Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20. ช่องทางการพัฒนาอาชีพ อช21001

20. ช่องทางการพัฒนาอาชีพ อช21001

Description: 20. ช่องทางการพัฒนาอาชีพ อช21001

Search

Read the Text Version

44 กิจกรรมทที่ าํ วัตถปุ ระสงค การวางแผน 1. การวางแผน “การวางแผนเปนจดุ เริม่ ตนของการทํางานตามนโยบาย เพ่อื บรรลุวัตถปุ ระสงคขององคกร โดยกําหนดกิจกรรมไวชัดเจนวา จะใหใครทําอะไร ท่ีไหน เม่ือใด เพราะอะไร ดวยวิธีใด เม่ือพบ ปญหาและอุปสรรคทีค่ าดวา จะมีจะเกิดอยางน้ันอยางน้ีแลว จะแกไขอยางไร ในชวงเวลาขางหนา ของการดําเนินการภายใตง บประมาณท่ีตง้ั ไว” นอกจากความหมายดงั กลาวขา งตน สามารถแสดงองคป ระกอบของการวางแผนงานไดดงั นี้ 1. การวางแผนเปนจุดเร่ิมตนของการลงมือทํางาน เปนรากฐานหรือหนาท่ีประการแรก ของกระบวนการการจัดการ 2. แผนงานตองสอดคลองหรือรับใชนโยบาย ซึ่งนโยบายสนองตอบวัตถุประสงค ขององคกร 3. ในแผนงานประกอบดวยกิจกรรมตาง ๆ ตามลําดับความสําคัญและวิธีการทํางาน อยางเปนข้ันตอน 4. ทุกขัน้ ตอนของแตล ะกิจกรรม สามารถตอบคําถามได ดงั นี้ 4.1 ใคร (ตามหนาท่ีและความรบั ผดิ ชอบที่ไดร ับมอบหมายใหทํา) 4.2 ทําอะไร เรือ่ งอะไร (ตามภาระงาน) 4.3 ทําทีไ่ หน จุดที่ทํางานหนว ยงานท่ีทํา 4.4 ทาํ เมอื่ ใด คอื เรม่ิ ตนทาํ ตามกจิ กรรมท่มี อบหมายเม่อื ใด จะสิ้นสดุ ลงเม่ือใด 4.5 แสดงเหตผุ ลวาทําเชนน้ี (กจิ กรรม) เพราะอะไร จะไดผลอยา งไร 4.6 กําหนดวิธีทํางานในแตละขั้นตอนเอาไวชัดเจนพรอมกับแสดงปญหาและ อุปสรรคท่คี าดวา เมอื่ ทําถงึ ข้ันตอนนน้ั แลวอาจเกิดอะไรข้ึนบางและจะไดดีตองกําหนดหรือแสดง วธิ ีการแกปญ หาและวธิ หี ลีกเลย่ี งอปุ สรรคน้นั ๆ เอาไวด ว ย 5. ตองกําหนดชว งเวลาของแผนไวต ามลกั ษณะหรือชนดิ ของแผนงานนน้ั

45 6. ในทุกกจิ กรรมจะตอ งใชทรพั ยากรหรืองบประมาณเทาใดกํากับไวดวยจะยิ่งดี เม่ือรวม แลวจะทราบวาแผนงานนี้จะตอ งใชงบประมาณเทาใด ความสําคญั ของการวางแผน การวางแผน เปนการกาํ หนดแนวทางวา จะทําอะไร เม่อื ใด อยางไร โดยใชท รพั ยากรตาง ๆ ขององคก ร ทําใหเห็นถึงความชดั เจนทีจ่ ะดําเนนิ ไปสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคท่ีตองการ หาก การดาํ เนินการใดปราศจากการวางแผนจะกอ ใหเกิดปญหาตาง ๆ ขึ้นดังนี้ 1. เกดิ ความสบั สนวา จะตองทําอะไร ทําเม่อื ใด ทาํ อยา งไร 2. เกิดความเส่ียงตอความสําเรจ็ เพราะไมทราบแนวทางวาจะมโี อกาสสําเร็จตามวัตถุประสงค ไดอ ยางไร 3. เกดิ ความสูญเสียในการใชท รัพยากรตาง ๆ ซึ่งนาํ มาใชอ ยา งไมเหมาะสมไมมีประสิทธิภาพ สูงสุดและการสญู เสยี เวลา 4. เกดิ การทํางานทห่ี ลงทศิ ทาง เบ่ยี งเบนออกจากวัตถุประสงคเดิม 5. ไมสามารถติดตามความกา วหนา ของงานและไมสามารถประเมินผลงานได การวางแผนจึงมีความสําคัญท่ีชว ยใหผ ปู ฏิบตั ิงานไมเกิดความสับสนวาจะตอ งทาํ งานอะไร ทําเมอ่ื ใด งานใดทํากอน งานใดทําหลัง และทํางานโดยวิธีอยางไร เมื่อทํางานแลวสามารถติดตาม ความกา วหนาของงานวา สาํ เร็จมากนอ ยเพียงใด มีโอกาสดําเนินงานถึงผลสําเร็จตามวัตถุประสงค หรือไมแ ละสามารถประเมนิ ผลงานไดวา มีความสําเรจ็ เพียงใด ประเภทของแผนงาน การแบง ประเภทของแผน มีการแบง ในหลายลกั ษณะ ดังน้ี 1. แบงการวางแผนตามระยะเวลา แบง ได 3 ประเภท 1.1 แผนระยะส้ัน เปนแผนงานทีเ่ กยี่ วขอ งกับกิจกรรมเฉพาะอยาง หรือกิจกรรมที่ มีระยะเวลาดําเนินการไมนาน โดยปกติมักจะมีระยะเวลาดําเนินการไมเกิน 1 ป เชน แผนงาน ประจําป แผนงบประมาณ แผนงานเฉพาะกิจ เปนตน 1.2 แผนระยะปานกลาง เปนแผนงานท่ีมีระยะเวลาดําเนินการยาวนานกวา 1 ป สว นใหญจะมีระยะเวลา 3-5 ป กลา วคือ มีระยะเวลาไมส้ันจนไมสามารถเห็นความสําเร็จ แตก็ไม ยาวนานเกินไป เชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนโครงการกอสรางรถไฟฟา แผนการสรา งเขอื่ นเก็บกักนา้ํ เปนตน 1.3 แผนระยะยาว เปน แผนงานท่มี รี ะยะเวลาดําเนนิ การยาวนานกวา 5 ป ประมาณ 5-10 ป เชน แผนรณรงคใหคนไทยรูหนังสือไทย 100 % แผนการพัฒนาทุกหมูบานปลอดฝุน แผนการบรกิ ารใหทกุ หมบู า นมีโทรศัพทใช แผนการขยายไฟฟาท่วั ทกุ หมบู า น เปนตน แผนระยะยาว สว นใหญจะเปนแผนการจัดบริการของทางราชการ สวนทางดานธุรกิจเอกชนอาจมีบางในธุรกิจ

46 ขนาดใหญหรือธุรกิจขามชาติ เชน แผนการขยายสาขามินิมารทท่ัวทุกจังหวัด แผนการขยาย ขอบขา ยบริการสัญญาณโทรศพั ทมือถอื ครอบคลุมทุกพ้นื ที่ของประเทศไทย เปนตน 2. แบงการวางแผนตามขอบเขตของการวางแผน เปนการจัดแบงโดยพิจารณาเนื้อหาของ แผนวา มีขอบเขตครอบคลุมเพยี งใด มี 5 ประเภท คอื 2.1 แผนแมบท เปนแผนหลักท่ีครอบคลุมแผนระดับรองลงมาท้ังหมดโดย แผนระดับรองตอ งมีความสอดคลอ งกับแผนแมบท 2.2 แผนกลุมหนาที่หรือกลุมงาน เปนแผนกวาง ๆ ที่ครอบคลุมขอบเขตของ กลมุ หนา ที่ เชน แผนงานขาย แผนการเงนิ แผนการตลาด แผนการผลิต เปน ตน 2.3 โครงการ เปน แผนงานเฉพาะกิจที่เก่ยี วขอ งกบั หนวยงานใหญ ๆ มากกวาหนึ่ง ข้นึ ไป เชน โครงการสง เสริมการขายในฤดูรอน โครงการจัดแสดงสินคา โครงการจัดงานกาชาด ประจําป เปน ตน 2.4 แผนสรุป เปนแผนทจ่ี ัดทาํ ข้ึนเพอ่ื สรปุ รวมแผนกลุมหนา ท่ีหรอื โครงการตาง ๆ เขาดว ยกันเปน หมวดหมู เชน แผนการศกึ ษา แผนสาธารณสุข แผนการเกษตร เปนตน 2.5 แผนกิจกรรม เปนแผนทแี่ สดงกจิ กรรมตาง ๆ ของแตละสวนงาน เปนแผนใน ระดบั แผนขององคกร มีรายละเอียดในการปฏบิ ตั ิงาน ซง่ึ ถือวา เปนแผนในระดับลางขององคกร 3. แบง การวางแผนตามลักษณะของการใช 3.1 แผนงานที่ใชประจํา เปนแผนท่ีใชในการปฏิบัติงานท่ีมีการทําซ้ํา ๆ หรือใช สาํ หรบั การแกปญ หาที่เกดิ ขึ้นเปน ประจาํ เชน ระเบียบวธิ ีปฏบิ ัติงาน กฎ เปน ตน 3.2 แผนงานทีใ่ ชค รัง้ เดยี ว เปน แผนที่กําหนดขน้ึ เพอ่ื การปฏิบตั งิ านเฉพาะครงั้ หรอื ใชเพียงครง้ั เดยี ว เชน แผนเฉพาะกิจ โครงการ งบประมาณ เปน ตน 4. แบงการวางแผนตามขอบขายของการใชแผน 4.1 แผนกลยุทธ เปนแผนท่ีมีขอบขายกวาง ครอบคลุมทุกสวนขององคกรเปน แผนระยะยาวท่ีกําหนดแนวทางของการใชทรัพยากรใหมีประสิทธิภาพสูงสุดภายใตสภาวะ แวดลอ มทั้งภายในและภายนอกองคกร 4.2 แผนกลวิธี เปนแผนที่มีขอบขายที่แคบ กําหนดเฉพาะรายละเอียดของการ ปฏิบัติงานวาควรทําอยางไรเพื่อใหงานบรรลุผลสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดเปนแผนที่มี ระยะเวลาสนั้ 1-5 ป ลกั ษณะของแผนทด่ี ี ลักษณะของแผนทดี่ คี วรประกอบดว ยลกั ษณะดงั ตอไปนี้ 1. มวี ัตถุประสงคห รอื เปาหมายทีช่ ัดเจน เขา ใจงาย วัตถุประสงคหรือเปาหมายตองไมมาก จนไมส ามารถกําหนดแผนงานทรี่ ัดกุมได

47 2. ตอ งครอบคลมุ รายละเอียดอยางเพียงพอท่ีจะสามารถปฏิบัติใหสําเร็จตามวัตถุประสงค หรอื เปา หมาย 3. มีความยืดหยนุ พอสมควร สามารถปรับใชก ับสถานการณที่เปลย่ี นแปลงไปได 4. มีระยะเวลาการดาํ เนนิ การท่ีแนน อน 5. มกี ารกําหนดบทบาทหนาทข่ี องผปู ฏบิ ตั ติ ามแผนชัดเจน 6. ผูทเี่ ก่ียวของกบั แผนมสี ว นรว มในการวางแผนชดั เจน 7. ใชขอมูลเปนพ้นื ฐานในการตดั สินใจทุกข้ันตอน เทคนิคการวางแผนทดี่ ี 1. กําหนดวตั ถุประสงคห รอื เปา หมายใหชัดเจน 1.1 วัตถปุ ระสงค หมายถึง สงิ่ ท่ตี องการใหเกิดขนึ้ ในอนาคต วตั ถปุ ระสงคของการ วางแผนของแตละระดับ การจัดการจะมีลักษณะท่ีแตกตางกันตามบทบาทหนาท่ีท่ีรับผิดชอบ วัตถปุ ระสงคข ององคกรยอ มตองรับผดิ ชอบความสําเร็จในภาพรวมขององคกร วัตถุประสงคของ กลมุ หนาที่รบั ผิดชอบตอ ความสาํ เร็จในภาระหนาท่ีหนึ่ง วัตถุประสงคของกิจกรรมรับผิดชอบตอ ความสําเรจ็ ในกจิ กรรมหนงึ่ 1.2 เปาหมาย เปนส่ิงท่ีตองการใหเกิดข้ึนในอนาคตเชนกัน แตจะมีลักษณะ เฉพาะเจาะจงกวา วตั ถปุ ระสงค มักระบุเปนเลขทชี่ ัดเจน เชน ตองการสรา งผลกําไรปล ะ 10,000,000 บาท ตอ งการผลติ ใหไ ดป ละ 500 คนั ตอ งการทาํ ยอดขายใหไ ดป ละ 30,000,000 บาท อยางไรก็ตาม การกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายขององคกรจะตองมีความ สอดคลอ งกับกลยุทธแ ละนโยบายขององคกรดว ย 2. กําหนดกิจกรรมเปนแนวทางหรือรองรับการปฏิบัติงานใหเกิดความสําเร็จตาม วตั ถปุ ระสงค ดังนี้ 2.1 วเิ คราะหก ิจกรรมที่ตองการ 2.2 กาํ หนดผูรบั ผดิ ชอบแตละกิจกรรม 2.3 กําหนดระยะเวลาดําเนินการของแตละกิจกรรม ตลอดจนความสัมพันธ ระหวา งกจิ กรรม 2.4 กําหนดงบประมาณของแตละกิจกรรม 3. วิเคราะหห รือตรวจสอบความเปนไปไดข องแผน แผนงานตางๆ ทถ่ี กู เขยี นขนึ้ จากความรู ความสามารถของผูบ ริหารที่แตกตางกันอาจไมม คี วามสมบูรณหรืออาจเปนไปไมไดในทางปฏิบัติ

48 จําเปน ตองมกี ารวเิ คราะหห รอื ตรวจสอบวา แผนทเ่ี ขยี นขน้ึ มีความเปนไปไดมากนอ ยเพยี งใด อาจมี การปรบั ปรุงแผนใหม คี วามสมบูรณย ่ิงข้นึ เปน การทบทวนแผนกอนทจี่ ะนาํ ไปปฏบิ ตั จิ ริง เชน 3.1 กจิ กรรมทกี่ ําหนดขึ้นไมส อดคลองตอ ความสาํ เรจ็ ตามวัตถุประสงค 3.2 กจิ กรรมไมค รบถวนทจ่ี ะทําใหสําเร็จตามวตั ถปุ ระสงค 3.3 ผูรับผดิ ชอบทรี่ ะบุไวใ นแผนอาจไมเหมาะสมไมส ามารถปฏิบัตงิ านตามแผน ใหบรรลผุ ลได 3.4 ระยะเวลาในแผนไมเ หมาะสม 3.5 งบประมาณทต่ี ํ่าเกนิ ไปจนไมสามารถปฏิบตั ติ ามแผนได หรืออาจสงู เกินไป ทําใหสน้ิ เปลอื งคา ใชจ ายในการดําเนนิ การ 4. การกําหนดรายละเอียดของแผน มักจะเกี่ยวของกับการตัดสินใจเลือกวิธีการวาควร ทาํ อยางไร หลกั ในการพิจารณาตดั สินใจเลอื กมี 4 ข้ันตอน ดงั น้ี 4.1 กาํ หนดประเดน็ ปญหาใหช ดั เจน 4.2 กําหนดทางเลอื กตา ง ๆ ที่สามารถแกป ญ หานน้ั ไดหลาย ๆ ทางเลอื ก 4.3 ประเมนิ ขอดี ขอเสยี ของทางเลอื กแตละทางเลอื กวามอี ยางไร 4.4 ตดั สินใจเลอื กทางเลือกท่ีดที ีส่ ุด ภายใตสภาวะแวดลอ มภายในและภายนอก องคก ร ประเดน็ ปญ หา ทางเลอื ก 1 พิจารณาขอ ดี ทางเลอื กที่ดที สี่ ดุ ทางเลือก 2 ขอเสยี ทางเลอื ก 3 แตละทางเลือก ภายใตส ภาวะ แวดลอมภายใน และภายนอก องคกร ดังน้ัน ผูจัดการฝายผลิตจะตองตัดสินใจเลือกวิธีท่ี 1 ซึ่งจะใหโรงงานมีผลกําไรเพ่ิม 1,690,000 บาท กระบวนการวางแผน การวิเคราะหกจิ กรรม เปนการกําหนดกิจกรรมท่ีจะตองทําในแผน ผูที่ทําหนาที่วิเคราะห จะตองมคี วามรูเกยี่ วกบั เร่ืองที่จะทําอยางดี จึงจะสามารถระบุกิจกรรมท่ีตองทําไดถูกตองครบทุก

49 กจิ กรรมและเขียนความสมั พันธข องกจิ กรรมตาง ๆ ได ตลอดจนการกาํ หนดระยะเวลาของกิจกรรม และการกําหนดงบประมาณท่ตี องใชไดถูกตอง การวเิ คราะหก ิจกรรมโดยการวเิ คราะหกระบวนการของภาระงานท่ที าํ ถือวาภาระงานหน่ึง ๆ สามารถแยกเปน งานยอยหลาย ๆ งาน ซึง่ มคี วามเชอ่ื มโยงกัน มีการลําดับทํากอ นและหลัง ดงั น้ี 1. ภาระงานหน่งึ สามารถแยกเปน งานยอยไดห ลาย ๆ งาน 2. งานยอ ยแตล ะงานมคี วามเชอ่ื มโยงกนั 2.1 งานยอยเช่ือมโยงในแนวนอน งานยอย งานยอย งานยอ ย งานยอย 2.2 งานยอ ยเชื่อมโยงในแนวต้ัง งานยอย งาน งานยอ ย ประกอบ งานยอย รวมกนั 2.3 งานเช่ือมโยงในลกั ษณะผสม งานยอ ย งานยอย งานยอย งานยอย งานยอย งานยอย 3. งานยอยแตละงานมลี าํ ดับการทํากอ นและทําหลัง หรือบางงานอาจทาํ พรอมกัน

50 ตัวอยา งการวเิ คราะหงานของรา นอาหารตามสัง่ วัตถุประสงคข องราน ปรงุ อาหารตามสั่งจําหนายลกู คา รายการอาหาร จดั ซอื้ จัดเตรียม จัดปรงุ จดั บรกิ าร ลกู คา จัดเก็บ ท่ลี ูกคาส่ัง วัตถดุ บิ วัตถุดิบ อาหาร ลกู คา ภาชนะเพ่ือ นําไปลา ง จัดเก็บเงนิ ตัวอยางนี้จะพบวา การขายอาหารตามส่ังซึ่งเปนภาระงานของรานอาหารสามารถแยก ออกเปน งานยอยไดหลายงาน เชน งานจัดซ้ือวัตถุดิบ งานจัดปรุงอาหารตามสั่ง งานบริการลูกคา งานจัดเก็บเงิน งานจัดเกบ็ ภาชนะไปทาํ ความสะอาด ซง่ึ งานยอยเหลานี้มีลําดับการทํางานกอนหลัง และเชอื่ มโยงทง้ั ในแนวนอนและแนวตัง้ ตัวอยา งการวิเคราะหงานของธุรกิจโรงพิมพใ นระบบออฟเซท็ วตั ถปุ ระสงค เพ่อื จัดพิมพงานตามที่ลูกคาส่ังพมิ พ รบั คาํ สั่งพมิ พ ออกแบบส่ังพมิ พ จดั ทาํ แมพิมพ จดั บรกิ าร งานจากลกู คา จัดซื้อกระดาษ การ จัดสง พมิ พ ลกู คา

