Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ที่2 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ

ใบความรู้ที่2 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ

Published by kungwhan_toom, 2018-03-28 05:54:20

Description: ใบความรู้ที่2 เรื่อง ระบบเศรษฐกิจ

Search

Read the Text Version

บทท่ี 2 ระบบเศรษฐกิจระบบเศรษฐกิจ ความหมายของระบบเศรษฐกิจ(economic system) หมายถงึ กลมุ่ บคุ คลของสงั คมทีร่ วมตวั กนั เป็นกลมุ่ ของสถาบนัทางเศรษฐกิจตา่ งๆ ซง่ึ ยดึ ถือแนวปฏบิ ตั แิ นวทางเดยี วกนั ในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยมีวตั ถปุ ระสงค์ร่วมกนัคือ อานวยความสะดวกในการทจ่ี ะแก้ไขปัญหาพนื ้ ฐานทางเศรษฐกิจ เพื่อให้สามารถบาบดั ความต้องการให้แก่บคุ คลตา่ งๆทีอ่ ยรู่ ่วมกนั ในสงั คมนนั้ ให้ได้รับประโยชน์มากท่ีสดุ เกิดประสทิ ธิภาพสงู สดุรูปแบบของระบบเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา่ งๆในโลกจะมคี วามแตกตา่ งกนั ทงั้ นี ้ขนึ ้ อยกู่ บั รูปแบบการปกครอง ขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรม ตลอดจนแนวคดิ ในการบริหารเศรษฐกิจของผ้บู ริหารในแตล่ ะประเทศ ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา่ งๆทว่ั โลกสามารถแบง่ ออกเป็น 4 ระบบใหญ่ๆดงั นี ้ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนยิ มหรือทนุ นยิ ม (Laissez-Faire or Capitalism)ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนยิ มหรือทนุ นิยมเป็นระบบเศรษฐกิจทใ่ี ห้เสรีภาพแก่ภาคเอกชนใน การเลอื กดาเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจ เอกชนมีกรรมสทิ ธิ์ในทรัพย์สนิ สามารถเป็นเจ้าของปัจจยั การผลติ เศรษฐทรัพย์ตา่ งๆทตี่ นหามาได้ มเี สรีภาพในการประกอบธรุ กิจ รวมทงั้ การเลอื กอปุ โภคบริโภคสนิ ค้า และบริการตา่ งๆ แตท่ วา่ เสรีภาพดงั กลา่ วจะต้องอยภู่ ายใต้ขอบเขตของกฎหมาย กลา่ วคอื การดาเนนิ การใดๆจะต้องไมล่ ะเมิดสทิ ธิเสรีภาพพนื ้ ฐานของบคุ คลอ่ืน ใช้ระบบของการแขง่ ขนั โดยมรี าคาและระบบตลาดเป็นกลไกสาคญั ในการจดั สรรทรัพยากร โดยรัฐบาลจะไมเ่ ข้าไปเกี่ยวข้องในกิจกรรมทางเศรษฐกิจ จะมีหน้าทเี่ พยี งการรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมืองและการปอ้ งกนั ประเทศข้อดขี องระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยมเอกชนมเี สรีภาพในการเลอื กตดั สนิ ใจดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามที่ตนถนดักาไรและการมีระบบกรรมสทิ ธิ์ในทรัพย์สนิ เป็นแรงจงู ใจทาให้การทางานเป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ กลา่ วคอื เอกชนจะทางานอยา่ งเต็มท่ี เนอ่ื งจากผลติ ได้มากน้อยเทา่ ไรก็จะได้รับผล ตอบแทนหรือรายได้ไปเทา่ นัน้ ภายใต้ระบบเศรษฐกจิระบบนจี ้ ะมกี ารคิดค้นสงิ่ ประดษิ ฐ์หรือเทคนคิ ใหมๆ่ อยเู่ สมอ ทาให้เกิดการพฒั นาอยตู่ ลอดเวลาข้อเสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม1.ก่อให้เกิดปัญหาความเหลอ่ื มลา้ อนั เนอ่ื งจากความสามารถท่ีแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะบคุ คลโดยพนื ้ ฐาน ทาให้ความสามารถในการหารายได้ไมเ่ ทา่ กนั ผ้ทู ่มี คี วามสามารถสงู กวา่ จะเป็นผ้ไู ด้เปรียบผ้ทู ่ีออ่ นแอกวา่ ในทางเศรษฐกิจ

