งไร ในสภาพขีดจํากัดดานทรัพยากรและภายใตความเส่ียง ความไม แนน อนของการผลิตและการตลาด อยางไรกต็ ามเกณฑในการพจิ ารณาโดยทัว่ ไป พอสรปุ ได ดังน้ี 1. จะผลติ อะไร 2. จะผลติ ท่ไี หน 3. จะผลิตเมอื่ ไร 4. จะผลติ เทาไรและอยา งไร 5. จะผลิตและขายกับใคร ดงั น้นั บทบาทสําคัญในการจดั การของผจู ัดการฟารมที่พิจารณาจากเกณฑที่ไดกลาวมาแลว เปน หลัก ยงั จะตองพิจารณารายละเอยี ด ดังนี้ 1. จะทําการผลิตพืชหรือสัตวช นดิ อะไร เชน ปลูกขาว ไมผ ล พืชไร พืชผัก ทําปศุสัตว และ ประมง เปนตน และจะตองพิจารณาตอไปวาจะผลิตไมผล ควรเปนผลไมชนิดอะไร เชน มะมวง สม โอ มะขามหวาน ทุเรียน เงาะ ลาํ ไย ลิ้นจ่ี เปน ตน 2. จํานวนและชนิดของปจจัยการผลิตทใ่ี ชวา เหมาะสมกบั แรงงานในครองครัวหรือไม หาก ไมเพยี งพอจะจา งจํานวนเทาไร แรงงานจา งไดมาจากไหน และระยะเวลาในการจาง 3. วิธีการผลิต และเทคนิควิชาการ ตลอดจนการจัดการและบริหารฟารมจะดําเนินการ อยางไร จะเร่ิมตน ณ จุดใดกอนมีการตรวจสอบและปรับปรุงแกไขอยางไร และประการสุดทาย มีความสมั พนั ธก ับกิจกรรมตาง ๆ ภายในฟารมหรอื ไม 4. ชนดิ ของโรงเรอื นและอาคาร มคี วามจําเปนหรือเหมาะสมเพียงไร เพ่ือความสะดวกใน การจดั การตลอดจนเคร่อื งไมเ คร่อื งมือและการจัดการ 5. การวางแผน และงบประมาณฟารม การจดบนั ทึกและบัญชีฟารม จะดําเนินการอยางไร เพื่อจะใหทราบทิศทางการทํางานและผลการดําเนินงาน โดยเฉพาะรายได รายจาย และกําไร ตลอดจนปญ หาและอุปสรรคในการทํางาน ซ่ึงสามารถนํามาเปนขอมูลในการปรับปรุงแกไขและ วางแผนในปตอไป 6. จะซ้ือปจจัยการผลิตและขายผลผลิตท่ีไหน กับใคร และอยางไร เชน พอคาทองถิ่น พอคาคนกลาง กลมุ เกษตรกร หรือสหกรณก ารเกษตร เปน ตน
103 นอกจากนีแ้ ลว ประสทิ ธภิ าพและความเหมาะสมในดา นการจดั การยังข้ึนอยูกับหลายองคประกอบ เชน ความรู ความสามารถ ความชํานิชํานาญ ความรอบรู และประสบการณการบริหารงาน ดานแรงงาน ความเขาใจสภาพการผลิตการตลาด ความคลองตัวและการแสวงหาความรูใหม ความขยันหมน่ั เพียร และการดูแลเอาใจใส ตลอดจนความสาํ นึกและรบั ผิดชอบในการทํางาน เปน ตน เมื่อเขา ใจพน้ื ฐานของปจจัยสาํ คญั ๆ ตอ การผลิตในการจัดการแลววามีความสําคัญอยางไร จึงควรทเ่ี ร่มิ รวบรวมขอมูล วิเคราะห และวางแผนงบประมาณฟารม ใหไดผ ลตอบแทนสงู สดุ ท่ดี นิ ทุน แรงงาน การจดั การ การวางแผนและงบประมาณ ฟารม กําไรสงู สุดและการมีรายไดต อเนือ่ ง