ตวั อยางการวเิ คราะหงานของฝา ยสนิ เช่อื ของธนาคารพาณชิ ย 51 สมุหบญั ชี อนุมตั ิ จายเงิน เงนิ กู ทกี่ ู ลูกคา งาน งาน งาน งานขอ นําหลักทรพั ย แสดง ตรวจสอบ ประเมนิ ความจาํ นง เอกสาร หลกั ทรัพย วเิ คราะห อนุมตั ิ ลกู คา ไป ขอกเู งิน หลกั ฐาน สนิ เชื่อ เงินกู จาํ นอง ขัน้ ตน จากงานยอยตาง ๆ ท่ผี า นการวิเคราะหไ ดแ ลวนํามาจดั ทาํ เปน แผนอยางครา ว ๆ หรอื เปน แผนในรายละเอยี ดเพอื่ นาํ ไปปฏิบตั ิแลว แตก รณี ดงั นี้ จากตวั อยา ง ระยะเวลา ผูรบั ผดิ ชอบ งบประมาณ ลกั ษณะงานยอ ย ดําเนนิ การ 1. งานจดั ซอ้ื วัตถุดบิ 2. งานจดั เตรียมวตั ถดุ บิ 3. งานจดั ปรงุ อาหาร 4. งานจดั บรกิ ารลกู คา 5. งานจดั เกบ็ เงนิ 6. งานจัดเกบ็ ภาชนะไปลาง จากตวั อยา ง ระยะเวลา ผูร บั ผดิ ชอบ งบประมาณ ลักษณะงานยอ ย ดําเนนิ การ 1. ออกแบบส่งิ พิมพ 2. จดั ซอ้ื กระดาษ 3. จัดทําแมพ ิมพ 4. จัดการพมิ พ 5. จดั สงลกู คา

จากตวั อยาง ระยะเวลา 52 ลกั ษณะงานยอ ย ดาํ เนนิ การ ผูร บั ผดิ ชอบ งบประมาณ 1. งานตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน ข้นั ตน 2. งานประเมินหลกั ทรพั ย 3. งานวเิ คราะหส นิ เชื่อ 4. งานขออนมุ ัติเงนิ กู 5. นาํ หลักทรพั ยล ูกคาไปจํานอง 6. จายเงนิ กู แผนงานท่ีไดผานการทําขึ้นแลว ควรจะไดตรวจสอบถึงข้ันตอนตาง ๆ วาครบถวนเพียงพอ ทีจ่ ะดาํ เนนิ การไปสคู วามสําเรจ็ ตามแผนได ตรวจสอบระยะเวลาวาสามารถดําเนินการใหแลวเสร็จได ตามแผนหรือไม ตรวจสอบผูรับผิดชอบวามีความสามารถท่ีจะดําเนินการใหเสร็จตามแผนได ตลอดจนการตรวจสอบงบประมาณทใี่ ชวาเพียงพอหรอื เหมาะสมตอ การดาํ เนินการตามแผน การดาํ เนนิ งานตามแผนในระยะเวลาหนึ่ง อาจจะพบวาแผนยังมีความบกพรอ ง ซึ่งจะทราบได กต็ อเมอ่ื ตองมกี ารปฏบิ ตั จิ รงิ เมือ่ พบความบกพรองจะตอ งมกี ารปรับปรงุ แผนใหดีขึ้นตามหลักการ วางแผนท่ีวาการวางแผนจะตองมีความยืดหยุนพอสมควรที่ทําการปรับปรุงแผนงานตาม สภาพการณทีเ่ ปลี่ยนไป กิจกรรม ใหผ เู รยี นกาํ หนดสนิ คา ที่จะออกสตู ลาดมา 1 ชนดิ และวางแผนการตลาด อธิบายมาพอเขา ใจ 2. การจดั ทาํ โครงการ แนวคดิ สาํ คญั โครงการเปนงานลักษณะหน่ึงท่ีนิยมนํามาใชในการดําเนินกิจกรรมอยางใดอยางหน่ึง ลักษณะของงานโครงการเปนงานท่ีมีกําหนดเวลาแลวเสร็จที่แนนอน มีการประเมินผลสําเร็จ เมื่อส้ินสุดโครงการเปนลักษณะงานที่ไมเหมาะที่จะจัดดําเนินการในระยะยาวหรืองานประจํา การจัดการงานโครงการจึงมีลักษณะของการจัดการท่ีแตกตางจากการดําเนินงานประจํา ความสําคัญของงานโครงการก็คือ การควบคุมเวลาใหโครงการมีการดําเนินการใหเสร็จสิ้น ในระยะเวลาท่ีกําหนดที่สั้นที่สุด เพื่อสามารถควบคุมตนทุนรายจายใหตํ่าสุด ซึ่งตนทุนรายจาย เหลานีจ้ ะแปรตามระยะเวลาของโครงการหากโครงการมีการเสร็จทล่ี า ชา ออกไป

53 โครงการเปนสง่ิ ท่พี บเหน็ ไดเสมอในการจดั การองคกรท่วั ไป มีการแบงแยกงานในองคกร มาบริหารในรปู ของโครงการ ไมว าจะเปน หนว ยงานของรัฐหรอื หนว ยงานเอกชน และไมวาจะเปน องคก รขนาดใหญหรือองคก รขนาดเล็กกต็ าม การจดั การงานโครงการก็เปนท่ีนิยมอยางแพรหลาย การทาํ ความเขาใจเก่ียวกบั การจดั การงานโครงการเปนส่ิงที่นาสนใจท่ีสามารถนําไปใชประโยชน ไดสาํ หรับนกั บรหิ ารโดยท่ัวไป ความหมายของโครงการ 1. โครงการหมายถึง งานทม่ี กี ารดําเนนิ การในขอบเขตท่ีจาํ กดั โดยมุงหวังความสําเรจ็ ของงาน เปนสาํ คญั 2. จากความหมายขา งตน มีสาระสําคญั ดังนี้ 2.1 เปน งานทมี่ ขี อบเขตจาํ กดั ไดแก 2.1.1 ปริมาณงานทีจ่ ํากัด งานโครงการจะเปนงานท่ีมีเนื้องานจํากัด เชน โครงการจดั งานฉลองปใ หม โครงการกอ สรางสะพาน โครงการรณรงคงดสูบบุหรี่ในท่ีสาธารณะ โครงการขยายตลาดสนิ คา ในภาคอสี าน โครงการปรบั ปรุงประสิทธิภาพการผลิตในโรงงาน เปน ตน 2.1.2 มีเวลาท่ีจํากัด โครงการจะมีการจํากัดเวลาการดําเนินการ เพ่ือให เห็นความสําเรจ็ ในเวลาทแ่ี นนอน เชน 1 สัปดาห 3 เดือน 1 ป เปน ตน 2.2 เปน งานท่ีตอ งการเหน็ ความสําเร็จท่ชี ัดเจน จะมีการประเมินผลงานเม่ือส้ินสุด โครงการเพื่อวัดผลงานวามคี วามสําเร็จมากนอยเพียงใด ลกั ษณะของโครงการ ในเรื่องของการวดั ความสําเร็จของงานจะแตกตางจากการ ดําเนนิ งานปกติทว่ั ไป งานโครงการตองการวดั ความสําเร็จของงานในเนื้องานโครงการเทาน้ันวามี ความสําเร็จมากนอยเพียงใด สวนการวัดความสําเร็จของงานทั่วไปจะวัดความสําเร็จของงานใน ระยะเวลาหนึง่ วา มคี วามสําเรจ็ เพียงใด และยงั มกี ารดําเนินการตอ ไป ซง่ึ เม่อื ครบระยะเวลาหนึ่งก็จะ มีการวดั ผลงานเปน ชว ง ๆ ตอ ไป เชน กําหนดวัดผลงานเดอื นละครัง้ หรอื วดั ผลงานเปนรายไตรมาส หรือเปน รายป เปนตน ความสําคญั ของโครงการ การดําเนินโครงการมีการใชทรัพยากรตา ง ๆ ขององคกร ซึ่งเกย่ี วพนั กับคาใชจายท่ีเกิดข้ึน จากการใชท รัพยากร การกําหนดงานโครงการมีการจดั ทาํ งบประมาณทต่ี องใชต ลอดโครงการและ กําหนดระยะเวลาส้ินสุดของโครงการ หากการดําเนินโครงการเสร็จส้ินตามระยะเวลาท่ีกําหนด จะมกี ารใชเงินตามงบประมาณ แตหากการดําเนินงานโครงการมีการเล่ือนกําหนดเวลาแลวเสร็จ ออกไปจะมีผลทําใหตองเพิ่มงบประมาณคาใชจาย การดําเนินงานโครงการจึงตองมีการควบคุม เวลาใหแลวเสร็จตามระยะเวลาท่ีกาํ หนด เพ่ือควบคุมตนทุนคาใชจายและผลกระทบตาง ๆ ทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ได

54 ลักษณะของงานโครงการ 1. งานโครงการเปน งานท่ีมีกาํ หนดระยะเวลาท่ีแนนอน มีระยะเวลาเร่ิมตนและระยะเวลา สิ้นสดุ ซง่ึ แตกตางจากการดําเนนิ การประจํา จะมรี ะยะเวลาเรมิ่ ตน แตจะมีการกําหนดเวลาส้ินสุดท่ี แนนอน ระยะเวลาการดําเนินการของโครงการมีระยะเวลาแตกตางกันตามลักษณะของเนื้องาน โครงการบางลักษณะมีระยะเวลาสั้นต้ังแต 1 สัปดาห ถึง 1 ป เชนโครงการจัดงานคอนเสิรต หารายได โครงการสรา งสะพานลอยสาํ หรับคนขามถนน 2. งานโครงการมีการบริหารแยกออกจากงานประจํา ลักษณะของงานโครงการจะมีการ จัดสรรงบประมาณและทรัพยากรแยกออกจากหนวยงานประจํา บางโครงการมีการแยกจาก หนว ยงานประจาํ อยา งเดนชดั ไดแ ก งานโครงการพิเศษ ซ่ึงจะมีงบประมาณของโครงการโดยตรง มกี ารจัดสรรทรัพยากรเพอื่ ใชในโครงการโดยตรง สว นบางโครงการอาจจะมีการแยกจากหนวยงาน เปนบางสวนและดําเนินการควบคูก ับหนวยงานประจํา โครงการลกั ษณะนจ้ี ะมงี บประมาณท่ีใชใน โครงการเทาที่จําเปนและทรัพยากรสวนหนึ่งจะใชรวมกับหนวยงานประจํา ไดแก แผนงาน โครงการตาง ๆ 3. งานโครงการจะมีผูบริหารโครงการรับผิดชอบงานโครงการโดยตรง เพื่อใหการ ดาํ เนินงานโครงการมีความเดนชัด มีผูทําหนาที่จัดการและตัดสินใจโดยตรง ทาํ ใหงาน มีความกาวหนาตามลาํ ดับ หากงานโครงการไมเ ปน ไปตามแผนงานก็สามารถระบผุ รู บั ผิดชอบได 4. งานโครงการมีการประเมินผลงานท้ังโครงการเมื่อสิ้นสุดโครงการ งานโครงการจะ เกย่ี วขอ งกบั รายรบั และรายจายทีเ่ กิดขึน้ ในการดําเนินการ เม่ือส้ินสุดโครงการจะมีการประเมินถึง ผลงานที่ไดรับวาเปนไปตามวัตถุประสงคของโครงการหรือไม และมีรายรับรายจายเปนอยางไร เพอื่ ประเมินวาโครงการมีความสําเร็จมากนอ ยเพียงใด แตกตางจากการดําเนินงานประจําจะมีการ ประเมนิ ผลตามระยะเวลาชวงหน่งึ เชน 1 เดือน 3 เดือน หรือ 1 ป เปนการวัดผลสําเร็จในชวงเวลา หนง่ึ เทานัน้ ไมใ ชการวดั ผลสําเร็จตลอดอายุของการดําเนนิ การ

55 ตวั อยางการจดั งานรปู โครงการของบรษิ ทั รับเหมากอ สรา งแหง หนง่ึ เปน ดงั นี้ บริษัทรับเหมา กอสราง ฝา ยวางแผนงาน ฝา ยการตลาด ฝายบุคลากร ฝา ยวิศวกรรม ฝายกอสรา ง ฝายจดั ซ้อื วสั ดุ ฝายบญั ชี และการขาย และสถาปต ย อุปกรณ และ การเงิน กรรม โครงการ ฝายการตลาด ฝา ยบคุ ลากร ฝายวิศวกรรม ฝายกอสรา ง ฝายจดั ซอ้ื วสั ดุ ฝายบญั ชี กอสราง และการขาย และสถาปต ย อุปกรณ และ สะพานขาม การเงนิ แมน า้ํ กรรม โครงการ ฝายการตลาด ฝายบุคลากร ฝายวิศวกรรม ฝา ยกอสรา ง ฝายจดั ซอ้ื วสั ดุ ฝา ยบญั ชี กอ สรางศนู ย และการขาย และสถาปตย อุปกรณ และ การเงนิ ราชการ กรรม จังหวัด โครงการสราง ฝายการตลาด ฝา ยบุคลากร ฝา ยวศิ วกรรม ฝายจัดซอื้ วสั ดุ ฝายบัญชี เข่ือน และการขาย และสถาปตย อุปกรณ และการเงิน ฝายกอ สรา ง กรรม

56 เทคนคิ การบริหารงานโครงการ 1. เทคนิคการดําเนินงานโครงการ การดําเนินงานโครงการมีลักษณะคลายการจัดการ องคกรโดยเริ่มจากการกําหนดวัตถุประสงคของโครงการใหชัดเจนวาตองการทําอะไร จาก วตั ถปุ ระสงคจ ะนาํ มาวางแผนของโครงการ ดงั นี้ วตั ถุประสงคของโครงการ แผนงานของโครงการ การวางแผนงานของโครงการก็เหมือนการวางแผนโดยทั่วไปวาจะใหใครทําอะไร ที่ไหน และอยา งไร ซึง่ เปนการกําหนดกิจกรรมท่ีทําและกําหนดการใชทรัพยากรตาง ๆ ท้ังคน เงิน วัสดุ อุปกรณ ตลอดจนวิธีการ ทรัพยากรเหลานี้จะถูกตีมูลคามาเปนงบประมาณที่ใช หรือแผนงาน โครงการไดร ับการอนุมัตใิ หดาํ เนินการแลว จะมีการจัดโครงสรางองคกร จัดบุคลากรเขาทาํ งาน มกี ารอาํ นวยการและการควบคุมงานเชนเดยี วกบั การจดั องคก ร วตั ถปุ ระสงค ของ โครงการ แผนการ จดั โครงสรา ง จดั บคุ ลากร อํานวยการ ควบคมุ ของ องคกรของ เขาทํางาน งาน โครงการ โครงการ การวางแผนงานของโครงการเพื่อกําหนดแนวทางปฏิบัติใหสามารถดําเนินการโครงการ สําเร็จไดต ามวตั ถปุ ระสงคท ีต่ อ งการ การจดั โครงสรางองคกรของโครงการเพือ่ ใหเ หน็ ภาพท่ชี ัดเจน ในการปฏิบตั งิ านรองรับแผนงานของโครงการ การจัดบคุ ลากรเขาทํางานตามโครงสรา งองคก รของ

57 โครงการเพือ่ ใหม ีบุคลากรท่จี ะปฏิบตั ิงานตามแผนงานของโครงการ ตลอดจนมกี ารอาํ นวยการและ ควบคมุ งานเพื่อใหง านมีการปฏิบตั ติ ามขั้นตอนของแผน เกิดความสําเร็จตามแผนได 2. เทคนคิ การจดั การทรพั ยากรในงานโครงการ 2.1 เทคนิคการจัดการบุคลากร เนื่องจากงานโครงการเปนงานท่ีมีกําหนดเวลา โดยเฉพาะโครงการที่มีกําหนดเวลาสั้น การจัดหาบุคลากรเขาทํางาน ควรจัดหาบุคคลท่ีมีความรู ความสามารถท่เี หมาะสมเขา ทํางานในโครงการ โดยไมต องมกี ระบวนการพัฒนาบุคลากรกอนเขา ทํางาน ตลอดจนในระหวางการดําเนินงานโครงการก็จะไมมีข้ันตอนการพัฒนาบุคลากรเชนกัน สาํ หรับโครงการทมี่ รี ะยะเวลาดาํ เนินการยาวนานหลายป อาจมีการพัฒนาบุคลากรกอนเขาทํางาน หรือพัฒนาบุคลากรในระหวางดําเนินการก็ไดแตจะพัฒนาบุคลากรเทาที่จําเปนตอการดําเนินงาน โครงการใหเ สรจ็ สนิ้ 2.2 เทคนคิ การจัดหาวัสดุอุปกรณและเครื่องจักร การจัดหาวัสดุในงานโครงการ ควรจดั หาเทาทจี่ ะตอ งใชในงานโครงการเทานั้น ไมจ ําเปน ตองมีวสั ดคุ งเหลือเหมือนการดําเนินงาน ประจํา เพราะหากมีสินคาคงเหลืออาจไมมีประโยชนท่ีจะใชไดตอไป สวนการจัดหาอุปกรณท่ีมี มูลคา ไมสูงนัก ก็จัดซื้อเทาที่จําเปนตองใช สําหรับอุปกรณที่มีราคาสูงหรือเครื่องจักรท่ีมีราคาสูง ควรใชวิธีการเชาซึ่งจะทําใหตนทุนรวมมีคาตํ่ากวา และเมื่อสิ้นสุดโครงการก็จะไมตองเหลือ อปุ กรณห รือเคร่อื งจกั รเกา ท่จี ะเปน ภาระแกโ ครงการ 2.3 เทคนิคการจัดสรรการเงิน การจัดสรรการเงินในงานโครงการจะเนนการใช เงนิ ทนุ หมนุ เวียนเปน หลัก การลงทุนในสินทรพั ยถ าวรควรจะใหมนี อยทีส่ ุดเทาท่ีจาํ เปน หรอื อาจไม ควรมสี ําหรับงานโครงการที่จําเปน ตองใชสินทรัพยท ี่มรี าคาสงู เชน ทด่ี ิน อาคาร เคร่อื งจักร ควรใช วิธกี ารเชา เพอ่ื ลดการใชเงนิ ทนุ ถาวรซึง่ เปนเงินทุนระยะยาว และเมื่อส้ินสุดโครงการก็จะไมตองมี ภาระกับสนิ ทรัพยถาวรเหลาน้ี อีกทง้ั ยังทําใหตนทนุ รวมในการลงทุนตา่ํ กวาดว ย 3. เทคนคิ การบรหิ ารเวลาในงานโครงการ เวลาในการดําเนินงานโครงการเปนส่งิ สาํ คญั หากโครงการลาชาออกไปจากแผนงานจะมี ผลตอ คาใชจา ยทสี่ ูงข้นึ การดาํ เนนิ งานโครงการจึงตองมีการควบคุมเรื่องเวลาเพ่ือใหงานเสร็จส้ิน ตามแผนงาน โดยปกติงานโครงการหนึ่ง ๆยอ มแบงออกเปนกิจกรรมยอย ๆ หลาย ๆ กิจกรรม แตละกิจกรรม มีความสมั พันธทสี่ ามารถเขยี นเปน แผนผงั แสดงความสัมพนั ธกันไดใ นลักษณะของโครงขายงาน กิจกรรม ใหผูเรยี นเขยี นโครงการอาชพี ของตนเองมา 1 อาชีพ

58 3. การใชว สั ดอุ ุปกรณ เคร่ืองมือ หมายถึง ส่ิงตาง ๆ ท่ีมนุษยคิดคนข้ึนหรือประดิษฐขึ้นมาใชเพ่ือความสะดวก รวดเรว็ ประหยัดเวลาและแรงงาน วสั ดุ หมายถึง สิ่งที่ใชแลวสิ้นเปลืองและหมดไป เชน เน้ือ สารใหสี เกลือ ขาว กระเทียม พริกข้หี นู อุปกรณ หมายถึง สิง่ ทใ่ี ชแลว ยังคงเหลือ สามารถใชไดอ กี เชน เคร่ืองบดเนื้อ เครื่องอัดไส เคร่ืองชง่ั ชนิดละเอียดและชนิดหยาบ อปุ กรณเ ครือ่ งครวั ตาง ๆ ไดแก มีด เขียง ถาด กะละมงั หมอ เตา ยกตัวอยา ง การทาํ แหนม การทําแหนม การท่จี ะทาํ แหนมใหมีคุณภาพดี จําเปนตองรูจักเลือกใชวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณตาง ๆ ท่ีใช ทําแหนมอยางเหมาะสม ผูบริโภคหรือผูประกอบการเกี่ยวกับการใชเนื้อ เพื่อนําไปแปรรูป ทําผลิตภัณฑแ หนมควรจะทราบถงึ ส่งิ ตา ง ๆ ท่มี ีผลตอ คณุ ภาพของผลิตภัณฑแหนมท่ีตองการ และ ส่งิ สาํ คญั อันดับแรกทจ่ี ะตอ งคาํ นงึ ถึงกค็ ือ คณุ ภาพของวตั ถุดิบท่จี ะใช เพราะวาคุณภาพของผลิตภัณฑ ขน้ั สดุ ทา ยจะดไี ปไมไ ดถ า วตั ถดุ บิ คณุ ภาพดอย ฉะนั้นควรทจ่ี ะรจู ักกับวัตถุดบิ ตาง ๆ ในการทําแหนม ไดแ ก 1. เนือ้ หมายถึง เน้อื ทีไ่ ดจ ากสัตวเ พ่ือนํามาใชเปนอาหาร ซึ่งรวมถึงกลามเนื้อ และอวัยวะ ตาง ๆ เชน ตบั หัวใจ และสวนอื่น ๆ ที่บริโภคได เนื้อจากสัตวชนิดตาง ๆ ไดแก โค กระบือ สุกร แพะ แกะ เปนตน เน้ือสัตวจะมีสวนประกอบทางเคมีแตกตางกันไป ขึ้นอยูกับสภาพของสัตว แตละชนิดหรืออายุตางกัน โดยท่ัวไปกลามเน้ือของสัตวจะมีสวนประกอบทางเคมี ไดแก น้ํา โปรตนี ไขมัน คารโ บไฮเดรต วิตามนิ เอ็นไซม สี และแรธาตุตาง ๆ เปนตน 2. สารใหสี การทําแหนมในระดับชาวบาน มักมีการเติมดินประสิวลงไปดวยเล็กนอย เพ่ือใหเ กดิ สแี ดงสวย โดยปรมิ าณที่ใชเตมิ นัน้ ไมไ ดมกี ารชั่ง ตวง วดั ใชประมาณเองตามความชํานาญ ท่ีปฏิบัติมา ซ่ึงนับวาเปนอันตรายตอผูบริโภค เพราะสารใหสีดังกลาวจัดเปนวัตถุเจือปนอาหาร พวกไนเตรทและไนไตรท ซ่ึงมกี ฏหมายควบคมุ กําหนดปรมิ าณการใช โดยอนญุ าตใหใชไดไมเกิน 200 - 500 มิลลิกรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม ซ่ึงตองคํานวณในรูปโซเดียมไนเตรท และโซเดียม ไนไตรทตามลาํ ดบั ปจ จุบนั การใชไนเตรทและไนไตรท ผสมกับอาหารมีวตั ถุประสงค 3 ประการ คอื 2.1 เพื่อชวยใหอ าหารโดยเฉพาะเนอื้ สัตวมีสีแดงคงทน ไมเสอ่ื มสลายไป ขณะหุงตม 2.2 ทาํ ใหอ าหารมีรสชาติและกลิ่นเฉพาะ 2.3 ทาํ ใหเ ก็บอาหารไวไ ดนาน ไนเตรท ไนไตรท จะทําหนาท่ีเปนสารกันเสีย ปองกันการ เจริญเติบโตของจุลนิ ทรีย โดยเฉพาะพวกทีท่ าํ หนาท่ีใหเ กดิ การบดู และพวกทีส่ รางสารพิษ สารใหสีท่ี ขอแนะนําใหใช คือ ผงเพรก ผงเพรกเปนสารเคมีพวกสารประกอบไนเตรทไนไตรท ใชใสลง

59 ผลติ ภัณฑ เพอ่ื ใหเกดิ กลิ่นและรสท่ีตองการ ทําลายจุลินทรียท่ีเปนพิษและทําใหเกิดโรค และเพ่ิม ลงไปเพือ่ ทําใหผ ลิตภัณฑม ีสดี ขี ึน้ 3. สว นผสมอื่น ๆ เกลือ การเติมเกลือประมาณ 2 - 3 % ของน้ําหนักอาหาร จะชวยทําหนาที่ปองกัน ไมให จลุ นิ ทรยี อ ื่น ๆ เจริญได และชว ยดึงน้าํ และน้ําตาลจากเน้ือ และยังสามารถทําหนาที่เปนสารกันบูดได วัตถปุ ระสงคข องการใสเ กลือในแหนม คือ ทําใหเ กดิ รสเคม็ และทาํ ใหแหนมเกบ็ ไวไ ดน าน ปรมิ าณ เกลือท่ีใสถานอยเกินไป จะทําใหแหนมเนาเสียได และถาใสเกลือมากเกินไปแหนมท่ีไดจะมีรส เปรี้ยวนอยกวา รสเคม็ ขาว ขาวทีใ่ สล งในแหนมเปน ขาวทผี่ านการหุงตมจนสกุ แลวใชไ ดทงั้ ขา วเจา และขาวเหนียว การใสขาวลงไปก็เพ่ือเปนแหลงคารโบไฮเดรตแกแบคทีเรียที่สรางกรดแลคติก ซึ่งเปนตัวที่ ทาํ ใหแหนมมีรสเปร้ียว กระเทียม ตามปกติมักจะบดกระเทียมใหละเอียดกอนแลวจึงใสลงในผลิตภัณฑ การใส กระเทียมจะใหผลทงั้ ในแงเพิ่มกล่ินหอมและรสชาติของแหนม และยังชวยเปนสารกันบูดไดดวย โดยจะใสป ระมาณ 10 % ของนํ้าหนักอาหาร พรกิ ขห้ี นู การทําแหนมอาจจะมีการเติมพริกขี้หนูเปนเม็ด ๆ พริกข้ีหนูท่ีเติมน้ัน นอกจาก จะใหร สเผด็ เมอ่ื บริโภคแลว ยังชว ยเพ่ิมสสี นั ทส่ี วยงามใหก บั แหนมอีกดวย วัสดอุ ปุ กรณในการทาํ แหนม การทําแหนมบริโภคกนั เองภายในครวั เรือนไมจ ําเปน ตอ งใชว สั ดอุ ปุ กรณท่ียุงยาก แตถามี การผลิตเพ่ือจําหนายในปริมาณมาก ๆ จะมีอุปกรณชวยทุนแรงในการผลิต ซึ่งอุปกรณตาง ๆ ที่ เกย่ี วขอ งกับการทาํ แหนมมดี งั นี้ 1. เครือ่ งบดเนื้อ 2. เครอ่ื งอัดไส 3. เครื่องชัง่ ชนิดละเอยี ดและชนดิ หยาบ 4. อปุ กรณเ ครอ่ื งครัวตาง ๆ ไดแก มีด เขยี ง ถาด กะละมัง หมอ เตา 4. การใชแรงงาน แรงงาน หมายถึง บคุ คลที่ผูประกอบการจางมาใหปฏิบัติงานตามความเหมาะสมของงาน และความสามารถของแตละบุคคล ซึ่งมีท้ังแรงงานประเภทท่ีมีความชํานาญงานหรือแรงงานท่ีมี ฝมือ แรงงานประเภทไรฝมือที่ตองใชกําลังในการปฏิบัติงาน เชน คนงานแบกหาม และแรงงาน ประเภทวิชาการท่ีตองใชมันสมอง เพ่ือชวยใหการวางแผน การกําหนดนโยบาย และการ ประเมินผลใหธุรกิจดําเนินไปอยางราบรื่น และประสบความสําเร็จตามแผนท่ีกําหนดไว ดังนั้น เจา ของกจิ การหรอื ผูประกอบการจาํ เปน จะตอ งเลือกบคุ ลากรท่ีมีความรู ความสามารถมาทาํ งานตาม

60 ความถนัดของแตละบคุ คลเพอ่ื ประสทิ ธิภาพของงาน ทั้งน้ี นายจางจะตองจายเงินเดือน คาจาง คา คอมมิชช่ัน และสวัสดกิ ารอ่ืน ๆ ใหแกพ นกั งานอยางเหมาะสม สรปุ ความสามารถของมนษุ ยท่ีถกู นาํ มาใชใ นการผลิต เพือ่ ทําใหเ กิดเปน สินคาหรอื บริการ ข้ึนมา แรงงานนับเปนทรัพยากรท่ีสําคัญที่สุด ถาปราศจากแรงงานและทรัพยากรตาง ๆ ที่กลาว มาแลวทัง้ หมด ก็ไมสามารถนําออกมาใชประโยชนไดผลตอบแทนของแรงงานก็คือ คาจาง มาก หรือนอยขนึ้ อยูกับความสามารถและชนิดของงานนัน้ ๆ ประเภทของแรงงาน ตลาดแรงงานประเทศไทยไดแ ยกประเภทของแรงงาน ดงั นี้ 1. แรงงานประเภทปญญาชน แรงงานประเภทน้ี ไดแ ก ผูท่จี บการศกึ ษาในระดบั อดุ มศกึ ษา มีความรูและมีสติปญญาดีแตไมคอยมีฝมือในวิชาชีพ ในแตละปจะมีแรงงานประเภทน้ีเขาสู ตลาดแรงงานเพิม่ ข้ึน 2. แรงงานไรฝมือ แรงงานประเภทนี้ไมคอยมีปญหานักในอาชีพเกษตรกรรมแตกําลังมี ปญหาในดา นอุตสาหกรรม ทต่ี ลาดแรงงานไมตองการเทาทค่ี วร 3. แรงงานประเภทฝมือ แรงงานประเภทนี้ตองผานการฝกอบรมหรือมีประสบการณ ทาํ งานมากพอสมควร เชน ชา งยนต ชางไม ชา งปูน ชา งไฟฟา เปน ตน 4. แรงงานที่ใชค วามรูความชํานาญพิเศษ แรงงานประเภทน้ีจะตองฝกอบรมมาเปนระยะ เวลานานจดั เปนแรงงานท่ียังขาดแคลน ดังนั้น จึงไมมีปญหาการวางงานปจจุบันรัฐบาลกําลังเร่ิม ผลิตแรงงานประเภทน้ีใหเขาสูตลาดแรงงานมากข้ึน เพื่อใหเพียงพอกับความตองการของ ตลาดแรงงาน แรงงานประเภทน้ี ไดแ ก แพทย วศิ วกร สถาปนิก นกั วิทยาศาสตร เปนตน ตลาดแรงงาน ตลาดแรงงานในประเทศ แบงไดเ ปน 4 ภาค คอื 1. ตลาดแรงงานภาครัฐ ไดแก แรงงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ เชน กระทรวงตาง ๆ การไฟฟาสว นภูมภิ าค องคก ารโทรศพั ทแ หง ประเทศไทย เปนตน 2. ตลาดแรงงานภาคอุตสาหกรรม ไดแก แรงงานในเมืองท่ีประกอบธุรกิจ การผลิต การแปรรูปการผลติ เชน สถานประกอบการ โรงงานตา ง ๆ ธรุ กจิ กอ สราง เปน ตน 3. ตลาดแรงงานภาคเกษตรกรรม ไดแก แรงงานในชนบทที่มีอาชีพทําไร ทํานา ทําสวน และกิจการอ่ืน ๆ ทเ่ี ก่ยี วกบั การเกษตร จดั เปน แรงงานท่ีทํางานไมสม่ําเสมอ อาจมีการวางงานตาม ฤดกู าล หรอื มกี ารทาํ งานตา่ํ กวาระดับท่คี วรจะเปน เชน ในฤดูฝนเกษตรกรจะทําไร ทํานา มีการใช แรงงานมาก แตพ อฤดแู ลง หรือหลงั เก็บเก่ยี วพืชไรห รือขา วแลวกจ็ ะเกิดการวา งงานข้ึน 4. ตลาดแรงงานภาคพาณิชยกรรม ไดแก แรงงานท่ีประกอบการคา หรือการบริการ เชน การคา ขายปลกี -สง การโรงแรม ภตั ตาคาร การธนาคาร ธุรกิจทองเทยี่ ว ธุรกิจสง ออก เปนตน

61 5. การใชส ถานท่ี สถานท่ี หมายถงึ อาคาร บริเวณทีป่ ระกอบอาชีพธุรกิจของผปู ระกอบการ ดงั กลาว 6. การใชท ุน ทุน หมายถึง เงินทุนสวนตัวของเจาของ หรือ เงินจากหุนสวนธุรกิจท่ีตกลงปลงใจจะมา สรา งธรุ กจิ ใหมร ว มกนั นาํ มากองกนั ไวกอ นเร่มิ ตน ทําธุรกิจ ทนุ หมายถงึ ปจจัยในการผลิตท่ีใชในการสรางสนิ คาหรือบริการอื่น ๆ ที่มนุษยเปนผูผลิต และไมเ กิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ สินคาและบรกิ ารนน้ั ๆ จะตอ งไมใชต ัวทุน แมว าทนุ น้นั สามารถที่ จะเสอ่ื มราคาลงได สินคาประเภททุนสามารถรับมาไดโดยใชเงินหรือเงินทุน ในการเงินและการ บัญชี คําวาทุนหมายถึงความมั่งค่ัง โดยเฉพาะความม่ังค่ังท่ีใชในการเปดกิจการ ทุนเปนหนึ่งใน ปจจยั ในการผลติ ปจ จยั อ่นื ๆ รวมไปถงึ ท่ดี ิน แรงงาน และองคกร ผูประกอบการ หรือการบริหาร จัดการ ซ่งึ คุณสมบัตดิ งั ตอไปน้ีจดั วาเปน ทุน 1. สามารถนําไปผลิตสนิ คาอ่ืน ๆ ได อยใู นรูปของปจ จยั ในการผลติ 2. ถูกสรางขึ้นมาอีกทีหน่ึงโดยแตกตางจาก \"ท่ีดิน\" ที่ซึ่งหมายถึง ปจจัยในการผลิตท่ี เกดิ ขึน้ เองตามธรรมชาติ เชน พื้นทท่ี างภมู ศิ าสตร และทรัพยากรทางธรรมชาติ เชนแรธ าตุ 3. ไมไดถูกใชในการผลิตเปนหลักโดยสมบูรณซ่ึงทําใหแตกตางจากสินคากึ่งสําเร็จรูป (ยกเวนคาเสอื่ มราคา) การจดั การกบั การลงทนุ ในธุรกิจ มีความเขาใจกันวาการจัดการกับการลงทุนในธุรกิจเปนส่ิงเดียวกัน เนื่องจากในอดีต การจดั การกับการลงทุนในธุรกิจมีลักษณะทก่ี ลมกลืนกัน ธุรกิจแรกเร่ิมภายในประเทศมาจากธุรกิจ ในครัวเรือนและมีขนาดเล็ก เจาของกิจการตัดสินใจลงทุนประกอบธุรกิจและดําเนินธุรกิจดวย ตนเอง แมภายหลังธุรกิจมีขนาดเติบโตข้ึน เจาของยังคงดําเนินธุรกิจดวยตนเอง ความสัมพันธ ระหวางการจดั การกับการประกอบธุรกิจจึงกลมกลืนกันอยางแนบแนน จนกอใหเกิดความเขาใจ ดังกลาว หากไดมีการวิเคราะหในรายละเอียดอยางแทจริงแลว จะเห็นความแตกตางระหวาง การจัดการกบั การลงทนุ ในธุรกิจ โดยพจิ ารณาถงึ หลกั บุคคล หนา ที่ และวัตถุประสงค ดังน้ี ลกั ษณะ บคุ คล หนาท่ี วัตถุประสงค ตัดสินใจลงทุน ตอ งการผลกําไรจากการ 1. การลงทนุ ในธุรกจิ เจา ของ ลงทนุ ในธรุ กจิ ตัดสนิ ใจจดั การทรัพยากร เพอื่ ใชท รัพยากรตา ง ๆ ไดมี 2. การจัดการ ผจู ดั การ ประสิทธิภาพสงู สุด

62 ตดั สินใจ การจัดการ เจาของ ลงทนุ ในธุรกจิ ผจู ดั การ ตอ งการผลกาํ ไร ใชทรัพยากรอยางมี ประสทิ ธภิ าพ จากตารางและแผนภาพดังกลาว เจาของธุรกจิ ในฐานะผทู ตี่ ดั สินใจเลือกลงทนุ ในธุรกิจ ซึ่ง ตองลงทนุ ในทรพั ยากรตา ง ๆ เพ่อื มงุ หวงั ผลกําไรจากการลงทุน ผูทําหนาท่ีนําทรัพยากรตาง ๆ มา จัดการ คือ ผูจ ัดการ ซึ่งตองรับผิดชอบตอการนําทรัพยากรที่มีอยูมาใชใหเกิดประโยชนสูงสุดตอ ธรุ กจิ ซึง่ จะทําใหธ รุ กิจไดร บั ผลกําไรตามทคี่ าดหวงั ของเจา ของ ในธรุ กิจขนาดใหญการแบงแยกหนาท่ีระหวางเจาของและผูจัดการจะมีความชัดเจน แต สําหรับธุรกิจขนาดยอม เจาของมักจะเขาจัดการธุรกิจดวยตนเอง กลาวคือ เปนทั้งผูลงทุนและ ผูจดั การทรพั ยากรดวยตนเอง 2. การจดั การการตลาด 2.1 การกําหนดทิศทางการตลาด เปนการศึกษาตลาดจากปจ จยั ภายนอกและภายในทาํ ใหผปู ระกอบการวางแผนการตลาดได อยา งมน่ั ใจและสามารถบอกรายละเอียดในการดาํ เนินงานไดอ ยา งชดั เจน การวจิ ัยการตลาดและขอมลู การตลาด การวจิ ัยการตลาดหรือการศึกษาตลาดจะตอ งพิจารณาถึงพฤติกรรมผูบริโภค มีข้ันตอนใน การวจิ ยั ดงั น้ี 1. การศกึ ษาโอกาสหรอื การศกึ ษาตลาด ผปู ระกอบการจะตอ งศกึ ษาใน 2 เรอ่ื ง คือ การศึกษาโอกาสทางการตลาด เปน การศกึ ษาพฤตกิ รรม ผบู ริโภค และการศึกษาสถานการณทาง การตลาด เปนการศึกษาส่ิงแวดลอมภายในและภายนอกของกิจการ ประกอบดวย 1) การศึกษาจดุ แข็ง เปน การศกึ ษาถงึ ขอดีหรือจดุ แข็งของสินคาหรอื บรกิ าร 2) การศกึ ษาจดุ ออน เปนการศึกษาขอเสียหรือปญ หาที่เกิดจากองคป ระกอบทาง การตลาด 3) การศึกษาโอกาส เปน การศกึ ษาขอ ไดเปรียบหรอื สง่ิ ทีเ่ อื้ออาํ นวยใหแกก จิ การ 4) การศึกษาอปุ สรรค เปน การศกึ ษาปญ หา อปุ สรรคทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ 2. การกาํ หนดวตั ถุประสงคทางการตลาด 3. การเลอื กตลาดเปา หมาย 4. การศกึ ษาพฤตกิ รรมผบู รโิ ภค

63 5. การศกึ ษาสวนประสมทางการตลาด ไดแ ก ดา นผลติ ภัณฑ ดา นการสง เสริมการตลาด ดา นแผนการจดั จําหนา ย ดา นแผนราคา 2.2 การหาความตองการของตลาด ความจาํ เปนและความตองการ ความจําเปน หมายถงึ ความตอ งการขัน้ พ้ืนฐาน เปน ตวั ผลักดันใหเกดิ พฤติกรรมเพื่อสนอง ความตองการน้ัน ความตองการในสิ่งจําเปนพื้นฐานในการดํารงชีวิต ไดแก ปจจัย 4 จะเปนส่ิงท่ี สําคัญตอชวี ติ ไมม ไี มไ ด ความตองการ หมายถึง ความตองการอยากได อยากมี อยากเปน แตไมมีก็ไมเดือดรอน แกช ีวิต เปน การแสดงออกหรอื พฤติกรรมท่ตี องการสนองความตองการขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงหลอหลอม จากสภาพแวดลอมและบุคลิกสวนตัว การตลาด หมายถึง กระบวนการวางแผนและการปฏิบัติตามแนวคิด การกําหนดราคา การสงเสริมการตลาด และการจดั จาํ หนา ยสินคา และบริการ เพือ่ สรางใหเ กดิ การแลกเปลี่ยนท่ีทําให ผูบ รโิ ภคไดร ับความสขุ ความพอใจ และบรรลวุ ตั ถุประสงคข ององคกร จดุ สําคัญของการตลาด 1. ทําใหเกิดการเปลยี่ นแปลงที่ทําใหผ ูบ ริโภคไดรับความพงึ พอใจ 2. เปนการแลกเปลี่ยนความคดิ สนิ คา และบรกิ าร ความสําคัญของการตลาด ความสําคญั ตอ บคุ คล 1. สรา งอาชพี 2. อํานวยความสะดวกใหลูกคา ความสาํ คญั ตอ องคก รธรุ กจิ 1. สรา งรายไดใ หอ งคก ร 2. กอใหเ กดิ ธุรกจิ ใหมเ พ่ิมมากข้นึ ความสาํ คญั ตอ เศรษฐกจิ และสงั คม 1. สรา งรายไดใหป ระเทศ หนา ท่ที างการตลาด 1. หนา ที่ท่ีจะทําใหมกี ารโอนกรรมสิทธิ์ของสินคาจากผขู ายไปสผู ูซอื้ 1.1 การซือ้ - หาความตอ งการซื้อ - การเลือกแหลง ซื้อ - การพจิ ารณาความเหมาะสมของสินคา