2.ในหลายๆกรณี ราคาหรือกลไกตลาดยงั ไมใ่ ชเ่ คร่ืองมือทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพเพยี งพอสาหรับการจดั สรรทรัพยากรของระบบเศรษฐกิจ ตวั อยา่ งเช่น สนิ ค้าและบริการท่ีมีลกั ษณะของการผกู ขาดโดยธรรมชาติหรือสนิ ค้าและบริการสาธารณะ ซงึ่ ได้แก่บริการด้านสาธารณปู โภค (นา้ ประปา ไฟฟา้ โทรศพั ท์ ฯลฯ) โครงสร้างพนื ้ ฐาน (ถนน เขื่อน สะพาน ฯลฯ) จะเหน็ ได้วา่สนิ ค้าและบริการดงั กลา่ วสว่ นใหญ่จะต้องใช้เงินลงทนุ มาก เทคโนโลยีท่ที นั สมยั เสยี่ งกบั ภาวะการขาดทนุ เนื่องจากมีระยะการคืนทนุ นาน ไมค่ ้มุ คา่ ในเชิงเศรษฐกิจ ทาให้เอกชนไมค่ อ่ ยกล้าลงทนุ ทจ่ี ะผลติ สง่ ผลให้รัฐบาลต้องเข้ามาดาเนินการแทน อนั เนื่องจากสนิ ค้าและบริการเหลา่ นเี ้ป็นสงิ่ จาเป็นขนั้ พนื ้ ฐานท่ีประชาชนต้องการ จะเห็นได้วา่ กรณีดงั กลา่ วราคาไมส่ ามารถเข้ามาทาหน้าทใ่ี นการจดั สรรทรัพยากรได้3.การใช้ระบบการแขง่ ขนั หรือกลไกราคาอาจทาให้เกิดการใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจอยา่ ง สนิ ้ เปลอื ง เชน่ ในบางชว่ งทีม่ ีการแขง่ ขนั กนั สร้างศนู ย์การค้าเพราะคิดวา่ เป็นกิจการทใี่ ห้ผลตอบแทนหรือกาไรดี ศนู ย์การค้าเหลา่ นเี ้มอ่ื สร้างขนึ ้ มามากเกินไปก็อาจไมม่ ีผ้ซู ือ้ มากพอ ทาให้ประสบกบั การขาดทนุ กิจการต้องล้มเลกิ เสยี ทนุ ท่ใี ช้ไปในกิจการนนั้ เป็นการสญู เสยีทรัพยากรทางเศรษฐกิจไปอยา่ งเปลา่ ประโยชน์และไมค่ ้มุ คา่ เป็นต้นระบบเศรษฐกิจแบบคอมมวิ นิสต์ (Communism) ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมวิ นสิ ต์เป็นระบบเศรษฐกิจท่มี ลี กั ษณะตรงกนั ข้ามกบั ระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนยิ มหรือทนุนยิ ม ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมวิ นิสต์รัฐบาลเป็นเจ้าของทรัพยากรตา่ งๆ รวมทงั้ ปัจจยั การผลติ ทกุ ชนิด เอกชนไมม่ ีกรรมสทิ ธ์ิ ตลอดจนเสรีภาพที่จะเลอื กใช้ ปัจจยั การผลติ ได้ รัฐบาลเป็นผ้ปู ระกอบการและทาหน้าทีจ่ ดั สรรทรัพยากรตา่ งๆหนว่ ยธุรกิจและครัวเรือน จะผลติ และบริโภคตามคาสง่ั ของรัฐ กลไกราคาไมม่ ีบทบาทในการแก้ไขปัญหาพนื ้ ฐานทางเศรษฐกิจ การแก้ไขปัญหาพนื ้ ฐานทางเศรษฐกิจกระทาโดยรฐั บาล กลา่ วคอื รัฐบาลจะเป็นผ้ทู าหน้าทตี่ ดั สนิ ใจวา่ทรัพยากรตา่ งๆทมี่ อี ยคู่ วรจะนามาผลติ สนิ ค้าและบริการอะไร ผลติ อยา่ งไร และผลติ เพ่ือใคร การตดั สนิ ใจ มกั จะทาอยใู่ นรูปของการวางแผนแบบบงั คบั จากสว่ นกลาง (central planning) โดยคานงึ ถงึ สวสั ดกิ าร ของสงั คมสว่ นรวมเป็นสาคญัโดยสรุประบบเศรษฐกิจแบบนจี ้ ะมลี กั ษณะเดน่ อยทู่ กี่ ารรวมอานาจทกุ อยา่ ง ไว้ทส่ี ว่ นกลาง รัฐบาลจะเป็นผ้วู างแผนแต่เพียงผ้เู ดียว เอกชนมหี น้าทเ่ี พียงแตท่ าตามคาสงั่ ของทางการเทา่ นนั้ข้อดขี องระบบเศรษฐกิจแบบคอมมวิ นิสต์ จดุ เดน่ ของระบบเศรษฐกิจแบบคอมมวิ นิสต์ก็คอื เป็นระบบเศรษฐกิจทช่ี ว่ ยลดปัญหาความเหลอื่ มลา้ ทางฐานะและรายได้ของบคุ คลในสงั คม ภายใต้ระบบเศรษฐกิจนีเ้อกชนจะทาการผลติ และ บริโภคตามคาสง่ั ของรัฐ ผลผลติ ท่ีผลติ ขนึ ้ มาจะถกู นาสง่ เข้าสว่ นกลาง และรัฐจะเป็นผ้จู ดั สรรหรือแบง่ ปัน สนิ ค้าและบริการดงั กลา่ วให้ประชาชนแตล่ ะคนอยา่ งเทา่เทียมกนั โดยไมม่ กี ารได้เปรียบเสยี เปรียบข้อเสยี ของระบบเศรษฐกจิ แบบคอมมวิ นสิ ต์