104 กจิ กรรม เมือ่ ผเู รยี นศกึ ษา เร่ืองท่ี 1 “ขอมูลการตัดสินใจเลือกพัฒนาอาชีพ” ใหผูเรียนตรวจสอบ ขอมลู ทเี่ กยี่ วของกับการประกอบอาชีพทผ่ี เู รียนตัดสินใจเลอื กไววามีความพรอมหรือไม พรอมให เหตุผลลงในแบบบันทึก แบบบันทกึ ที่ ขอมลู พรอม ไมพ รอม เหตุผล 1 ความพรอม - ระยะเวลาในการประกอบอาชพี - ไมมีผลกระทบสภาพแวดลอม - ความม่ันใจทจ่ี ะดําเนนิ การ 2 ความตอ งการของตลาด 3 ความรู ทกั ษะและเทคนคิ ตา ง ๆ 4 ทรพั ยากรธรรมชาติ 5 สถานท่ี 6 แรงงาน 7 เงนิ ทุน ผูเ รยี นสรุป จุดเดนของขอ มลู จดุ ดอ ยของขอ มลู และพอมีแนวทางแกไ ขหรือไม อยางไร
105 สรปุ (จะดาํ เนนิ การประกอบอาชพี ทต่ี ดั สินใจเลอื กไวหรอื ไมอ ยา งไร)
106 เรือ่ งที่ 2 การตัดสินใจพฒั นาอาชีพดว ยการวเิ คราะหศ กั ยภาพ การพฒั นาสิ่งใดกต็ าม มวี ิธีการหลากหลาย เชน ทําการวิจัย ทดลองทํากอนลงมือทําจริง การใชก ระบวนการคิดเปน นอกจากนยี้ ังมวี ิธกี ารวิเคราะหศ ักยภาพตาง ๆ ที่เกี่ยวของวาจะสามารถ พัฒนาอาชีพไดห รอื ไม ซง่ึ เร่ืองน้จี ะไดศ ึกษาตอไป เพอ่ื ใชเปนแนวทางในการตดั สินใจพัฒนาอาชีพ โดยการวิเคราะหศักยภาพ 5 ดา น ไดแก 1. ศกั ยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตล ะพ้นื ท่ี ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึง สิง่ ทเี่ กดิ ขึน้ เองตามธรรมชาติ ซ่ึงมนุษยสามารถนําไปใชให เกิดประโยชนตอชีวิตประจําวัน และการประกอบอาชีพ ทรัพยากรธรรมชาติ ไดแก ปาไม แมนาํ้ ลาํ คลอง อากาศ แรธาตุตาง ๆ ทรัพยากรธรรมชาติบางชนิดใชแลวหมดไป เชน แรธาตุตาง ๆ บางชนิดมนุษยสามารถสรางทดแทนขึ้นใหมได เชน ปาไม เมื่อมนุษยตัดไปใชประโยชนแลวก็ สามารถปลกู ทดแทนข้นึ ใหมไ ด ดังนนั้ ผปู ระกอบอาชีพอยูแลวตองการพัฒนาอาชีพของตนใหดีข้ึน ตองพิจารณาทรัพยากรในพ้ืนท่ีท่ีจะนํามาใชพัฒนาอาชีพดวย เชน จากการปลูกผักท่ีใชสารเคมี ตองการพัฒนาโดยใชปุยหมักแทนปุย เคมีในการปลกู ผักตอ งพิจารณาวา ทรพั ยากรที่จะตองนํามาใช ในการทําปยุ หมักในพื้นท่ีมีหรือไม มีเพียงพอหรอื ไม ถา ไมม ีผปู ระกอบการตอ งพจิ ารณาใหมวาจะ พฒั นาอาชีพท่ีตัดสินใจเลือกไวหรือไม หรือพอจะจดั หาไดใ นพื้นที่ใกลเ คียง ซึ่งผูประกอบการตอง เสียคาขนสงจะคมุ คากบั การลงทุนหรอื ไมจึงจําเปนตองนาํ ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นพืน้ ท่ีมาพจิ ารณาดวย เพ่อื ลดตนทุนการผลติ 2. ศักยภาพของพืน้ ท่ตี ามลกั ษณะภมู อิ ากาศ ในแตละพ้ืนทจี่ ะมลี กั ษณะภูมอิ ากาศแตกตา งกนั เชน ประเทศไทยภาคกลาง มีอากาศรอน ภาคใต มฝี นตกเปนเวลานาน ภาคเหนอื มีอากาศเยน็ โดยเฉพาะอาชีพเกษตรกรรมขึ้นอยูกับสภาพ ภูมิอากาศเปนสวนใหญ เชน การปลูกลิ้นจ่ี ลําใย ตองการอากาศเย็นจึงจะออกผลได แกวมังกร ตองการอากาศรอน ทวีปอเมริกา มีอากาศหนาวเย็นมากก็สามารถปลูกพืชเมืองหนาวได เชน เชอรร ่ี แอปเปล ดังนั้น การพฒั นาอาชพี จาํ เปนตองพจิ ารณาสภาพภมู อิ ากาศดวยวาเหมาะสมกับสิ่ง ท่ีตองพัฒนาหรือไม การพัฒนาพันธุของพืชใหม ๆ ท่ีเกี่ยวของกับภูมิอากาศ เชน ขาวหอมมะลิ ตอ งปลูกในสภาพภมู ิอากาศแหง แลง ซงึ่ ไมเ หมาะที่จะนาํ มาปลกู ในภาคกลาง หรือการพัฒนาอาชีพ การทองเทยี่ วในชวงอากาศเย็นสบายกส็ ามารถพฒั นาไดเต็มท่ี เนอ่ื งจากมีนักทองเที่ยวหลั่งไหลเขา มา เชน พัฒนาที่พกั อาหาร แหลง ทอ งเที่ยว ใหต รงกบั ความตอ งการของลูกคา 3. ศกั ยภาพของภูมิประเทศและทําเลที่ตง้ั ของแตล ะพื้นที่ สภาพภมู ิประเทศและทาํ เลท่ีตง้ั ของแตล ะพน้ื ทีจ่ ะแตกตางกัน เชน เปนภูเขา เปนท่ีราบสูง ท่ีราบลุม แตละพื้นที่มีผลตอการพัฒนาอาชีพตาง ๆ เชน ตองการพัฒนาอาชีพอุตสาหกรรมจาก การใชแรงคนเปนเครื่องจักร เพื่อใหสินคามีคุณภาพเดียวกัน ผูประกอบการตองพิจารณาวา เครอ่ื งจกั รนนั้ ตอ งไมม ผี ลกระทบตอ ชมุ ชน และสภาพแวดลอ มในภมู ปิ ระเทศน้ัน ๆ
107 4. ศกั ยภาพของศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณแี ละวถิ ชี วี ติ ของแตละพื้นที่ แตล ะพนื้ ที่ทั้งในประเทศไทย และตา งประเทศ มศี ลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตที่ แตกตางกัน ดังน้ัน แตละพ้ืนที่สามารถนําเอาส่ิงเหลานี้มาใชพัฒนาอาชีพได เชน การทําธุรกิจ รานอาหารก็ตองทราบวาภาคใดมีวิถีชีวิตการรับประทานอาหารรสชาติแบบใด ภาคเหนือ นิยม อาหารรสจืด ภาคใต นิยมอาหารรสจัด สวนภาคกลาง นิยมรับประทานอาหารท่ีมีกะทิเปน สวนประกอบ ดังน้ัน การจะพัฒนาอาชีพตองศึกษาศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของ ชมุ ชนดวย 5. ศักยภาพของทรพั ยากรมนษุ ยใ นแตละพนื้ ท่ี ทรัพยากรมนษุ ยในแตละพน้ื ที่ หมายถึง ความรู ความสามารถของมนุษยท่ีเปนภูมิปญญา ทั้งในอดีตจนถงึ ปจจบุ นั ดานการประกอบอาชีพตาง ๆ ในพื้นที่นั้น ๆ ปจจุบันมีหลายอาชีพท่ีเกิด จากภมู ปิ ญ ญา แตสามารถพฒั นาใหเ หมาะสมกบั สถานการณป จ จุบันได เชน การใชจลุ ินทรียในการทาํ ปุยหมัก แตจากการทําปุยหมักคนเราก็มีความคิดที่จะนําไปประยุกตใชอยางอ่ืน ๆ เชน ทํานํ้าหมัก นาํ ไปราดในหองนา้ํ เพื่อดบั กลน่ิ หรือนาํ ไปผสมกับสว นประกอบอน่ื ๆ ใหสามารถปนเปนกอนได นําไปโยนในน้ําเพื่อแกปญหาน้ําเสียที่เนาเหม็น เปนการชวยปรับสภาพน้ํา ดังน้ัน จะเห็นวา ทรพั ยากรมนุษยม ีความคิดไมหยุดนงิ่ ชว ยใหเกิดสนิ คา ใหม ๆ ไดอ ยูตลอดเวลา กิจกรรม จากการท่ีผูเรยี นศกึ ษาศกั ยภาพ 5 ดา นเพื่อการพฒั นาอาชีพ มาแลว ใหวเิ คราะหศ กั ยภาพ ในอาชพี ท่ตี ดั สนิ ใจจะพฒั นาอาชีพท่สี นใจ จะพัฒนาอาชพี ไดอยางไรใหส อดคลอ งกบั ศกั ยภาพทงั้ 5 ดา น เพ่ือใหการพฒั นาอาชพี นนั้ มีความเปน ไปไดล งในแบบบันทกึ