64 1.2 การขาย เปน การสรางอุปสงค 2. หนา ท่เี กยี่ วกบั การจัดสงสินคา 2.1 การขนสง การขนสงทีต่ นทนุ ต่ํา รวดเรว็ และเหมาะสมกบั สนิ คา 2.2 การจดั เก็บสนิ คา 3. หนา ท่ีอํานวยความสะดวกตาง ๆ 3.1 การเงิน 3.2 ความเสย่ี ง 3.3 สารสนเทศทางการตลาด 3.4 การจัดมาตรฐานและแบงเกรดของสินคา 4. สารสนเทศทางการตลาดและการวิจัยตลาด - เกบ็ รวบรวมขอ มูลทางการตลาดมาใชในการวเิ คราะหและวจิ ัย 5. การเกบ็ รกั ษา - เก็บรกั ษาใหพอกบั ความตองการของลกู คา และไมน านเกนิ ไปจนลา สมยั 6. การจัดมาตรฐานและคณุ ภาพของสนิ คา - ไดม าตรฐานตรงความตอ งการลกู คา 7. การขาย - กระตุนลกู คา ใหซ ้ือสินคาไดมากและเร็วขึ้น ซ่ึงกจิ กรรมหลักไดแ ก 1. การโฆษณา - การใชพ นกั งานขาย 2. การสงเสริมการขาย - การประชาสมั พนั ธ 8. การเงิน - บริหารเงนิ ใหอ ยใู นงบที่ประมาณไว 9. การรับภาระเสยี่ งภยั - หาสาเหตุและหาทางปองกนั ปญ หาทีอ่ าจเกิดข้ึน กิจกรรม ใหผ ูเรยี นบอกหนาทีท่ างการตลาดมอี ะไรบาง อธบิ ายมาพอเขาใจ

65 2.3 การขนสง การขนสง หมายถึง การเคลื่อนยายบุคคล สิ่งมีชีวิตหรือสิ่งของจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยอปุ กรณใ นการขนสง ตามความตอ งการและเกดิ อรรถประโยชน ประเภทของการขนสง คือ การขนสงมีความเจริญกาวหนาและมีพัฒนาการมากยิ่งขึ้น มีวิธีการขนสงใหผูประกอบธุรกิจเลือกหลายวิธี ผูประกอบธุรกิจตองเลือกวิธีการขนสง ใหเหมาะสมกับธุรกิจของตนเอง และสามารถจาํ แนกการขนสงได 5 ประเภท ดังน้ี 1. การขนสง ทางน้ํา คือ การขนสง ทางน้ํา เปน วธิ ีการขนสงเกาแกมีมาแตสมัยโบราณ โดย การใชแมน ํา้ ลําคลองเปนเสนทางลําเลยี งสินคา รวมถึงการขนสงทางทะเล ซ่ึงสวนใหญใชสําหรับ การขนสงสินคาระหวางประเทศ การขนสงทางน้ําน้ีเหมาะสมกับสินคาท่ีมีขนาดใหญขนสงได ปรมิ าณมากเปน สินคาทย่ี ากแกก ารเสยี หาย เชน ทราย แร ขาวเปลือก เครื่องจักร ยางพารา เปนตน สว นประกอบของการขนสงทางนํ้า 1.1 ผูประกอบการขนสงทางนา้ํ 1.2 อุปกรณการขนสง คือ เรือ ไดแ ก เรือโดยสาร เรือสินคา และเรอื เฉพาะกจิ เชน เรือลากจูง เรือประมง 1.3 ทาเรอื 1.4 เสน ทางเดินเรอื สามารถแบง ไดเปน 3 ประเภท คือ - เสน ทางเดนิ เรอื ภายในประเทศ - เสนทางเดินเรือชายฝง ทะเล - เสนทางเดินเรอื ระหวา งประเทศ ขอดี ขอเสยี ของการขนสง ทางน้าํ มดี ังน้ี ขอ ดี 1. อตั ราคาขนสง ถูกกวา เม่อื เทยี บกับการขนสง ทางอ่นื 2. ขนสง ไดปริมาณมาก 3. มีความปลอดภยั 4. สามารถสง ไดร ะยะไกล ๆ ขอเสยี 1. มคี วามลาชา ในการขนสง มาก 2. ในฤดูนาํ้ ลดหรือฤดรู อ น นา้ํ อาจมีนอย ซ่งึ เปนอปุ สรรคตอการขนสง เพราะเรือเกยตืน้ ได 3. ไมส ามารถกําหนดเวลาทแี่ นน อนในการขนสงไดข นึ้ อยกู บั ภมู อิ ากาศ และ ภมู ปิ ระเทศ

66 2. การขนสง ทางบก จาํ แนกเปน 2 ประเภท ไดแก 2.1 การขนสงทางรถไฟ การขนสงทางรถไฟ เปนเสนทางการลําเลียงที่สําคัญที่สุดของ ประเทศไทย ดาํ เนินงานโดยการรถไฟแหง ประเทศไทย ซ่ึงถือวา เปนรัฐวสิ าหกจิ เหมาะสําหรับการ ขนสงสินคาหนกั ๆ ปรมิ าณมากและในระยะทางไกล อัตราคาบริการไมแพง การขนสงทางรถไฟจะ มีกําหนดเวลาออกและถึงจุดหมายปลายทางในระยะเวลาแนนอนและมีความปลอดภัยจาก การเสียหายของสินคา 1) รถปด คือ รถไฟทปี่ ดทกุ ดาน เหมาะสําหรบั การขนสงสนิ คา ท่ีเสียหายงา ยเม่ือถกู แดด ถกู ฝน 2) รถเปด คือ รถไฟที่ไมมีหลงั คา เหมาะสาํ หรับการขนสงสินคาที่ไมเ สียหายเม่อื ถูกแดด ถูกฝน 3) รถเฉพาะกิจ คือ รถไฟท่ีออกแบบสําหรับใชเฉพาะงาน เชน รถบรรทุกน้ํามัน รถบรรทุก ปนู ซเี มนต เปนตน ขอ ดี 1. ประหยดั ขนสงสินคาไดจาํ นวนมากหลายชนดิ 2. รวดเรว็ สามารถขนสงสินคา ไดทนั ตามกาํ หนดเวลาท่ีตอ งการ 3. สะดวก เพราะมีตูหลายชนิดใหเลือกเพ่ือความเหมาะสมกับสนิ คา 4. ปลอดภยั สงู เมอ่ื เทียบกับเสน ทางอน่ื 5. ขนสงไดท กุ สภาพดินฟา อากาศ ขอเสยี 1. ไมสามารถขนสง สนิ คาใหถึงท่ีตองการขนถายได 2. ความยดื หยนุ มีนอย เพราะมีเสนทางตายตวั 3. มคี วามคลอ งตวั นอ ยกวา การขนสง แบบอื่น เพราะมีกฏระเบยี บมาก 4. ไมเ หมาะสมกบั ผูสงสนิ คา รายยอย ปรมิ าณนอ ย 2.2 การขนสง ทางรถยนต หรือรถบรรทกุ การขนสงทางรถยนตหรือทางรถบรรทุก ถือวา เปนหวั ใจของการขนสงทางบก ท้ังน้ีในปจ จุบันรฐั บาลไดม กี ารสรางถนน ขยายถนนเชื่อมโยงระหวาง จังหวัดตาง ๆ ไดอยางทั่วถึง โดยมีกรุงเทพมหานครเปนศูนยกลางการขนสง ซ่ึงการขนสงทาง รถยนตหรือทางรถบรรทุก สามารถแกปญหาในดานการจําหนายสินคาของพอคาไดเปนอันมาก เพราะการขนสง สนิ คาสะดวก รวดเร็ว สามารถสงสินคาไปถึงผูใชไดโดยตรง สวนประกอบของ การขนสงทางรถยนตห รือรถบรรทกุ (1) ผูประกอบการ อาจเปน รัฐหรอื เอกชนดําเนินงานก็ได หรือ เปนการดําเนินงานรวมกันก็ได เชน รถยนตรับจาง (2) อุปกรณในการขนสง ไดแก รถยนต และ รถบรรทกุ (3) ถนน หรอื เสนทางเดินรถ ขอดี 1. บรกิ ารไดถ ึงท่ีโดยไมต องมกี ารขนถา ย

67 2. ขนสงสินคาไดต ลอดเวลาตามความตอ งการของลูกคา 3. สะดวก รวดเรว็ 4. เหมาะกับการขนสงระยะสั้นและระยะกลาง 5. เปนตัวเช่ือมในการขนสงแบบอ่ืนท่ีไมสามารถไปถึงจุดหมาย ไดโ ดยตรง ขอเสยี 1. คา ขนสงสงู เม่ือเทยี บกบั การขนสง ทางรถไฟ 2. มีความปลอดภัยตา่ํ เกิดอบุ ตั ิเหตุบอย 3. ขนสงสินคา ไดปรมิ าณและขนาดจํากัด 4. กําหนดเวลาแนน อนไมได ขึ้นอยกู ับสภาพการจราจรและดนิ ฟาอากาศ 3. การขนสงทางอากาศการขนสง ทางอากาศมคี วามสาํ คญั มากในปจจบุ ันโดยเฉพาะการขนสง ระหวางประเทศเพราะทําการขนสง ไดร วดเร็วกวา การขนสง ประเภทอ่นื ๆ ไมเสยี เวลาในการขนสงนาน สะดวกและปลอดภัย เหมาะกับการขนสงสินคาประเภทที่สูญเสียงาย เชน ผัก ผลไม ดอกไม เปนตน หรือสินคาตองการสั่งจองมาดวยความรวดเร็วแกการใชงาน ถาลาชาอาจเกิดความเสียหายไดไม เหมาะกับสนิ คา ที่มขี นาดใหญ น้ําหนักมากและสนิ คา ราคาถกู ๆ ไมรบี รอนในการขนสง ซ่ึงการขนสง ประเภทนี้ ทาํ ใหธรุ กิจสามารถขยายตัวไดร วดเรว็ ทัง้ ในและตา งประเทศแตคา ใชจา ยแพงกวาการขนสง ประเภทอนื่ สวนประกอบของการขนสงทางอากาศ 3.1 ผูประกอบการ ไดแ ก บรษิ ทั การบนิ ใหบรกิ ารขนสงทั้งผูโดยสารและสินคาท้ังภายใน และระหวา งประเทศ 3.2 อปุ กรณในการขนสง ไดแ ก เคร่อื งบิน แบง เปน 3 ประเภท คือ - เครอ่ื งบินโดยสาร ใหบรกิ ารขนสง ผโู ดยสาร - เครอ่ื งบินบรรทุกสินคา ใหบริการขนสง เฉพาะสินคา - เคร่อื งบนิ แบบผสม ใหบ ริการทั้งผูโดยสารและสินคาภายในลําเดยี วกัน 3.3 เสน ทางบิน คือ เสนทางที่กําหนดจากแหงหน่ึงไปยังอีกแหงหนึ่ง มี 2 ลักษณะ คือ เสนทาง ในอากาศ และเสนทางบนพืน้ ดนิ 3.4 สถานีในการขนสง หรือทาอากาศยาน เปนบรเิ วณทใ่ี ชส าํ หรับการขึ้นลงของเครื่องบิน ประกอบดวย อาคารสถานี ทางว่ิงและทางขับ และลานจอด ขอ ดี 1. สะดวก รวดเรว็ ทีส่ ุด 2. สามารถขนสงกระจายไปทวั่ ถงึ ไดอ ยา งกวางขวางทง้ั ในประเทศ และระหวา งประเทศ

68 3. สามารถขนสง ไปในทองถ่นิ ทก่ี ารขนสง ประเภทอืน่ ไปไมถ งึ หรือไปยากลาํ บาก 4. เหมาะกบั การขนสงระยะไกล ๆ 5. เหมาะกับการขนสงสินคา ทีเ่ สียงาย จาํ เปน ตอ งถงึ ปลายทางรวดเร็ว 6. ขนสง ไดหลายเทีย่ วในแตละวนั เพราะเครือ่ งบนิ ข้ึนลงไดร วดเรว็ ขอเสยี 1. คาใชจ า ยในการขนสงสงู กวา ประเภทอื่น 2. จาํ กัดขนาดและนํา้ หนักของสนิ คาท่ีบรรทกุ จะมีขนาดใหญและน้ําหนักมากไมได 3. บริการขนสง ไดเ ฉพาะเมอื งทมี่ ที าอากาศยานเทา นั้น 4. การขนสง ขนึ้ อยกู บั สภาพภมู ิอากาศ 5. การลงทนุ และคาใชจา ยในการบํารุงรกั ษาอุปกรณสูง 6. มีความเสี่ยงภัยอนั ตรายสูง 4. การขนสงทางทอ เปนการขนสงสิ่งของประเภทของเหลวและกาซผานสายทอ เชน น้าํ ประปา นาํ้ มัน กาซธรรมชาติ เปนตน ซึ่งการขนสงทางทอจะแตกตางกับการขนสงประเภทอ่ืน คอื อปุ กรณท่ีใชในการขนสง ไมตองเคล่อื นที่ โดยเสนทางขนสงทางทออาจจะอยูบนดิน ใตดิน หรือ ใตนาํ้ ขึน้ อยูกับสภาพภมู อิ ากาศ ประเทศแรกทีใ่ ชระบบการขนสงทางทอ คือ ประเทศสหรฐั อเมริกา ใชสําหรับขนสงสินคาประเภทเชื้อเพลิง ปจจุบันประเทศไทยใชระบบการขนสงทางทอสําหรับ สนิ คา ประเภทน้ํามนั เชื้อเพลิงและกา ซธรรมชาติ สวนประกอบของการขนสงทางทอ 4.1 ผูประกอบการ ซึง่ ผูประกอบการท่สี ําคญั ไดแก การปโ ตรเลียมแหง ประเทศไทย (ปตท.) 4.2 อุปกรณใ นการขนสง ไดแก ทอ หรอื สายทอ แบง เปน ทอ หลัก และทอ ยอย 4.3 สถานใี นการขนสง ไดแ ก สถานีตนทาง สถานีปลายทาง สถานีแยก สถานสี บู ดนั ขอดี 1. ประหยัดตน ทนุ เวลาในการขนยา ยสินคา 2. สามารถขนสง ไดท ุกสภาพภูมอิ ากาศ 3. สามารถขนสง ไดไ มจ าํ กัดเวลาและปรมิ าณ 4. มีความปลอดภยั สงู จากการสญู หายหรือลักขโมย 5. กําหนดเวลาการขนสงไดแนนอนชดั เจน 6. ประหยดั คา แรง เพราะใชก าํ ลงั คนนอย ขอ เสยี 1.ใชขนสงไดเ ฉพาะสินคาทเี่ ปนของเหลวหรือกา ซเทา นนั้ 2. คา ใชจา ยในการลงทนุ ครง้ั แรกสูง

69 3. ตรวจสอบหาจุดบกพรองทําไดยาก 4. ทอ หลักท่ใี ชข นสงเม่ือวางแลว เคลื่อนยา ยเปลีย่ นเสน ทางไมได 5. ไมเ หมาะกบั การขนสงในภมู ิประเทศท่มี ีแผนดนิ ไหวบอ ย 5. การขนสง ระบบคอนเทนเนอร การขนสงระบบคอนเทนเนอร เปนการพัฒนาการขนสง อีกข้นั หนึ่ง โดยการบรรจุสนิ คา ท่ีจะขนสงลงในตหู รือกลองเหลก็ ขนาดใหญ ที่เรียกวา คอนเทนเนอร แลวทําการขนสงโดยรถบรรทกุ รถไฟ หรอื เครื่องบนิ ไปยังจดุ หมายปลายทางโดยไมมีการขนถาย สนิ คาออกจากตูร ะหวางทาํ การขนสงเทย่ี วน้นั ชนิดของตคู อนเทนเนอร ซึ่งสามารถแบง ได 3 ชนิด คือ 5.1 ตแู หงหรือตูสินคาทั่วไป เปนตูทึบไมมีแผนฉนวนอยูดานใน ไมมีเคร่ืองทําความเย็น ตดิ ต้งั หนาตู ใชบรรทุกสินคา แหง หรือสินคาทว่ั ไป 5.2 ตูค วบคมุ อณุ หภูมิ แบง ได ดังน้ี - ตหู อ งเย็น จะมเี ครื่องทําความเยน็ ในตู ภายในบุฉนวนทุกดาน เพื่อปองกันความรอน จากภายนอกเขาสูดา นใน นยิ มเก็บผักสด ผลไม - ตูฉนวน ภายในจะบุฉนวนดวยโฟมทุกดานเพื่อปองกันความรอนแผเขาตู นิยม บรรทกุ ผกั - ตรู ะบายอากาศ เหมือนกับตูเย็นแตม พี ัดลมแทนเคร่ืองทําความเย็น พัดลมจะดูดกาซ อีเทอรล นี ที่ระเหยออกจากตวั สนิ คา 5.3 ตูพิเศษ ไดแ ก ตูแ ทง็ กเ กอรหรือตบู รรจุของเหลว ตเู ปด หลังคา ตูแพลตฟอรม ตูเปดขาง ตบู รรทกุ รถยนต ตูบรรทุกหนังเคม็ ตูส งู หรือจมั โบ ประโยชนของระบบตูคอนเทนเนอร 1. ทําใหขนถายสินคา ไดรวดเรว็ 2. ลดความเสียหายของสนิ คา ทข่ี นสง และปอ งกันการถูกโจรกรรมได 3. ประหยดั คา ใชจา ย 4. สามารถขนสง ไดป รมิ าณมาก 5. การส่ังจองเรอื ระวางเพือ่ ขนสงสนิ คา ทําไดส ะดวก 6. ตรวจนบั สนิ คา ไดง าย กจิ กรรม ใหผ ูเรียนอธิบายการขนสง ในทอ งถน่ิ มอี ะไรบา ง พรอ มอธบิ ายขอ ดแี ละขอ เสียมาพอเขา ใจ

70 2.4 การขาย ความสาํ คัญของการขาย ความสาํ คัญของการขายโดยใชพนักงาน เปนเร่ืองที่ผูบริหารธุรกิจจะตองใหความสําคัญ โดยเฉพาะการจดั ทีมหลังการขาย เปาหมายท่ีธุรกิจต้ังไวในการเพ่ิมกําไรจากการขายจะสําเร็จไป ไมไดเลยหากขาดซ่งึ การขาย การขายนีจ้ ะสนองตอบถงึ ความตองการของผบู รโิ ภคอยางใกลชดิ โดย อาศัยพนักงานขาย พนักงานขายจะตองรูจักวิธีการจูงใจลูกคาใหมีความสนใจที่จะซื้อสินคา โดยอาศัยการเขาพบเผชิญหนากับลูกคา โดยตรง ซึง่ งานการขายจดั เปนการตดิ ตอส่อื สารสวนบุคคล โดยมีลกั ษณะของการส่ือสารสองทิศทาง ซึ่งสามารถสงั เกตและรับรูไดจ ากปฏิกิรยิ าตอบสนองของ ลูกคาได ซ่ึงจะแตกตางจากโฆษณาและการสงเสรมิ การขายซ่ึงจัดเปนการส่ือสารทิศทางเดียว โดย พนักงานขายสามารถทําใหธุรกิจบรรลุถึงเปาหมายของธุรกิจไดโดยการทาํ กิจกรรมการขายท่ี แตกตางจากการโฆษณา การโฆษณานั้นมักจะเปนการเรียกรองความสนใจ เสนอขอมูลทาง การตลาดตอกลุม เปาหมายไมไดก ระตนุ ใหเ กดิ การขายโดยตรง ลักษณะท่ัวไปของการขาย หากวิเคราะหลกั ษณะทัว่ ไปของการขาย จะแบงออกได ดังน้ี 1. การขายมลี ักษณะเปนการติดตอส่ือสาร ไมวา จะเปนการขาย โดยพนักงานขาย หรือการ โฆษณา การสงเสริมการขาย หรือการสง เสรมิ การตลาดอน่ื ๆ ก็จัดเปนกจิ กรรมท่มี ลี ักษณะของการ สื่อสารทงั้ สน้ิ เพียงแตจ ะเปน ทิศทางเดียว หรือสองทิศทางเทาน้ัน โดยผูรับสารคือ กลุมของลูกคา ซึ่งจะไดร บั ขอ มลู ขา วสารเกยี่ วกับสินคาหรือบริการเพอ่ื ใชข อมลู ประกอบการตัดสนิ ใจซื้อ 2. การขายมีลกั ษณะของการจูงใจไมใชการบังคบั พนกั งานขายจาํ เปน ตองเขา ใจในตัวของ ลูกคา รูจักจิตวิทยาการขาย ทฤษฎีการโนมนาวจิตใจ โดยเฉพาะสินคาท่ีมีราคาสูงมากก็จะย่ิง ตัดสนิ ใจซื้อยาก ดังน้นั พนักงานขายจะตองใชศิลปะในการขายเพ่ือโนมนา วอยา งมีเหตผุ ล 3. การขายเปนงานที่ชวยแกปญหา พนักงานขายเปนบุคคลท่ีแนะนําใหลูกคาเห็นและ ตระหนักถึงปญหาที่กําลังเผชิญอยู และผลเสียท่ีอาจจะเกิดข้ึนไดหรือเมื่อลูกคามีปญหาพนักงาน ขายควรจะแนะนําวิธีการแกปญหา โดยใชสินคาที่มีคุณภาพเพียบพรอมในการแกปญหาของ ลูกคาคนน้ัน พนักงานขายจะตองเปนผูขจัดปญหาตาง ๆ ของลูกคาใหหมดไปเพ่ือใหลูกคาเกิด ความแนใจและยอมรบั ในสินคาทีถ่ กู แนะนํา 4. การขายมีลักษณะของการใหความรู พนักงานขายเปรียบเสมือนผูใหความรู โดยการ อธบิ าย สาธติ เปรียบเทยี บ และใหความกระจางแกลูกคา ตอบหรือไขขอของใจใหลูกคาไดเขาใจ แจมแจง ไมวาลูกคา จะตดั สนิ ใจซ้อื หรือไม ดงั นั้น การขายจึงเปนการใหค วามรูแ กลูกคาอยา งหน่ึง 5. การขายเปน การใหส ่ิงตอบแทนแกท กุ ฝาย เม่ือเกิดการซ้ือขายสินคาข้ึนตัวพนักงานขาย ของจะไดรับยอดขาย ไดค า คอมมชิ ชนั่ ไดรายไดจาการขายสินคานั้น ธุรกิจเองก็ไดยอดขาย ไดผล

71 กําไรจากยอดขายสนิ คา นัน้ ลูกคา กไ็ ดสนิ คา ที่มีคุณภาพไปสนองความตอ งการ รวมท้ังไดรบั ความรู แปลกใหมจากพนักงานขายดว ย ความสําคญั ของการขาย การขายมคี วามสําคญั ดงั นี้ 1. ชว ยใหเ กดิ ธรุ กิจอตุ สาหกรรมการผลิต ธรุ กจิ อุตสาหกรรมการผลิตจะกอใหเกิดนวัตกรรม ใหม ๆ รวมถึงการพัฒนาสินคา เพอื่ ตอบสนองความตองการของลกู คาอยางแทจ ริง 2. ชว ยใหธรุ กจิ บรรลุผลสาํ เรจ็ คอื ไดยอดขาย ไดกาํ ไร สามารถขยายกิจกรรมใหเจริญเติบโต ตอ ไปได 3. ชว ยใหเกิดการจางงาน ในภาวะที่อัตราการวางงานสูง เชน ปจจุบันงานดานการขายมี บทบาทในการจา งงานอยางตอเนอ่ื ง ทาํ ใหค นมรี ายไดแ ละความเปนอยูดขี น้ึ 4. ชวยลดปญ หาของสังคม โดยเฉพาะปญหาสังคมอ่ืน ๆ ที่เกิดจากปญหาการวางงาน เชน ปญหายาเสพติด ปญหาสขุ ภาพจิต เปน ตน หากคนมงี านทํากจ็ ะสามารถแกปญหาดังกลาวได หนาท่แี ละคุณสมบัตขิ องพนกั งานขาย หนา ทขี่ องพนกั งานขาย พนกั งานขายมีหนาท่ที ตี่ องปฏบิ ัติ ดงั นี้ 1. พนกั งานขายควรมีความรอบรูอยางดี เชน ผลิตภัณฑท่ีเสนอขาย นโยบายและระเบียบ ปฏิบตั ขิ องบริษัท และแผนงานการขาย เปน ตน 2. เปนตวั แทนของบริษทั ในการพบปะกบั ลกู คา เพื่อรกั ษาความสมั พนั ธอันดีระหวางลกู คา และบริษัท บําเพ็ญตนเปนผูบริการท่ีดีตอลูกคา เพ่ือขจัดปญหาขอรองขอของลูกคาเก่ียวกับตัว ผลิตภัณฑแ ละบริการ 3. ปฏบิ ัตหิ นา ทดี่ วยความตั้งใจ เพอ่ื เพ่ิมพนู การขาย หาลูกคาใหม ๆ เพ่ิมข้ึน รายงานความ เคลอื่ นไหว และสถติ ิการขายใหบ รษิ ทั ทราบ 4. ปฏบิ ตั ิตนเปนพนักงานทส่ี มบรู ณข องบริษัท เชน ชวยเหลือเกี่ยวกับการทวงถามหนี้สิน รายงานภาวการณแ ขง ขนั ของตลาดตอบริษทั และเสนอความคิดเหน็ ท่เี ปน ประโยชนต อ บรษิ ทั 5. ใหความรวมมือกับพนักงานทุกฝายของบริษัท เชน แสดงบทบาทในที่ประชุม เสนอ ความคดิ เห็น ใหค าํ แนะนาํ ทถ่ี ูกตองแกเจาหนาที่ฝายอ่ืน ๆ ของบริษัท และรวมงานขายของบริษัท ดว ยความจริงใจ คณุ สมบตั ิของพนกั งานขายทด่ี ี พนกั งานขายทดี่ ี ควรมคี ุณสมบัตทิ ่สี ําคญั ดังน้ี 1. จะตองมคี วามตั้งใจ เอาใจใส มคี วามรบั ผดิ ชอบสูงตอ หนา ท่ีมากกวา เรื่องสวนตวั 2. จะตอ งมีมนุษยสมั พนั ธท ีด่ ี 3. จะตองเปน ผทู ่ีมคี วามสามารถอานเดาใจลกู คาไดถกู ตอ ง

72 4. จะตอ งมคี วามขยนั อดทน 5. จะตองควบคมุ อารมณไดอ ยางดีในทุกสถานการณ ประเภทของงานการขาย งานการขายแบง ออกได 4 ประเภท คอื 1. การขายโดยใชพนกั งานขาย การขายโดยใชพ นกั งานขาย หมายถึง งานขายทีใ่ ชพ นกั งานตดิ ตอกับลูกคาโดยตรงและ พนกั งานขายจะเปนผูท าํ หนาท่โี นม นาวชกั จงู กระตุนใหลูกคาเกดิ การตดั สนิ ใจซือ้ สินคา ซ่ึงอาจทํา ไดโดยไปพบลกู คา ดวยตนเอง ใชโ ทรศพั ทพดู คยุ กับลูกคาโดยตรงดว ยตนเองหรอื ใชจดหมายตดิ ตอ ในลกั ษณะเฉพาะเรอ่ื ง เฉพาะคนไป หากลกู คา สนใจกไ็ ปเขา พบดวยตนเองภายหลัง เชน พนักงาน ขายหนารา น พนักงานขายประกันชวี ติ พนกั งานขายเครอ่ื งสาํ อาง เปน ตน 2. การขายโดยไมใ ชพนกั งานขาย การขายโดยไมใชพนักงานขาย คือ การปฏิบัติการขายในปจจุบันท่ีหลีกเล่ียงการใช พนักงานขายโดยใชสื่อหรือเครื่องจักรทําหนาท่ีแทนพนักงานขาย เพราะสามารถทําใหเกิดการ โนม นาวชกั จงู และรับรไู ดใ นวงท่กี วางขวางครอบคลมุ พื้นท่ีทตี่ อ งการได อีกท้ังยงั รวดเรว็ ประหยัด เงินและเวลาอกี ดวยซงึ่ การขายโดยไมใชพนักงานขายมีหลายแบบ เชน 2.1 การขายโดยใหลูกคาบริการตนเอง การขายแบบนี้รานคาจะจัดวางสินคา บนช้ันในระดบั สายตาเพอ่ื ดงึ ดูดเม่อื ลูกคาเดินเขามาในราน โดยวางใหเปนระเบียบเพ่ือใหลูกคาได หยิบดูหยิบเลือกไดงาย ลูกคาก็จะไปหยิบสินคามาเองโดยไมตองมีพนักงานขายคอยชวยดูแล ชวยเหลือ เมอื่ เปรยี บเทียบและไดส ินคาตามทต่ี อ งการแลวก็จะตองนําสนิ คาไปชําระเงนิ ท่เี คานเตอร พนกั งานเก็บเงิน ไดม กี ารนําระบบนไ้ี ปใชใ นรา นตาง ๆ เชน ซูเปอรมารเกต็ เปน ตน 2.2 การขายโดยใชเคร่อื งจักรอัตโนมัติ ตองอาศยั ตูห ยอดเหรียญและกดปุม เพ่ือให ไดสนิ คาตามท่ตี อ งการ สินคาทจี่ าํ หนา ยมักเปนสนิ คา ที่ลูกคาใชบอยใชประจํา เชน บุหรี่ เคร่ืองด่ืม ขนมขบเคยี้ ว ถุงยางอนามยั เปนตน ดังนั้น จึงควรใหค วามสะดวกแกผซู ้อื ไดต ลอด 24 ช่ัวโมง ไมมี วนั หยดุ และไมจําเปน ตองใชพนักงานขาย ลูกคาคนใดตองการก็หยอดเหรียญตามราคาสินคาแลว กดปมุ สินคาก็จะออกมา สินคาทข่ี ายสวนใหญก็จะเนน สนิ คา ท่ีใชก ันบอ ย ๆ ในชีวิตประจําวัน 3. การขายทางไปรษณยี  ปจ จบุ ันรา นคาปลีกหลายแหงจะเปดแผนกขายปลีกตามคําสั่งซ้ือทางไปรษณีย ซ่ึงเปน แหลงระบายสินคาและเพิ่มปริมาณการขายไดดีวิธีหน่ึง การขายทางไปรษณียเปนการเสนอขาย บรกิ ารเปนสวนใหญ การขายสินคาในลักษณะน้ีมียอดขายท่ีสูงมาก เน่ืองจากขอบเขตการขายไม

73 จํากัด การโฆษณาสามารถเนนท่ีจุดเดนจึงทําใหมีโอกาสท่ีจะขายสินคาใหมากขึ้น และมีความ สะดวกในการสั่งซ้อื ตามใบสัง่ ซอ้ื ท่สี งไปให 4. การขายทางโทรทศั น เดมิ ทีธุรกิจการขายทางโทรทัศน ไมไดร บั ความสนใจเทาใดนักและยังถูกผูขายรายใหญ มองวาเปนเพียงส่ือกลางในการขายสินคาไมมีระดับใหแกบุคคลที่อยูหางไกล ซึ่งไมใช กลุมเปาหมายสําคัญซ่ึงเปนผูท่ีอยูตามเมืองใหญ ความรูสึกเชนน้ีเริ่มลดลง ผูคาปลีกทั่วไปตางก็ ทบทวนแผนการที่จะเปดธุรกิจเชนนี้ โดยผานเครือขายโฮมช็อปปงเน็ตเวิรค โดยลูกคาท่ีสนใจ สามารถสั่งซื้อไดโดยไมตองเสียเวลามาเลือกซื้อดวยตนเอง เพียงแตชมรายการเสนอขายทาง จอโทรทศั นกส็ ามารถสั่งซื้อโดยใชโทรศัพทได การชาํ ระเงนิ สว นใหญก็จะชําระโดยใชเ ครดติ การด ซ่งึ จัดวา เปน ระบบการจัดจาํ หนายที่ตน ทุนตา่ํ ผขู ายไมจําเปนตอ งเปด รา นหรือโชวร ูม ไมจ าํ เปนตอง ตกแตงสถานที่ ไมตองมีรายจายท่ีเกี่ยวกับคาเชา คาใชจายในการสงเสริมการขาย คาโฆษณา การขายทางจอโทรทศั น ผูขายสามารถบอกรายละเอียดสรรพคณุ สีสนั รปู แบบ ความกวางยาวของ สินคา ราคา อยางตรงไปตรงมา พรอมกับหมายเลขโทรศัพทท่ีจะติดตอเทากับผูขายไดทําการ โฆษณาและทาํ การขายสนิ คา ไปในเวลาเดยี วกัน 2.5 การกําหนดราคาขาย ราคา คือ จาํ นวนเงินที่ผูซื้อจาย เพื่อแลกเปลี่ยนกับสินคาหรือบริการที่ผูซื้อเต็มใจชวย ในดานผูขายราคา คือ มูลคาท่ีผูขายกาํ หนดไวสาํ หรับสิ่งที่ตนเสนอขาย พ้ืนฐานในการกาํ หนดราคาขน้ึ อยกู บั 1. ตนทนุ ตน ทุนในการผลิตสินคา เชน วตั ถดุ บิ คา แรงงานในการผลติ ตน ทนุ ทางการตลาด เชน คาโฆษณา คานายหนา 2. สภาพของตลาด 3. คแู ขงขนั 4. กฎหมาย หรือพระราชบัญญตั ิ 5. สภาพทางเศรษฐกจิ สาเหตทุ ่ีทาํ ใหราคาสนิ คา แตกตางกัน สนิ คาทม่ี ีชนดิ แบบ ขนาดเดยี วกนั ราคาแตกตา งกนั เนอื่ งจาก 1. ปริมาณการซือ้ ถา มกี ารซอ้ื มากราคาจะตํา่ ถาซ้อื นอยราคาจะสูง 2. สภาพของผซู ้อื ถา ผูค า สง ผคู า ปลกี ซ้อื ราคาจะตาํ่ ถา ผูบรโิ ภคซื้อราคาจะสูง 3. สภาพภูมศิ าสตร ถา ระยะทางใกลร าคาตํา่ ระยะทางไกลราคาสงู เพราะตอ งเพ่ิมคา ใชจ าย ในการขนสง

74 กจิ กรรม ประเภทของการขายมกี ่วี ิธี พรอมอธบิ ายขอดี ขอ เสยี มาพอเขา ใจ นโยบายและกลยุทธก ารต้งั ราคา 1. แบบราคาเดยี่ ว เปน ราคาสินคาท่กี ําหนดราคาเดียวกัน ไมวาจะซื้อจํานวนมากหรือนอย ซื้อประจาํ หรอื ไมก ข็ ายในราคาเดยี วกัน เชน ราคาสินคา ตามหางสรรพสินคา 2. ราคาลอใจ เปน การตง้ั ราคาสนิ คา ใหถ กู หรอื บางครงั้ อาจจะยอมขาดทุนเพ่ือจูงใจใหคน เขา รา น โดยจะมีสินคาที่ตั้งราคาประเภทน้ีเพียงไมก่ีรายการสวนมากเปนสินคาท่ีลูกคาใชประจํา และรจู ักโดยทั่วไป 3. การตั้งราคาตามหลักจติ วทิ ยา - การตงั้ ราคาที่แสดงถึงช่ือเสียง หรือสัญลักษณของสินคา คือ การตั้งราคาใหสูง เพอื่ เปน การยกระดบั คณุ ภาพของสินคา - การตั้งราคาตามความเคยชินหรือตามประเพณีนิยม เชน ราคาที่ลูกคาเคยซื้อมา กอ น - การตง้ั ราคาเลขค่ี เชน 29, 39, 49 และการต้งั ราคาราคาเลขคู เชน 24, 32, 50 4. การตัง้ ราคาระดบั สงู และการตั้งราคาระดบั ตา่ํ - การกาํ หนดราคาไวใหสูงในระยะเร่มิ แรกเพื่อจะสามารถลดราคาไดใ นระยะหลัง กําไรสงู ทําใหส ินคาดมู ีคุณคา นยิ มใชก ับสินคาพวกแฟช่ัน เชน เสือ้ ผา - การต้งั ราคาต่าํ ไวใ นระยะเร่มิ แรก หรือการตัง้ ราคาแบบเจาะตลาด เพือ่ เขาสตู ลาด ไดง า ย ต้งั ขายไดง า ย สามารถขึ้นราคาในระยะหลังได ถาผูซื้อติดใจ ยอดขายสูง นิยมใชกับสินคา เพอื่ การบรโิ ภค 5. สวนลด - สว นลดปริมาณ คือ การลดราคาใหใ นกรณีท่ซี อื้ ในปรมิ าณมากขึน้ - สว นลดการคา เชน การคา สงลดใหมากกวาการคา ปลีก - สวนลดเงนิ สด เปนการลดใหในกรณีทจี่ า ยเงินสดภายในเวลาท่กี ําหนด 6. การต้ังราคาตามภมู ศิ าสตร - F.O.B. คอื ราคาทรี่ วมคา ใชจ ายทง้ั ส้นิ จนสินคาไปอยบู นเรอื - C&F คอื ราคาสินคาทร่ี วมคาใชจ า ยท้ังสนิ้ ณ สินคาอยูบนเรือและรวมถงึ คา ระวางขนสงสนิ คา - C.I.F. คอื ราคาสินคาทรี่ วมคา ใชจา ยทงั้ สิน้ จนสินคาอยูบ นเรือรวมคาระวางและ คาประกนั สินคา

75 2.6 การทําบญั ชปี ระเภทตาง ๆ บัญชรี ายรบั - รายจาย คือ แบบบนั ทกึ รายการรับ หรอื จา ย ที่เกิดขน้ึ จรงิ โดยบัญชรี ายรบั - รายจา ย จะมสี ว นประกอบ ดงั น้ี 1. ชอื่ บัญชีรายรบั - รายจาย 2. วนั เดือน ป ที่เกดิ รายรบั หรือรายจา ย 3. รายการรบั เงนิ หรอื จา ยเงนิ 4. จาํ นวนเงนิ ที่รับ หรือจายจรงิ 5. ยอดรวมรายรับ และรายจายท้งั หมด 6. ยอดรวมรายรับ และรายจา ยทัง้ หมด 7. ยอดเงนิ คงเหลอื เมือ่ รายรับสงู กวา รายจา ย ตัวอยา งการจัดทําบัญชรี ายรบั - รายจาย ประจําเดอื น มนี าคม 2553 วนั เดอื นป รายการ รายรบั รายจาย คงเหลอื 29 ก.พ. 53 1 มี.ค. 53 เงินเดือน 5,000.- 3,500 - 3,400 - 15 ม.ี ค. 53 คา เชาบา น 1,500 - 3,390 - 3,240 - 31 ม.ี ค. 53 คา อาหาร 100 - 3,000 - คารถ 2,950 - คา อาหาร 10 - 2,920 - คาเส้ือผา 150 - คา อาหาร 240 - คา รถ 50 - 30 - รวม 5,000.- 2,080 - 2,920 -

76 บัญชเี งินสดจัดประเภท คือ การบันทกึ รายการ ทัง้ รายรบั รายจายท่ีเกดิ ขึ้นจริง โดยจะนาํ รายรับ-รายจาย ไปบนั ทกึ แยกประเภทไว วนั เดอื นป รายการ รายรับ รายจาย เครอื่ ง อาหาร นันทนา กจิ กรรม เบด็ แตงกาย กลางวัน การ โรงเรยี น เตล็ด 31 มี.ค. 53 เงินประจําสปั ดาห 100 - เงินรายไดพ เิ ศษ 100 - คาอาหาร 10 - 10 - คาสมดุ 5- 5- 1 เม.ย. 53 คาอาหาร 10 - 10 - คาเขม็ ลกู เสือ 5- 5- 3 เม.ย. 53 คาอาหาร 10 - 10 - คา บัตรดดู นตรี 50 - 50 - 4 เม.ย. 53 คา อาหาร 10 - 10 - คารถ 10 - 10 - 5 เม.ย. 53 คาอาหาร 10 - 10 - คาเขม็ ขดั 30 - 30 - 6 เม.ย. 53 คา อาหาร 10 - 10 - คา บรจิ าคทาํ บญุ 5- 5- คาปากกา 5- 5- 7 เม.ย. 53 คาอาหาร 10 - 10 - รวม 200 - 180 - 35 - 70 - 50 - 10 - 15 - ยอดเงินคงเหลือยกไป 20 - 200 - 200 - ประโยชนของการทาํ งบประมาณและการบนั ทึกบญั ชรี ายรบั - รายจาย 1. ทาํ ใหม ีแผนจัดการรายรบั - รายจา ยทีม่ ปี ระโยชนแ ละตองการจําเปน 2. ทําใหม หี ลักฐานในการรบั และจา ยเงินอยางเปนระบบระเบยี บ 3. ชวยลดปญหาการใชจ า ยเงนิ มากกวารายรับ 4. ชว ยใหส ามารถจดั สรรเงนิ ออกไวใ ชในยามฉกุ เฉนิ ได 5. สามารถเปรียบเทียบงบประมาณกับบัญชรี ายรับ - รายจาย เพ่ือนาํ ผลไปปรับปรงุ เพ่ือ การวางแผนการใชจายเงินคร้ังตอไป 6. ชวยใหเ ปน คนมเี หตุผลและรูจ กั คาของเงนิ มากขนึ้