108 แบบบันทึก ตอ งการพฒั นาอาชีพ……………………………………………………. ท่ี ศกั ยภาพ 5 ดาน ทตี่ อ งการ / สอดคลอ งกบั อาชพี มี ไมม ี หมายเหตุ ในการพฒั นาอาชีพ พอ ไมพอ 1 ทรัพยากรธรรมชาติ 1.1 1.2 1.3 ฯลฯ 2 ภูมอิ ากาศ 3 ภมู ิประเทศและทําเล ทีต่ ัง้ 4 ศลิ ปะ วฒั นธรรม ประเพณี และวิถีชีวติ 5 ทรพั ยากรมนษุ ย
109 สรุปผลการตดั สนิ ใจ ใหเลอื กอยางใดอยางหน่งึ ดังนี้ 1. ตัดสินใจเลอื กพัฒนาอาชพี และใหอ ธบิ ายเหตผุ ลความเปน ไปไดท ่จี ะพัฒนาอาชีพ 2. ตดั สนิ ใจไมเลอื กพฒั นาอาชพี เน่อื งจาก
110 บรรณานุกรม กนก จนั ทรท อง. ส่ิงแวดลอ มศกึ ษา ความรเู ร่อื งสิ่งแวดลอม. ปต ตานี : พิมพท่ีฝายเทคโนโลยีทาง การศกึ ษา สํานักวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี, พิมพครั้งที่ 2. 2539. กรมการศึกษานอกโรงเรียน. ชุดวิชาชองทางการประกอบอาชีพ ระดับมัธยมศึกษาตอนตน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พประชาชนจํากัด, 2538. กองพัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน กรมการศึกษานอกโรงเรียน. ชุดวิชาการฝกทักษะและฝก ประกอบการเฉพาะอาชีพ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2541. นนั ท ศรีสุวรรณ. บญั ชเี บอ้ื งตน . กรงุ เทพฯ : สํานกั พิมพว ังอักษร, 2546. ไพโรจน ทิพมาตร. การขายเบอื้ งตน. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พป ระสานมิตรจาํ กัด, 2545. มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช. (2536). เอกสารการสอนชุดวชิ าการจัดการการผลิตภณั ฑแ ละราคา. นนทบรุ ี : สาํ นักพิมพม หาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช. วิชติ ออู น . (2544). การจัดการเชิงกลยทุ ธ. กรุงเทพฯ : วี.เจ.พร้นิ ต้ิง. สุดาดวง เรืองรุจิระ. (2545). นโยบายผลิตภณั ฑแ ละราคา. กรงุ เทพฯ : ประกายพรกึ . สุรชาติ ใฝรัชตพานิช. หลักการจัดการ. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพประสานมิตร (ปสม.) จํากัด, 2542. สมภพ เลศิ ปญ ญาโรจน. หลกั การตลาด. กรุงเทพฯ : บริษัทสํานักพิมพประสานมิตร (ปสม.) จํากัด, 2542. สํานกั งานสงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดปราจีนบุรี. ชดุ วชิ าพฒั นา อาชีพระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน . กรงุ เทพฯ : บริษทั เอกพมิ พไ ทย จาํ กดั , 2544. อรุณี ปนประยงค และคณะ. การจัดการฟารม . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพเพ่มิ ทรัพยก ารพิมพ. 2547. Nagle, Thomas T. (1987). The strategy & tactics of pricing. New York: Prentice Hall.