77 เรอ่ื งที่ 6 คุณธรรม จรยิ ธรรม คณุ ธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชีพ คุณธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชีพ นับวามีผลตอความมั่นคงของอาชีพ ผูขายกับ ผูซ้ือจะตองมีคุณธรรม จริยธรรมตอกัน จึงจะคาขายรวมกันไดเปนเวลานาน คณุ ธรรม หมายถงึ สภาพคณุ งามความดี จรยิ ธรรม หมายถึง ธรรมทเ่ี ปน ขอ ประพฤตปิ ฏิบตั ศิ ลี ธรรม คุณธรรม จริยธรรม หมายถึง การประพฤติปฏิบัติที่ดี ที่ชอบ ท้ังกาย วาจา และใจ การประพฤติปฏิบตั ิเปนไปดวยความจรงิ ใจ ไมแสแสรง เปน ไปโดยธรรมชาติของแตล ะบคุ คล คณุ ธรรม จริยธรรม ท่ตี องการในการประกอบอาชีพที่คนสวนใหญยอมรับวาเปนความดี ไดแก พฤติกรรม ดงั นีค้ อื ความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบ หมายถึง ความสาํ นกึ ในหนาที่ ไมทอ กับงาน สามารถปฏิบัติงานไดสําเร็จ ยอมรับผลแหงการกระทํา จะตองเปนคนท่ีเอาใจใสรอบคอบในการทํางาน มีความตั้งใจจริง มีพันธะผูกพันในการจะปฏิบัติหนาที่การงานของผูรวมงานใหเปนไปตามเปาหมายขององคกร เน่ืองจากบุคคลตองอยูรวมกันทํางานในองคกร จําเปนตอ งปรบั ลกั ษณะนิสัย เจตคติของบุคคลเพ่ือ เปน เครอ่ื งผลักดันใหปฏิบัติงานตามระเบียบ รูจักเคารพสิทธิของผูอื่น ปฏิบัติงานในหนาที่ท่ีตอง รบั ผดิ ชอบและมีความซอ่ื สตั ยสุจริต คนทีม่ ีความรบั ผดิ ชอบ จะทําใหการปฏิบตั ิงานไปสูเ ปาหมายที่ วางไว และชวยใหก ารทํางานรวมกันเปน ไปดว ยความราบรื่น ความรบั ผดิ ชอบจึงเปน ภาระผูกพันท่ี ผนู ําตองสรางขึน้ เพ่ือใหองคก รสามารถบรรลุเปาหมายไดอยางดี ถาในองคกรใดมีบุคคลท่ีมีความ รับผดิ ชอบ จะทําใหเกดิ ผลดีตอ องคกรดงั น้ี คือ 1. องคกรจะไดรบั ความเชอื่ ถือและไววางใจจากผรู ว มงานและผูอนื่ 2. การปฏิบัติงานจะพบความสําเร็จทันเวลาและทันตอเหตุการณ ภายใตสถานการณท่ี เปล่ยี นแปลงตลอดเวลา 3. ทาํ ใหเกดิ ความเช่อื ถอื ในตนเอง เพราะปฏบิ ัตหิ นาทไ่ี ดอยา งเรยี บรอย 4. องคก รเกดิ ความม่ันคงเปน ทยี่ อมรบั นับถอื จากผูอน่ื 5. องคกรประสบความสาํ เรจ็ สามารถพัฒนาไปสคู วามเปน ปก แผน และม่ันคง 6. สามารถปฏบิ ัตงิ านไดอยางราบรนื่ ทกุ คนใหค วามรวมมอื เปน อยา งดี จรรยาบรรณและคณุ สมบัติของผปู ระกอบธรุ กจิ แนวคิดสําคญั ธุรกจิ เปน กจิ กรรมทม่ี ีความสมั พันธกับหลายองคกรโดยเฉพาะผูบริโภค เพราะธุรกิจตอง อาศัยผูบรโิ ภคซอ้ื สินคาและบริการ ในขณะเดยี วกนั ผบู ริโภคตอ งอาศัยหนวยธุรกจิ ตา ง ๆ ผลิตสินคา

78 และบริการเพ่ือสนองความตองการของตน ผูประกอบธุรกิจจําเปนตองมีจรรยาบรรณ ซึ่งรวมถึง ความซื่อสัตยสุจริต มีจิตสํานึก และมีความรับผิดชอบตอผูเกี่ยวของ หากนักธุรกิจมีจรรยาบรรณ และคุณสมบัติอืน่ ๆ ที่เหมาะกับลกั ษณะงานอาชพี ของตนในการดาํ เนินธุรกิจแลว เช่ือไดว าธุรกิจนน้ั ๆ จะประสบผลสําเร็จอยางแนนอน ความสาํ คญั ของจรรยาบรรณ ผปู ระกอบธุรกิจหรือนักธุรกจิ เปนผูประกอบอาชีพที่มีบทบาทสําคัญในการพัฒนาสังคม และเศรษฐกิจ ดังน้นั นกั ธรุ กิจจงึ จําเปน ตอ งปฏบิ ัติตนใหเปนแบบอยางที่ดี เพื่อใหเกิดความศรัทธา และเกิดการยอมรับของสังคมตอวิชาชีพนี้ จรรยาบรรณของผูป ระกอบการ มดี งั น้ี 1. จรรยาบรรณตอลกู คา ลกู คา หรือผบู ริโภค เปนกลุมบุคคลทส่ี ําคญั ท่ีสดุ ท่ีจะทําใหธ รุ กจิ สามารถดํารงอยูไดเพราะลูกคา เปนผูซ้ือสินคาหรือใชบริการที่ธุรกิจผลิตออกมา ทําใหธุรกิจมีรายได กอใหเกิดกําไรและทําให ธรุ กิจสามารถเจริญเติบโตได ดงั นัน้ ผปู ระกอบธุรกิจจงึ จะตอ งปฏบิ ตั ิตอลกู คาอยางซอ่ื สตั ยและเปนธรรม ผูป ระกอบธุรกิจพึงปฏิบัตติ อลูกคา ดงั นี้ 1. ขายสนิ คาและบรกิ ารดว ยความยตุ ธิ รรม คอื ขายดวยราคาตามความเหมาะสมกับคุณภาพ ของสนิ คา และบรกิ ารใหแ กลูกคา และมคี วามรบั ผดิ ชอบตามภาระผูกพนั ท่ไี ดต กลงกนั ไว 2. ละเวนการกระทําใด ๆ ที่จะทําใหสินคามีราคาสูงข้ึนโดยไมมีเหตุผล เชน การกักตุน สินคาเพอ่ื ทําใหส นิ คา ขาดแคลน และมรี าคาสูงขนึ้ 3. ใหบ รกิ ารแกล กู คา ทกุ คนอยางเทา เทียมกนั ไมม กี ารเลือกปฏิบัติ โดยใหโ อกาสแกลูกคา ท่ี จะซือ้ สนิ คาหรือบริการไมว า จะในสภาวะใดก็ตาม เชน ในภาวะท่สี นิ คาขาดตลาด 2. จรรยาบรรณตอคแู ขง ขนั ในเชงิ ธรุ กจิ การประกอบธุรกิจทุกประเภท จะมีผูประกอบการมากกวาหนึ่งราย ดังน้ัน การประกอบ ธุรกจิ จงึ ตอ งมีการแขงขันกันเพื่อพยายามทําใหธุรกิจของตนเองเจริญกาวหนา การแขงขันจึงเปน การชว ยพัฒนาธรุ กจิ เปน ส่งิ ทพ่ี สิ ูจนความสามารถของผูประกอบธุรกิจ ผปู ระกอบธรุ กิจพงึ ปฏบิ ตั ติ อคแู ขงขันในเชงิ ธรุ กิจ ดงั น้ี 1. ไมก ลั่นแกลงคแู ขงขนั เชน ใหร ายคแู ขง ขนั เพ่อื ใหค ูแขง ขนั เสยี โอกาสในการดาํ เนนิ การ และตัดราคาเพือ่ แยงสนิ คา 2. ชวยกนั สรางสรรคส่ิงที่ดีงามใหเกิดแกสังคม เชน รวมกันปองกันทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ ม 3. ไมค น หาความลบั ของคแู ขง ขันในเชิงธรุ กจิ โดยใชวิธกี ารทม่ี ิชอบ 4. พึงหลกี เลี่ยงการกระทําใด ๆ ทจี่ ะบัน่ ทอนชอื่ เสียงตอ สินคา หรือบรกิ ารของคแู ขง ขนั

79 3. จรรยาบรรณตอหนว ยราชการ ผปู ระกอบธุรกิจมคี วามจาํ เปน ตองติดตอ กบั หนวยงานของราชการ ซึ่งเปนหนวยหนึ่งของ สังคม เชน การเสียภาษี การจดทะเบยี นธรุ กิจตาง ๆ ดงั น้ัน ควรเขา ใจในแนวทางปฏิบัติท่ถี ูกตองตอ หนว ยราชการ ผปู ระกอบธรุ กจิ พงึ ปฏบิ ตั ิตอ หนวยราชการ ดงั นี้ 1. ปฏบิ ตั ติ ามกฎขอ บังคบั ของหนวยราชการ 2. ใหค วามรวมมอื กับหนวยราชการ ตามหนา ที่พลเมอื งดี 3. ละเวนจากการตดิ สนิ บนเจา หนาท่ี 4. มีทัศนคติที่ดแี ละถกู ตองตอ หนว ยงาน 4. จรรยาบรรณตอพนกั งาน พนักงานเปนทรัพยากรที่มีคาของผูประกอบธุรกิจ การท่ีผูประกอบธุรกิจมีพนักงานท่ี ขยันขันแขง็ มีความซอื่ สตั ย จะทาํ ใหธุรกจิ ดาํ เนนิ ไปไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ ผูประกอบธรุ กจิ พึงปฏบิ ตั ติ อพนกั งาน ดังน้ี 1. ใหคาจางและผลตอบแทนที่เหมาะสมกับความรู ความสามารถของพนักงานไมเอารัด เอาเปรียบพนักงาน 2. ใหก ารพฒั นาพนกั งาน โดยการจัดฝก อบรมเพ่ือใหพนกั งานไดร ับความรูเทคโนโลยีใหม ๆ เปน การเพมิ่ ประสิทธิภาพของการทํางาน 3. จัดสภาพการทํางาน สถานที่ทํางานใหถูกสุขลักษณะ มีความปลอดภัยตอสุขภาพและ ชวี ิตของพนักงาน พรอ มท้ังจัดหาเคร่อื งปอ งกันภัยอันจะเกดิ ขน้ึ ไดจ ากการปฏิบตั ิหนาทีเ่ พราะสภาพ การทํางานท่ีดจี ะเพ่ิมประสทิ ธิภาพในการทาํ งาน และทาํ ใหพ นกั งานมขี วัญกําลังใจในการทํางาน 4. ใหความเปนธรรมและเทาเทยี มกนั แกพนักงานทุกคนในการปกครองและการพิจารณา ความดีความชอบ 5. ใหโอกาสในการแสดงความสามารถของพนกั งานแตล ะคน 6. ใหค าํ แนะนาํ ใหค วามชวยเหลอื ท้ังในเรื่องการทํางานและเร่อื งสวนตวั ตามความเหมาะสม 7. พึงปลกู ฝง แนวความคดิ วาการประพฤติตนใหอยใู นระเบียบวินัยเปนส่ิงทดี่ ีงาม 5. จรรยาบรรณตอ สงั คมและสภาวะแวดลอ ม เน่ืองดวยสังคมประกอบดวยบุคคลตาง ๆ เปนจํานวนมากแตละคนก็มีความแตกตางท้ัง อุปนิสัย การศึกษา ศาสนา ดังน้ัน สังคมจะสงบสุขไดตองอาศัยความรวมมือรวมใจ ทุกคนตอง ชวยกันสรางสรรคสังคม ผูประกอบธุรกิจก็เปนสวนหนึ่งของสังคม ดังน้ัน จึงมีความจําเปนท่ี จะตองรับผดิ ชอบตอ สงั คมเพือ่ มีสวนรว มทําใหส ังคมกาวหนา ตอ ไป

80 ผูป ระกอบธรุ กจิ พึงปฏบิ ัติตอ สงั คมและสภาวะแวดลอ ม ดงั น้ี 1. ละเวน การประกอบธรุ กจิ ท่กี อใหเกดิ ความเสอื่ มเสยี ตอสังคมและสภาวะแวดลอมท้ังดา น ศลี ธรรม ความเปน อยู และจติ ใจ เชน การเปด บอ นการพนนั สถานเริงรมยที่มกี ารจําหนายยาเสพตดิ สถานเรงิ รมยท่ีมีการคา ประเวณี การรับซ้อื ของผดิ กฎหมาย 2. ละเวนการประกอบธุรกิจที่ทําลายทรัพยากรธรรมชาติและสภาวะแวดลอม เชน การ ประกอบธรุ กจิ แลว ปลอ ยนํ้าเสยี จากการผลิตลงในแมน้ําลําคลอง การประกอบธุรกิจท่ีมีการปลอย ควันหรอื ฝนุ ละอองฟงุ กระจายอยูใ นบรรยากาศ การตดั ไมท าํ ลายปา การรกุ ล้าํ ที่สาธารณะ 3. ใหความรวมมือทุกฝายชวยสรางสรรคสังคม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตใหแกสังคม เชน การสงเสริมการศึกษา ใหทนุ การศึกษา สงเสริมการวจิ ัย ใหบริการแกสงั คม 4. ใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสิทธิภาพที่สดุ ไมทําลายทรัพยากรธรรมชาติ เชน ไม ประกอบการประมงในฤดแู ละเขตหา มทําการประมง 5. พยายามหาวิธสี รางสิง่ ทดแทนทรัพยากรธรรมชาติ นําสงิ่ ทใี่ ชแลว มาปรับปรุงใชอีก เชน การนาํ หนงั สือพมิ พหรือกระดาษท่ใี ชแลว มาทาํ เปนกระดาษใหม 6. พึงรักษาและปรับปรุงมาตรฐานในการประกอบการเพื่อขจัดอันตราย อันอาจสง ผลกระทบตอ สภาวะแวดลอม 7. พงึ ประกอบธรุ กจิ ผลติ สินคาหรอื บริการที่เหมาะสมกับสภาวะแวดลอมและเปนสิ่งที่มี ประโยชนตอ สงั คมและมนษุ ยชาติ กจิ กรรม ใหผูเ รยี นกาํ หนดคณุ ธรรม และจริยธรรมในการประกอบอาชพี ดา นเกษตรกรรม อธบิ าย พอเขา ใจ เรอ่ื งที่ 7 การอนุรักษพ ลงั งานและส่ิงแวดลอ มในชมุ ชน สังคม ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวีป ไดแ ก ทวปี เอเชยี ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมริกา ทวปี ยุโรป และทวปี แอฟรกิ า แนวคดิ ทรัพยากรเปน ปจ จยั ที่สําคญั ในการประกอบอาชพี ทรพั ยากร แบงเปน 2 ประเภทใหญ ๆ คอื ทรัพยากรธรรมชาติ และทรพั ยากรในการประกอบการ การใชทรัพยากรธรรมชาติ ตองคํานึงถึงความหมดเปลือง และการใชทรัพยากรทดแทน การอนรุ ักษพลังงานและส่ิงแวดลอ มในชมุ ชน สังคม ประเทศ และ ภมู ิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวปี ออสเตรเลีย ทวปี อเมริกา ทวปี ยุโรป และทวีปแอฟริกา

81 “พลงั งาน หมายถึง ความสามารถในการทาํ งานซ่ึงมอี ยูในตวั ของสิง่ ทีอ่ าจใชงานไดโดยการ ทาํ ใหว ตั ถหุ รือธาตเุ กิดความเคลือ่ นท่หี รอื เปลย่ี นรูปแบบไปได การท่ีวัตถุเคล่ือนท่ีจากท่ีหน่ึงไปยัง อีกที่หนึ่งไดก็เพราะมีแรงหรือพลังงานเขาไปกระทําพลังงาน หรือความสามารถในการทํางาน นอกจากสิง่ มชี วี ติ จะใชพลงั งาน ซ่งึ อยใู นรปู ของสารอาหารในการดํารงชีวิตโดยตรงแลว สิ่งมีชีวิต ยงั ตองใชพลงั งานในรูปแบบลักษณะอื่น ๆ ที่เก่ียวกับการดํารงชีวิตประจําวันอีกในหลายรูปแบบ เชน ทางดานแสงสวา ง ความรอน ไฟฟา เปนตน ความหมายของทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ ม เพือ่ ใหเกดิ ความเขาใจท่ีชัดเจน เราสามารถแยกการใหค ําจาํ กัดความได ดงั น้คี อื สง่ิ แวดลอม หมายถึง ส่ิงตา ง ๆ ท่อี ยูรอบตัวเรา ทง้ั สิง่ ทีม่ ชี ีวติ สิ่งไมมชี ีวติ เห็นไดดวยตาเปลา และไมส ามารถเหน็ ไดด ว ยตาเปลา รวมท้งั ส่ิงทีเ่ กิดขน้ึ โดยธรรมชาติและส่ิงท่ีมนุษยเปนผูสรางข้ึน หรืออาจจะกลาวไดว า สงิ่ แวดลอมจะประกอบดวยทรพั ยากรธรรมชาติและทรัพยากรที่มนุษยสรางขึ้น ในชวงเวลาหนึง่ เพอื่ สนองความตอ งการของมนษุ ยนนั่ เอง - สิ่งแวดลอ มทีเ่ กิดขนึ้ โดยธรรมชาติ ไดแ ก บรรยากาศ นํา้ ดิน แรธ าตุ และสิง่ มีชีวิตท่ีอาศัย อยูบ นโลก (พชื และสัตว) ฯลฯ - ส่ิงแวดลอ มที่มนษุ ยสรา งขนึ้ ไดแก สาธารณูปการตาง ๆ เชน ถนน เข่อื นกัน้ นํา้ ฯลฯ หรือ ระบบของสถาบนั สังคมมนษุ ยท ่ดี าํ เนินชวี ิตอยู ฯลฯ ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งตาง ๆ (ส่ิงแวดลอม) ท่ีปรากฎและเกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาตแิ ละมนษุ ยส ามารถนาํ มาใชป ระโยชนได เชน บรรยากาศ ดิน น้ํา ปาไม ทุงหญา สัตวปา แรธาตุ พลงั งาน และกาํ ลังแรงงานมนุษย เปน ตน ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ การแบงประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ มีการแบงกันหลายลักษณะแตในที่น้ีจะขอแบง ทรพั ยากรธรรมชาติ โดยใชเ กณฑของการนาํ มาใช โดยแบง ออกเปน 4 ประเภท ดังน้ี 1. ทรพั ยากรธรรมชาติทีใ่ ชแลวไมหมดส้นิ เปนทรพั ยากรธรรมชาติที่เกิดข้ึนมากอนท่ีจะมี มนุษย เม่ือมนษุ ยเ กิดขึ้นมาสิ่งเหลา นก้ี ม็ ีความจําเปน ตอ การดํารงชีวติ ของมนษุ ย 2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใชแลวทดแทนได เปนทรัพยากรธรรมชาติท่ีใชไปแลว สามารถ เกิดขึ้นทดแทนได ซึ่งอาจเร็วหรือชาขึ้นอยูกับชนิดของทรัพยากรธรรมชาติประเภทน้ัน ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีใชแลวทดแทนได เชน พืช ปาไม สัตวปา มนุษย ความอุดมสมบูรณของดิน คุณภาพของนํ้า และทศั นยี ภาพท่ีสวยงาม เปน ตน 3. ทรัพยากรธรรมชาติท่ีสามารถนํามาใชใหมได เปนทรัพยากรธรรมชาติจําพวกแรธาตุ ชนดิ ตา ง ๆ ทนี่ ํามาใชแ ลวสามารถนาํ ไปแปรรูปใหกลบั ไปสสู ภาพเดิมได แลวนํากลับมาใชใหมอีก เชน แรโ ลหะ แรอโลหะ ไดแ ก เหลก็ ทองแดง อลูมิเนียม แกว ฯลฯ