111 คณะผูจ ดั ทํา ทปี่ รึกษา บญุ เรือง เลขาธกิ าร กศน. 1. นายประเสริฐ อิ่มสุวรรณ รองเลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชยั ยศ จําป รองเลขาธิการ กศน. 3. นายวชั รินทร แกวไทรฮะ ท่ีปรึกษาดา นการพัฒนาหลกั สตู ร กศน. 4. ดร.ทองอยู ตณั ฑวฑุ โฒ ผูอํานวยการกลุมพัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางรักขณา ผเู ขยี นและเรียบเรียง ศนู ยฝกและพัฒนาอาชีพราษฎรไทยบริเวณ นางสาวกฤษณา โสภี ชายแดน จังหวดั สระแกว ผูบรรณาธกิ าร และพัฒนาปรบั ปรงุ 1. นางอบุ ล ทศั นโกวิท ศูนยก ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั อําเภอสนั ทราย จังหวดั เชยี งใหม 2. นายสธุ ี วรประดษิ ฐ สาํ นกั งานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ตราด 3. นางสาวสวุ ชิ า อินหนองฉาง ศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั อาํ เภอสันทราย จงั หวัดเชียงใหม 4. นายเสกขภทั ร ศรเี มือง ศูนยฝก และพัฒนาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณ ชายแดน จังหวดั อุตรดติ ถ 6. นางดุษฎี ศรวี ัฒนาโรทัย กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 5. นางพรทิพย เข็มทอง กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 7. นางสาวเยาวรัตน คําตรง คณะทาํ งาน ม่ันมะโน กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 1. นายสรุ พงษ ศรรี ตั นศิลป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 2. นายศภุ โชค ปทมานนท กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 3. นางสาววรรณพร กุลประดษิ ฐ กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวศริญญา 5. นางสาวเพชรินทร เหลอื งจติ วฒั นา กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน ผพู มิ พต นฉบบั กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน นางสาวเพชรนิ ทร เหลืองจิตวฒั นา
112 ผอู อกแบบปก ศรรี ตั นศลิ ป กลุมพัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น นายศภุ โชค ผพู ัฒนาและปรับปรุงครั้งที่ 2 (วนั ที่ 4 - 10 พฤศจิกายน 2554) 1. นางอญั ชลี ธรรมวธิ ีกลุ 2. นางดุษฎี ศรีวฒั นาโรทยั 3. นายสุธี วรประดษิ ฐ 4. นางสาวกฤษณา โสภี 5. นายสุภาพ เมืองนอย 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเ รอื น
113 คณะผปู รบั ปรงุ ขอมูลเกย่ี วกบั สถาบนั พระมหากษตั ริย ป พ.ศ. 2560 ทปี่ รกึ ษา จําจด เลขาธกิ าร กศน. หอมดี ผตู รวจราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ 1. นายสรุ พงษ ปฏิบตั ิหนาทร่ี องเลขาธิการ กศน. 2. นายประเสริฐ สุขสเุ ดช ผอู าํ นวยการกลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบ 3. นางตรนี ชุ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ผปู รบั ปรงุ ขอมูล กศน.เขตสายไหม กรงุ เทพมหานคร นางสาวปรญิ ญารัตน มา ทอง คณะทาํ งาน 1. นายสรุ พงษ มน่ั มะโน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั 2. นายศุภโชค ศรรี ตั นศลิ ป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 3. นางสาวเบญ็ จวรรณ อาํ ไพศรี กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 4. นางเยาวรตั น ปน มณวี งศ กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 5. นางสาวสลุ าง เพช็ รสวาง กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 6. นางสาวทิพวรรณ วงคเรือน กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 7. นางสาวนภาพร อมรเดชาวัฒน กลุมพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 8. นางสาวชมพูนท สังขพชิ ัย กลุมพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121