82 4. ทรัพยากรธรรมชาตทิ ใ่ี ชแ ลวหมดส้ินไป เปนทรพั ยากรธรรมชาติที่นํามาใชแลวจะหมด ไปจากโลกนี้ หรือสามารถเกิดข้ึนทดแทนได แตตองใชระยะยาวนานมาก ทรัพยากรธรรมชาติ ประเภทนี้ ไดแก น้ํามันปโ ตรเลยี ม กาซธรรมชาติ และถานหิน เปนตน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง การใชทรัพยากรธรรมชาติดวยวิธีการที่ฉลาด เหมาะสม โดยใชอ ยางประหยดั ใหเ กดิ ประโยชน และเกิดคณุ คา มากทีส่ ดุ รวมท้ังการปรับปรุงของ เสยี ใหนาํ กลับมาใชใหม เพอ่ื ใหเกดิ การสูญเสียนอ ยทส่ี ดุ การอนุรักษส่ิงแวดลอม หมายถึง การใชสิ่งแวดลอมอยางชาญฉลาดไมใหเกิดพิษภัยตอ สงั คมสว นรวม ดาํ รงไวซงึ่ สภาพเดมิ ของส่ิงแวดลอมทางธรรมชาติ และส่ิงแวดลอมท่ีมนุษยสรางขึ้น รวมทั้งหาทางกําจดั และปอ งกนั มลพษิ สิ่งแวดลอม การอนรุ ักษพ ลงั งาน หมายถงึ การใชพลังงานใหเ กิดประสิทธิภาพสูงสุด มีการพัฒนาและ นําพลังงานจากแหลง ใหม ๆ มาใชเ พอ่ื ทดแทน และมีการปอ งกันการสูญเสยี พลังงาน วิธีการอนรุ กั ษพ ลังงาน พอสรปุ ไดดงั นี้ 1. หาแหลงพลงั งานทดแทน 2. การวจิ ัยและพฒั นาพลงั งาน 3. การเผยแพรค วามรูส ูส ังคม 4. การประหยดั พลงั งาน กจิ กรรม ใหผ ูเ รยี นสาํ รวจทรพั ยากรธรรมชาตใิ นทองถิ่นมีอะไรบา ง

83 บทที่ 2 ชอ งทางการพัฒนาอาชีพ สาระสาํ คัญ การเปล่ยี นแปลงทางดา นสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และสิ่งแวดลอม ความเจริญกาวหนา ทางเทคโนโลยีมีผลตอ ความเปนอยู และการประกอบอาชพี ดงั น้ัน จงึ จาํ เปน ตองศึกษาและวิเคราะห ความเปนไปไดใ นการพัฒนาอาชีพ เพื่อใหมองเห็นชองทางในการพัฒนาอาชีพไดอยางเหมาะสม กับตนเองโดยการกําหนดวิธีการและข้ันตอน ดวยการพิจารณาถึงความเปนไปได และจัดลําดับ พรอมท้งั ใหเ หตผุ ลในการพัฒนาอาชพี ได ตวั ช้วี ดั 1. อธบิ ายความจาํ เปนในการมองเหน็ ชอ งทางในการพฒั นาอาชีพไดอยา งเหมาะสมกบั ตนเอง 2. ศึกษาอาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวีป ออสเตรเลยี ทวีปอเมริกา ทวีปยโุ รป และทวีปแอฟรกิ า เพื่อวิเคราะหความเปนไปไดในการพัฒนา อาชีพ 3. กําหนดวิธีการและข้ันตอนการประกอบอาชีพโดยพิจารณาความเปนไปไดของการ พัฒนาอาชพี และจดั ลาํ ดับ พรอมทง้ั ใหเหตผุ ลในการจดั ลาํ ดบั การพัฒนาอาชีพทกี่ าํ หนด ขอบขายเนือ้ หา เรื่องท่ี 1 ความจาํ เปน ในการมองเห็นชองทางเพ่ือพัฒนาอาชีพ เรอ่ื งที่ 2 ความเปน ไปไดใ นการพัฒนาอาชพี เร่ืองที่ 3 การกําหนดวิธกี ารพัฒนาอาชพี พรอ มเหตผุ ล

84 เร่อื งท่ี 1 ความจาํ เปนในการมองเห็นชองทางเพื่อพฒั นาอาชีพ การท่ีคนเราจะประสบความสําเร็จในอาชีพไดน้ัน มิใชวาเปนส่ิงท่ีทํากันไดงาย ๆ แต จะตอ งมกี ารสาํ รวจขอเท็จจรงิ มีการวางแผน กาํ หนดเปา หมายที่ตอ งการ เขียนโครงการทจ่ี ะทําและ ปฏบิ ตั ติ าม ขณะทโ่ี ครงการกม็ กี ารพฒั นาปรบั ปรงุ แกไขไปดวย นอกจากจะเนนรายไดที่พึงจะไดแลว สง่ิ ท่ีสําคญั ท่ีจะขาดมิได ซ่ึงจะทําใหอาชีพมีความมั่นคงย่ิงข้ึนก็คือ การมีคุณธรรม จริยธรรมของ ผูประกอบการดว ย การประกอบอาชีพ หรือประกอบธุรกิจหรือดําเนินการส่ิงใด เชน การเดินทางไปที่ใดสัก แหงหนึ่ง การจัดเลย้ี งเหลา น้เี ปน ตน จะตองมีการกาํ หนดแผนเสยี กอ น ถงึ แมว า บางคนอาจทํากิจการ โดยไมมีแผนงาน ซึ่งอาจประสบความสาํ เรจ็ ในชว งแรกๆ เทาน้นั แตร ะยะเวลาอาจมเี หตกุ ารณต า ง ๆ เกดิ ข้ึนสง ผลใหเกิดอุปสรรคการประกอบอาชพี เชน การเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง หรือแมกระทั่งความสลับซับซอนของงานที่มากขึ้น เพราะสิ่งเหลาน้ีไมไดผานการ คาดคะเนและการคิดอยางรอบคอบกอน การวางแผน เปนการคดิ ไวลวงหนาวาจะทาํ อะไร มีจุดมุงหมายอะไร มีวธิ ีการอยางไร เปน กระบวนการทม่ี รี ูปแบบอยางหนง่ึ มกี ารระบเุ ปาหมาย และแผนรายละเอียดตาง ๆ มีการประสาน กิจกรรมตาง ๆ ต้ังแตจุดเริ่มตนจนกระท่ังถึงจุดสิ้นสุด การประกอบอาชีพมีความยุงยาก สลับซับซอ น การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ จะตองมีความสอดคลองกันกับทรัพยากร และงบประมาณ ท่ีมีอยู เพ่ือใหมีความเปนไดมากที่สุด ดังน้ัน การวางแผนจึงมีความสําคัญตอการประกอบอาชีพ ดังน้ีคือ 1. ชวยทําใหก ารดาํ เนนิ งานบรรลผุ ลสําเรจ็ ตามเปา หมาย 2. ชว ยทาํ ใหก ารใชทรัพยากรเปน ไปอยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. ชวยทาํ ใหก ารดาํ เนนิ งานมคี วามเสยี่ งนอ ยลง และมคี วามเชื่อมนั่ ในการบรหิ ารงานมากขนึ้ 4. ชวยปอ งกนั การขัดแยง ซ่งึ อาจจะเกิดขน้ึ ระหวางการดาํ เนนิ งานได 5. ชว ยปรบั วธิ ีการดาํ เนินงาน หรือเปลีย่ นแปลงกิจกรรมบางอยางไดอยางเหมาะสม

85 เรื่องท่ี 2 ความเปนไปไดในการพฒั นาอาชพี 1. การลงทนุ “การลงทุน” หมายถึง การออมเพ่ือใหไดรับผลตอบแทนท่ีมากข้ึน ซึ่งเราจะตองยอมรับ ความเสีย่ งที่เพม่ิ ขน้ึ เชนกนั การตดั สินใจนําเงนิ ออมมาลงทุนเราจึงตอ งพิจารณาอยางรอบคอบ และ ศึกษาหาขอมูลท่ีเก่ียวขอ งเปน อยา งดี เพอื่ ใหไ ดรับผลตอบแทนที่คาดหวังไว และเพื่อลดความเส่ียง ท่ีเกิดขนึ้ จากการลงทนุ วิเคราะหท างการเงนิ การลงทนุ เพือ่ เปรียบเทียบผลประโยชนตอบแทนที่ไดรับ และคาใชจายท่ีตองเสียไปในการดําเนิน กิจกรรมตามโครงการ คาใชจายของโครงการ 1. คาลงทุน 2. คาใชจ ายในการดาํ เนินงาน และบาํ รงุ รักษา 3. คาทดแทน 4. เงนิ สํารองจาย การประมาณคา ใชจ ายโครงการ 1.ระบุรายการ และปรมิ าณคาใชจ า ย 2. การตีราคาคา ใชจา ย - ราคาตลาด - ราคาทางบญั ชี 3. รวมคาใชจ า ยเปนรายป ผลประโยชนตอบแทนของโครงการ กระแสเงินสด = ผลประโยชนต อบแทนตอป - คาใชจ ายตอ ป 2. การตลาด การตลาด การตลาด เปนกิจกรรมทางธุรกิจที่มีความจําเปน และมีความสําคัญตอการอยูรอดของ องคกรธุรกิจ ในระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมน้ัน ธุรกิจจําเปนจะตองอาศัยกลยุทธทางการตลาด ซ่ึงส่ิงน้ันก็คือการขาย การเรียนรูเพ่ือใหเขาใจถึงความแตกตางของการขาย และการตลาด อยางชัดเจนจะชวยใหธุรกิจพัฒนาตอไป รวมถึงหนาที่ของการขายและการตลาดดวย ดังน้ัน เปาหมายของธุรกิจจะดําเนินไปในทิศทางที่มุงหวังได จึงจําเปนที่ตองศึกษาความสําคัญของ การตลาด และการขายอยางละเอยี ด

86 ความสําคัญของการตลาด ยคุ แรกของการตลาดจะเนน ที่การผลิต โดยจะทําการผลิตสินคาใหไดมากเพื่อสนองความ ตองการในตลาดในยุคแรกน้ันคูแขงหรือผูผลิตในอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่งจะมีผูผลิต ไมม ากราย ดงั นนั้ การผลิตจึงเปน หนทางทํากําไร หากผูผลิตสามารถผลิตสินคาใหไดจํานวนมาก ในลักษณะของสินคา เพ่ือมวลชนในยุคที่ 2 การตลาดจะเนน ทก่ี ารขาย โดยจะเนน ที่กจิ กรรมการขาย ใหความสําคัญกับงานการขายเปนอยางมาก และกําไรของธุรกิจจะเกิดขึ้นมากนอยก็อยูท่ี ความสามารถและประสทิ ธิภาพของทีมการขาย ยุคถัดมาเปนยคุ ทก่ี ารตลาดเนนการใชเ ครอ่ื งมือทาง การตลาดทุกอยา ง โดยเฉพาะการสรา งความพึงพอใจใหเกิดกบั ลูกคา โดยใชส วนผสมทางการตลาด คอื ผลติ ภัณฑก ารกาํ หนดราคาของผลิตภณั ฑท่ีเหมาะสม ความหมายของการตลาดและการขาย การตลาด หมายถึง กจิ กรรมทางธุรกจิ ทจี่ ะทาํ ใหส ินคา จากผูผลิตไปสูมือผูบริโภค และทําให ผูบริโภคเกิดความพึงพอใจที่ไดบริโภคสินคาหรือบริการน้ัน อันเปนผลทําใหธุรกิจประสบ ความสาํ เรจ็ ตามวัตถุประสงคข องธรุ กิจนนั้ ๆ อีกดว ย การขาย หมายถงึ กระบวนการในการชว ยเหลอื โนม นาว ชักจงู ใจ โดยใชบ คุ คลหรือไมใช บคุ คลก็ได เพอ่ื ใหล ูกคา คาดหวงั ตัดสินใจซือ้ สินคาหรอื บริการนัน้ ๆ ความแตกตา งระหวา งการตลาดและการขาย เมอ่ื ธุรกจิ ทําการผลติ สนิ คาหรอื บริการและพยายามจูงใจผูบริโภคใหซ้ือสินคาหรือบริการ นนั้ เราจะเรียกกิจกรรมน้วี า การขาย ซ่ึงจําเปนจะตองรูถึงความตองการของผูบริโภค เพ่ือที่ธุรกิจ หรือผูผลิตจะผลิตสินคาใหเหมาะสมสอดคลอง กับความตองการของผูบริโภค เมื่อผูผลิตคนหา ความตองการทแี่ ทจรงิ ของผบู ริโภค แลวนําขอมูลไปพัฒนาผลิตภัณฑของตน เพ่ือทําใหผูบริโภค เกิดความพึงพอใจเม่ือไดใชผลิตภัณฑนั้นแลว ทายท่ีสุดธุรกิจก็จะไดกําไร ลักษณะนี้เรียกวา การตลาด ซ่งึ สามารถทจ่ี ะสรปุ ความแตกตางระหวางการขายและการตลาดได ดังน้ี การขาย การตลาด 1. เนน ทคี่ วามสาํ คญั ของผลิตภณั ฑ 1. เนน ความตองการของผบู ริโภค 2. ธุรกิจจะคนหาเทคนิควิธกี ารขายท่ีประสบ 2. ธรุ กิจจะคน หาวธิ กี ารสรางความพงึ พอใจตอ ความสําเร็จ ผูบ รโิ ภค 3. ธุรกจิ จะมุงเนน ท่ียอดขาย 3. ธรุ กจิ จะมุงเนน ทีผ่ ลกําไร 4. แผนการขายจะเปน แผนระยะสนั้ 4. แผนการตลาดจะเปนแผนระยะยาว สนองตอบความตอ งการของพนกั งานขาย สนองตอบความตอ งการของผซู อื้

87 แนวความคิดทางการตลาด นักธุรกิจใหความสําคัญกับการตลาด เพ่ือทําใหธุรกิจนั้นประสบความสําเร็จโดยมีการ พัฒนาแนวความคิด ปรัชญา และการดําเนินธุรกิจ การพัฒนา 3 ประการดังกลาวเรียกวาเปน แนวความคิดทางการตลาด แนวความคิดทางการตลาดในปจจุบันมุงเนนไปท่ีผูบริโภคและการ ผสมผสานของกจิ กรรมทางการตลาด เพอ่ื ทําใหบรรลุถึงวตั ถปุ ระสงคของธรุ กิจและใหผูบ ริโภคเกิด ความพงึ พอใจทไ่ี ดใชผลิตภัณฑน ้ัน ๆ แนวความคิดทางการตลาดอาจสรปุ ไดด ังแผนภมู ิ ตอ ไปน้ี การมงุ เนนผูบรโิ ภค การผสมผสาน การสรา งความ ธุรกิจ กิจกรรมทางการ พึงพอใจใหก บั ประสบ ผลสําเร็จ ตลาด ผบู ริโภค การกําหนดวตั ถปุ ระสงค หรอื เปาหมายของธุรกจิ นอกจากแนวความคิดท่ีกลาวขางตน ยังมีการเสนอแนวความคิดใหมทางธุรกิจอันเปน แนวความคิดที่เปน ไปตามกระแสของสังคมและของประเทศชาติ คือ แนวความคิดทางการตลาด เพ่ือสังคมและส่ิงแวดลอม โดยการตลาดในลักษณะนี้จะเนนในดานของการรักษาส่ิงแวดลอม ความปลอดภัยตอชวี ิตผูบริโภคและไมทํารายธรรมชาติ โอโซน อากาศ น้ํา เน่ืองมาจากระแสการ พิทักษโลก ดังน้ัน ธุรกิจจึงเสนอผลิตภัณฑที่เปนมิตรตอธรรมชาติปลอดสารซีเอฟซี (CFCs) ซึ่ง ทําลายโอโซน มีกิจกรรมทางการตลาดในเร่ืองของรีไซเคิล รีฟล รียูส แนวความคิดที่กลาวถึงน้ี อาจเรียกไดวาเปน กรนี มาเก็ตต้งิ นน่ั เอง หนา ทที่ างการตลาดทส่ี าํ คญั หนา ที่ของการตลาดทีม่ ผี ผู ลิตและผูบ รโิ ภคก็เพอื่ ชวยเหลือ และอํานวยความสะดวกใหกับ ผผู ลิตและผบู รโิ ภค สรปุ ได ดงั น้ี 1. การขาย ผูประกอบธุรกิจตองอาศัยนักการตลาด ดําเนินกิจกรรมในดานการขายเพื่อ เคลื่อนยายสินคาจากโรงงานผลิต และการทําการโอนกรรมสิทธ์ิเปลี่ยนมือความเปนเจาของใน สนิ คา นัน้ ๆ ไปยังผูบ ริโภค ผูประกอบธุรกิจจําเปนตองศึกษาจุดประสงคของตลาด และตองสราง แรงจูงใจเพื่อทําใหลูกคาอยากไดสินคาโดยอาศัยการโฆษณา การสงเสริมการขาย และการใช พนักงานขายเพ่ือกระตุนใหลูกคาเปาหมายตัดสินใจท่ีจะซื้อ ในทางกลับกันผูประกอบธุรกิจก็ สามารถขายสินคา ได

88 2. การซื้อ ผูประกอบธุรกิจตองเปนนักซ้ือที่ฉลาดเพ่ือใหไดวัตถุดิบ อุปกรณ เคร่ืองมือ เครื่องใชในราคาท่ีเหมาะสมดวย เพื่อเปนการลดตนทุนของธุรกิจเอง โดยยึดหลักตองซ้ือใหได ปริมาณในเวลาและราคาท่ีเหมาะสมดวย จะตองรูวัตถุประสงคดวยวาจะซื้อเพ่ืออะไร เชน ซ้ือไป เพ่อื ผลติ ซอื้ ไปเพอื่ ขายตอ และตอ งรูจกั เปรียบเทียบคุณภาพราคาของสินคาทีจ่ ะซื้อ รวมถึงขอ ตกลง ในเงื่อนไขที่สมเหตุสมผล และตรวจสอบรับสินคาเขาเก็บไวในคลังสินคาหรือสตอก เพื่อรอ การจาํ หนา ยตอไป 3. การขนสงสนิ คา ตลาดตองจัดการขนสงท่เี หมาะสมกับสินคาโดยพิจารณาลักษณะสินคา หีบหอของสินคา เพื่อเลือกพาหนะขนสงท่ีดีเหมาะกับสินคาประหยัดคาขนสงหรือคาระวาง การสง มอบสนิ คาทต่ี รงตอเวลา ลกู คา ทกุ รายตองการรบั สนิ คา ตรงตอ เวลา โดยเฉพาะอยางย่ิงสินคา ท่มี ีฤดกู าลในการขายยิง่ จาํ เปน อยางย่งิ ที่ตอ งรักษาเวลาในการขนสงธุรกิจ จําเปน ตอ งเลอื กวธิ กี ารขนสง ท่เี หมาะสมไมว าจะเปน ทางรถบรรทกุ รถไฟ ทางเครือ่ งบนิ เรอื บรรทกุ สินคา หรอื การขนสง ทางทอ 4. การจัดมาตรฐานสินคา เพื่อใหไดสินคาเปนท่ีพอใจงายตอการตัดสินใจซื้อ และสราง ความมั่นใจใหกับผูบริโภค จึงมีการจัดแบงระดับหรือมาตรฐานของสินคา เพื่อใหลูกคาไดเลือก สินคาที่เหมาะสม และตรงกับความตองการโดยเฉพาะอยางย่ิงการซื้อขายสินคาในตลาด ตางประเทศ การจัดอันดับและมาตรฐานสินคามีความสําคัญอยางย่ิง ในปจจุบันประเทศไทย สนับสนุนการผลิตสินคาเพื่อสงออกเพ่ิมข้ึนสูง ดังนั้น การที่สินคาไดมาตรฐาน ISO จึงเปนส่ิงที่ สําคัญ โดยผูผลิตจําเปนตองศึกษาและพยายามผลิตใหไดมาตรฐานสากลที่กําหนด ไมวาจะเปน มาตรฐานคุณภาพ ISO 9000, ISO 9002 หรือ ISO 14000 ก็ตาม เพ่อื รักษาภาพพจน และการยอมรับ ในมาตรฐานสินคา ไทย 5. หนาที่ในการเก็บรักษาสินคา การเก็บรักษาสินคาในคลังเก็บสินคา หรือสต็อกสินคา เพ่อื ตอบสนองความตองการของลกู คา ใหต รงเวลา ไดทันทีที่มีคําส่ังซ้ือสินคาเขามา การเก็บรักษา สนิ คา เพ่ือวตั ถปุ ระสงคหลายประการ เชน เหลา ไวน ย่ิงหมักบมนานปก็ยิ่งมีราคาแพง เพ่ือใหขาย นอกฤดูกาลได เชน การแชแข็ง การฉายแสงเก็บไว เพ่ือชะลอการสุกของผลไม เพื่อเก็งกําไรโดย รกั ษาระดบั อุปทานในตลาดเม่ือสนิ คา ไดร าคาดคี อยปลอยออกขาย 6. การประกันภัย สินคาที่ผลิตออกมาและรอการจําหนาย อาจเสี่ยงตอภัยตาง ๆ เชน ความลาสมัย การถูกลักขโมย ภัยธรรมชาติ ลักษณะการเส่ียงภัยอาจเกิดข้ึนไดทุกเวลา ดังนั้น การประกันภัยจึงเปนทางเลือกหนึ่งที่จะชวยแกปญหาดังกลาว โดยธุรกิจจะตองไมผลักภาระ การเส่ยี งภัยออกจากกจิ การโดยสนิ้ เชิง ปจจบุ ันไดมสี ถาบันรับประกันภัยตาง ๆ เขามาชวยแบงเบา ภาระการเสีย่ งภัย โดยใชห ลักการกระจายการเสยี่ งภยั ใหก วา งออกไปถงึ ผูรับภาระหลาย ๆ ราย 7. การใหความชว ยเหลอื ดา นการเงิน การประกอบธุรกิจซื้อขายสินคาจะมีปญหาเก่ียวกับ การเงนิ หน้ีสูญ หน้เี สีย การขาดสภาพคลองทางการเงนิ ขาดเงนิ สดหมุนเวยี นในธุรกจิ จนเปนผลให ไมมีเงินจายสินคา จายคา จางเงินเดือนพนกั งาน ดงั นนั้ การจัดการเงนิ ที่ดีในฐานะการเงินของกิจการ

89 อยใู นภาวะสมดุลรายไดเ กดิ ข้ึนสอดคลอ งกบั ชําระหนสี้ นิ หากกิจการธุรกิจจัดการดานการเงนิ ไมด ีก็ อาจนาํ ไปสกู ารขาดทุน จนถึงตองออกจากธรุ กิจนั้นไป การจัดหาเงินทุนจากแหลงตาง ๆ และการ จดั การนําเงินกาํ ไรไปลงทนุ ใหมใ นธุรกจิ ทมี่ ีความเสีย่ งต่ํา รวมถึงสถาบันทางการเงินทจี่ ะเขามาชวย ในเรื่องการกูยืมเงินเพ่ือการลงทุน เชน ธนาคารพาณิชย ทรัสต บรรษัทเงินทุน เปนการเขามามี บทบาทในการใหความชว ยเหลือ พฒั นาการลงทุนของธุรกิจ 8. การหาขอมูลทางการตลาด เพื่อประกอบการตัดสินใจของผูบริหารธุรกิจและ ประโยชนของธุรกิจ ใหมีผลเสียหายนอยที่สุด โดยเฉพาะอยางย่ิงยุคของขอมูลขาวสาร เชน ในปจ จบุ นั ธรุ กจิ ใดไดขอ มลู ขา วสารกอนก็ยอ มจะไดเปรยี บในการตัดสนิ ใจไดรวดเร็ว ถูกตอง เชน ขอมูลในการลดคาเงินบาท การใหคาเงินบาทลอยตัว ผูรูกอนยอมปรับกลยุทธและตักตวง ผลประโยชนไ ดจ ากคาเงนิ ทเ่ี ปลี่ยนแปลง 3. กระบวนการผลติ กระบวนการผลติ หมายถงึ กระบวนการผลิตสินคา การใหบริการ ตามความตองการของ ผูบริโภค ซึ่งประกอบไปดวย ลูกคา ตลาดแรงงาน สังคม ประเทศชาติ และประชาคมโลก โดยมี วิธกี ารในการควบคมุ ดูแลการผลติ อยางมีคณุ ภาพทไี่ ดมาตรฐาน และการสรางคณุ ลักษณะทโี่ ดดเดน ของสนิ คา หรอื บริการ ไดแก 1. ความนาเชอ่ื ถือ ผใู หบริการจะตองแสดงถึงความนาเชอื่ ถือ และไวว างใจ 2. การตอบสนอง การตอบสนองที่มีความต้งั ใจและเต็มใจ 3. การสรางความมั่นใจ สามารถทีจ่ ะทําใหล ูกคาเกิดความเชือ่ ใจ 4. การดแู ลเอาใจใส 5. เครื่องมืออปุ กรณ 4. การขนสง สนิ คา การขนสง หมายถึง การเคล่ือนยายสินคาจากท่ีหน่ึงไปยังอีกที่หน่ึง ซึ่งเปนหนาที่ของ ผูผ ลติ ทจ่ี ะใหอรรถประโยชนแกผูบริโภคในดานเวลา และสถานท่ี สงผลใหสินคามีมูลคาเพ่ิมขึ้น เพราะหลกั ในการจัดการขนสงมีอยูวา “มูลคาสินคาท่ีเพ่ิมข้ึนหลังจากขนสงไปแลวจะตองสูงกวา คาขนสง” ซ่ึงมีสินคาบางชนิดที่คาขนสงสูงกวาราคาตัวสินคาจริงมาก เชน การขนหินทราย ยิปซัม ถานหิน แตก็มีสินคาบางชนิดที่คาขนสงถูกกวาราคาสินคาจริง เชน การขนทองคํา เพชร พลอย และยา เปน ตน การขนสง มีสวนชวยลดคาตนทุนการผลิตได ในกรณีที่ตั้งโรงงานขนาดใหญท่ีตนทุน ต่ําสุดสถานที่หนึ่ง แตตองการกระจายสินคาไปทั่วประเทศ เชน โรงงานผลิตรถมอเตอรไซค ทตี่ ง้ั อยูชานเมืองกรุงเทพฯ แตส ามารถสง รถมอเตอรไ ซคไปขายทัว่ ประเทศ หรือโรงงานผลิตเสอื้ ผา ต้ังอยูในประเทศไทย แตสามารถสงเส้ือผาไปขายไดท่ัวโลก เปนตน ซึ่งจะทําใหตนทุนการผลิต ตอหนวยสนิ คา ลดลง

90 การขนสงทางธุรกิจมี 3 ทาง คือ 1. การขนสง ทางบก ปจจุบันมีทางรถไฟเช่ือมระหวางกรุงเทพฯ กับเมืองใหญ ๆ เกือบทั่ว ประเทศผา นจงั หวดั ใหญ ๆ ทั้งภาคกลาง ภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื สวนท่ผี า นภาคใต มกี ารเชอื่ มตอกับประเทศมาเลเซยี ทางปาดงั เบซาร และสุไหงโก-ลก จนถึงสิงคโปร นอกจากนั้นยัง มีทางรถไฟเชอ่ื มกับประเทศกมั พูชา แตข ณะนห้ี ยดุ กิจการ เพราะปญหาความปลอดภัยภายในของ ประเทศนั้น กจิ กรรมหลกั ของรถไฟ คือ การขนสงสนิ คา รอ ยละ 90 ของรถไฟเปนตูสินคา แตละป รถไฟทาํ การขนสงสินคา ประมาณ 8 ลา นตัน สวนใหญว ตั ถุดบิ เชน นาํ้ มัน และปนู ซเี มนต 2. การขนสงทางเรือ มีทาเรือใหญ ๆ ที่ใชขนสงสินคาท้ังภายในประเทศ และติดตอกับ ตางประเทศ เชน ทา เรือคลองเตย แหลมฉบัง มาบตาพุด ภูเก็ต สงขลา และสีชัง การขนสงทางเรือ มีคาใชจายต่ําแตลาชา ระบบบริหารและระบบศุลกากรยังลาสมัย มีชองวางใหเจาหนาท่ีทําการ ทจุ รติ ไดม าก สงผลใหมลู คาเพม่ิ ของสินคาและบริการ ขององคกรธุรกิจหายไปเปน จํานวนมาก 3. การขนสงทางอากาศ ประเทศไทยมีทาอากาศยานนานาชาติท่ีสุวรรณภูมิ ดอนเมือง เชียงใหม อูตะเภา ภูเก็ต และหาดใหญ ซ่ึงทําใหการขนสงสินคาและบริการขาเขาและขาออกดี พอสมควร การขนสงทางอากาศมีความรวดเร็ว แตเสียคาใชจายสูงมาก เหมาะสําหรับการขนสง สนิ คาขนาดเลก็ นํ้าหนกั เบา นอกจากน้ียังมีการขนสงทางทอซึ่งใชขนสงเฉพาะกาซ นํ้า และน้ํามันเทาน้ัน ปจจุบัน การขนสงโดยบรรจุสินคาไวในตูคอนเทนเนอรเปนท่ีนิยมมากเพราะสามารถใชบรรจุสินคาได หลายอยาง โดยบรรจุสนิ คาในกลองกอนทรี่ วมไวใ นตูคอนเทนเนอรทาํ ใหส ะดวกในการขนถา ย ใน บางกรณที ี่ตอ งใชก ารขนสงหลายวธิ ี หรอื เปล่ียนถายการขนสงหลายครง้ั กวาจะถึงจุดหมายปลายทาง ก็สามารถโยกยายไดดี เชน เคลอื่ นยายจากรถลงเรือหรือจากเรือขึ้นรถ ตคู อนเทนเนอรมหี ลายขนาด แลวแตก ารขนสง เชน การขนสงทางเรอื สวนใหญจะใชต ูม าตรฐานขนาด 21 ฟุต และ 40 ฟุต สวน ตคู อนเทนเนอรสําหรับสงของทางอากาศจะมีขนาดเล็กกวา การขนสง สินคา แตล ะวธิ ีมขี อดี ขอ เสียตางกัน นักการตลาดทดี่ ตี องรจู กั เลือกวิธกี ารขนสงที่ เหมาะสมกบั สินคา และบรกิ ารท่ีมปี ระสิทธภิ าพ ซึง่ ขึ้นอยกู ับวตั ถุประสงคของตนเอง เชน ตองการ ความรวดเรว็ หรอื ตองการราคาถูก หรอื ตองการความสะดวก 5. การบรรจหุ ีบหอ การบรรจุหีบหอนั้น นอกจากใชป องกนั ผลิตภณั ฑแ ลว ยงั ใชใ นการสงเสริมการขายอีก ซึ่ง ถือวามีความสําคัญมากทั้งสําหรับผูขายและผูบริโภค การบรรจุหีบหอท่ีดีทําใหสามารถรักษางาย ประหยดั เนือ้ ที่ และทําใหผบู รโิ ภคมองเห็นความแตกตา งของผลติ ภณั ฑไ ดช ัดเจน ซ่ึงประโยชนของ การบรรจุหีบหอมีดงั นี้ 1. ผูบริโภคมักจะเลือกผลิตภัณฑท่ีมีการบรรจุหีบหอท่ีดีกวา เชน ผูบริโภคยอมซื้อ นํ้าทีบ่ รรจขุ วดพลาสตกิ ใสในราคาท่แี พงกวา นํ้าทบี่ รรจขุ วดขุน ทั้งท่ีเปน นา้ํ ด่ืมทีป่ ลอดภัยเหมือนกนั

91 หรือนิยมซ้ือบะหมี่ก่ึงสําเร็จรูปท่ีบรรจุในถวยพลาสติก ในอนาคตผูบริโภคอาจเลือกซื้อบะหมี่ท่ี บรรจใุ นถวยทสี่ ามารถใชกบั เตาไมโครเวฟได 2. การบรรจุหบี หอ เปนการสอ่ื สารระหวางผูผ ลิตและผูบริโภคอยางหน่ึง เพราะการบรรจุ หบี หอเปน ตัวกาํ หนดกลยุทธการตลาด เชน สุราทมี่ รี าคาแพงจะบรรจุขวดที่สวยงาม แมแ ตบ ริการก็ ใชการบรรจุหีบหอสําหรับผูบริโภค เชน ตั๋วเคร่ืองบิน จะตองมีซองท่ีสวยงาม หรือใบเสร็จของ โรงแรมก็ตอ งบรรจุซองท่ีมขี อ ความสวยงาม 3. การบรรจุหีบหอ จะชว ยใหการกระจายสนิ คางายขน้ึ และลดตนทุนลง เพราะวาการบรรจุ หบี หอ ท่ีดีจะทําใหก ารปองกันความเสยี หายของสนิ คา ดีขนึ้ ย่งิ กวา นนั้ เม่อื มกี ารเก็บรักษาสินคาก็จะ ทําใหมีความเสียหายนอยลงดวย บางคร้ังการบรรจุหีบหอที่ดีก็เปนการโฆษณาประชาสัมพันธได ดีกวาการโฆษณาดวยส่ือดวยซ้ําไป เพราะเมื่อวางผลิตภัณฑไวในรานคา ผูบริโภคอาจจะเห็น บอยกวาการโฆษณาในส่ือ เราจะเห็นวาบางคร้ังจะมีหีบหอวางแสดงตามตูกระจกใสในรานเปน จาํ นวนมาก สง่ิ ทนี่ ักการตลาดพึงระลกึ ไวเสมอคอื จะตองไมม ีการบรรจุหีบหอที่ทําใหผูบริโภคเขาใจผิด เชน กระปอ งทบ่ี รรจปุ ลาซาดนี ก็ไมควรปดสลากวา เปน ปลาทนู า หรือกําหนดบนหีบหอวา สินคา มีน้ําหนกั 0.8 กโิ ลกรัม แตก ลับปด สลากวา 1 กโิ ลกรมั หรือนา้ํ สมธรรมชาติ 100% ทั้ง ๆ ท่ีจริงแลว มีเพียง 25% ผสมน้าํ อกี 75% หรือระบวุ าหบี หอ สามารถหมุนเวียนมาใชใหมไดท้ัง ๆ ที่นํามาใชอีก ไมได ในปจ จุบัน การบรรจุหีบหอสมัยใหม มักจะใชบารโคด ซึ่งสามารถอานไดดวยเครื่องมือ อิเล็กทรอนิกสไ ดสะดวก ในการชาํ ระเงิน และการจัดหมวดหมูส นิ คา ไดด ี 6. การแปรรปู การแปรรปู หมายถึง การนาํ ผลผลิตทางการเกษตรซ่ึงมีอยูในรูปวัตถุดิบมาผานขบวนการ ดา นวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยมี าใชใ นกรรมวธิ กี ารผลติ การแปรสภาพเพ่ือสามารถบริโภค มีอายุ ยนื ยาวข้นึ ตลอดทัง้ ความสะดวกสบายในรปู ผลติ ภัณฑก ง่ึ สําเร็จรูป 7. ผลกระทบตอชมุ ชนและสภาพแวดลอม ผลกระทบ หมายถงึ ผลที่ไดรบั หรอื เกิดจากการกระทําท่ีคาดวา จะกอ ใหเ กดิ ผลดีหรอื ผลเสยี ในระยะยาวอยา งไร โดยประโยชนท ลี่ งสูประชาชนนน้ั ประชาชนจะไดร บั ประโยชนอ ะไรบางจาก การดาํ เนนิ การของโครงการนที้ ีส่ ามารถแสดงผลประโยชนต อสังคม ระบบส่ิงแวดลอม นอกเหนือจากการเกษตรและอุตสาหกรรมที่คํานึงถึงผลกระทบตอ สิ่งแวดลอม ระบบสิ่งแวดลอมของชุมชนยังครอบคลุมถึงสภาพแวดลอมท่ีเอื้อตอวิถีชีวิต ระบบ สงิ่ แวดลอมจึงหมายรวมถงึ ดนิ นํา้ ปา อากาศ การจัดการทางกายภาพของชุมชน เชน ถนนหนทาง แหลง ศูนยก ลางชมุ ชน เปน ตน และสภาพแวดลอ มทางสงั คมท่เี อ้อื ตอการเจริญเติบโตของชีวติ ดวย

92 ปจจัยของผลกระทบสิง่ แวดลอ มและขอบเขตของการพิจารณา 1. ผลกระทบสงิ่ แวดลอมทางกายภาพ 2. ผลกระทบสง่ิ แวดลอ มทางสงั คม 3. ผลกระทบสง่ิ แวดลอ มทางสนุ ทรียภาพ 4. ผลกระทบสงิ่ แวดลอมทางเศรษฐกจิ ลักษณะของผลกระทบสง่ิ แวดลอ มและขอสงั เกต 1. ลักษณะของผลกระทบส่ิงแวดลอม - เกิดขนึ้ บางที่ บางสวน - กระจายท่วั ไป 2. ขอสังเกตเกยี่ วกับผลกระทบส่ิงแวดลอม - อาจเกดิ ข้นึ โดยไมเรียงลาํ ดบั - สรางปญหาลูกโซไ ดเสมอ - แสดงผลใหเห็นไดท งั้ ระยะส้นั และระยะยาว - เปลยี่ นแปลงอยูเสมอ - สามารถวัดขนาดได 8. ความรู ความสามารถ ความรู ความสามารถ หมายถึง ทกั ษะทส่ี ําคัญหรอื ความจาํ เปนในการผลิต หรอื การปฏบิ ตั งิ าน ใหมปี ระสิทธภิ าพในความเปน ไปไดใ นการพัฒนาอาชีพ เรื่องท่ี 3 การกาํ หนดวิธกี ารพัฒนาอาชพี พรอ มเหตผุ ล 1. เทคนคิ วิธีการทาํ งานของอาชพี ท่ีเลอื กประกอบการ เปน เคลด็ วิชาในการประกอบอาชีพ แตละอาชีพใหป ระสบความสาํ เร็จ จงึ เปน ปจจยั สาํ คญั ที่ผูป ระกอบอาชีพจะตอ งเรียนรใู หเขา ใจอยา ง ถองแท 2. เทคนิควิธกี ารทาํ งาน ชว ยลดขั้นตอนการทํางานอาชีพบางอาชีพ ใหสําเร็จอยางรวดเร็ว ผปู ระกอบอาชีพจะนาํ เวลาทเี่ หลือ ไปดําเนินการในงานยอ ยอน่ื ๆ ใหมีประสิทธิภาพตอไป 3. เทคนคิ การทํางานชว ยใหการทํางานประหยัดขน้ึ เชน ใชวสั ดุบางอยา งทม่ี รี าคาถกู หางา ย ในทองถิ่น ทดแทนวัสดุที่มีราคาแพงหรือหายากมาใชในการผลิตแทน ผลผลิตที่ผลิตไดยังมี คุณภาพเหมอื นเดิม 4. เทคนิควธิ กี ารทาํ งานชวยใหผ ลติ ไดมากขน้ึ โดยการนาํ เครอื่ งมอื อุปกรณทดี่ ดั แปลงมาใช ในการเพม่ิ ปรมิ าณการผลติ ผูผลติ เสาะแสวงหาเทคโนโลยตี าง ๆ ทม่ี ีในทองถิ่นมาใชหรือดัดแปลง พฒั นาเทคโนโลยที ่ีมอี ยแู ลว ใหช ว ยเพิ่มผลผลติ ใหมากข้ึน 5. เทคนคิ วธิ ีการทาํ งานชว ยใหง านอาชพี มีคณุ ภาพ มีมาตรฐานเปนสากลเปน ที่ยอมรับของตลาด

93 ประโยชนทไี่ ดรบั จากการกาํ หนดวิชาการพฒั นาอาชพี การจําแนกองคป ระกอบยอยของงานอาชีพท่ีเลอื กมปี ระโยชนทส่ี ําคัญ ๆ ดังตอ ไปนี้ คอื ชวยใหผ ปู ระกอบอาชีพไดเ ตรยี มความพรอ มดา นขอมูลอาชพี ทีต่ นเลือก เพราะผูประกอบอาชีพตองใช หลักวิชาในการเสาะแสวงหาขอ มูลสําคัญ ๆ ในงานอาชีพน้ัน ๆ และขอมูลดานอาชีพแตละอาชพี จะ เปลย่ี นแปลงอยูตลอดเวลา ตามระยะเวลา ตามกลไกแหงราคา ภาวะการณตลาด ฤดกู าล เปน ตน