1.ประชาชนไมม่ เี สรีภาพทจ่ี ะผลติ หรือบริโภคอะไรได้ตามใจ ถกู บงั คบั หรือสงั่ การจากรัฐ2.สนิ ค้ามคี ณุ ภาพไมด่ เี ทา่ ท่คี วร เนือ่ งจากผ้ผู ลติ ขาดแรงจงู ใจ เพราะไมว่ า่ จะผลติ สนิ ค้าได้ มากน้อยเพียงใด คณุ ภาพเป็นอยา่ งไร ผ้บู ริโภคก็ไมม่ ที างเลอื กจะต้องบริโภคตามการปันสว่ นท่ีรฐั จดั ให้3.การใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเป็นไปอยา่ งไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ เน่อื งจากรัฐบาลไมส่ ามารถที่จะมขี า่ วสารสมบรู ณ์ในทกุ ๆเร่ือง เช่น รัฐไมร่ ู้ความต้องการทีแ่ ท้จริงของประชาชนทาให้ผลติ สนิ ค้าที่ไมต่ รงกบั ความต้องการ สง่ ผลให้มสี นิ ค้าเหลอื(ไมเ่ ป็นทีต่ ้องการ) จะเห็นได้วา่ ลกั ษณะดงั กลา่ ว กอ่ ให้เกดิ การสญู เสยี ทรัพยากรของประเทศไปโดยเปลา่ ประโยชน์ เป็นต้นระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ ม (Socialism)ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ มเป็นระบบเศรษฐกิจทมี่ ีลกั ษณะใกล้เคียงกบั ระบบเศรษฐกิจ แบบคอมมวิ นสิ ต์ ภายใต้ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ มรัฐจะเป็นผ้คู รอบครองทรัพยากรการผลติ พนื ้ ฐาน ไว้เกือบทงั้ หมด และเป็นผ้วู างแผนเศรษฐกจิกาหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาพนื ้ ฐาน กิจการหลกั ที่มี ความสาคญั ตอ่ เศรษฐกิจสว่ นรวมของประเทศ เชน่ ธรุ กิจธนาคารอตุ สาหกรรมเหมืองแร่ ป่าไม้ นา้ มนั กิจการสาธารณปู โภค และสาธารณปู การตา่ งๆ ฯลฯ รัฐจะเป็นผ้เู ข้ามาดาเนินการเองอยา่ งไรกต็ าม รัฐยงั ให้เสรีภาพแกป่ ระชาชนบ้างพอสมควร เอกชนมีเสรีภาพและกรรมสทิ ธิ์ในการถือครองทรัพย์สนิ เชน่สามารถทาธุรกจิ ค้าขายขนาดยอ่ มระหวา่ งท้องถ่ินใกล้เคียง สามารถถือครองกรรมสทิ ธิ์ที่ดินทากิน เพอ่ื การยงั ชีพ โดยสรุประบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ มเป็นระบบเศรษฐกิจที่อาศยั กลไกรัฐเป็นกลไกสาคญั ในการจดั สรรทรัพยากรของระบบเศรษฐกิจ แตท่ วา่ กลไกราคาพอจะมบี ทบาทอยบู่ ้างในระบบเศรษฐกจิ นี ้ข้อดขี องระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ ม ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ มเป็นระบบเศรษฐกจิ ท่มี สี ว่ นช่วยลดปัญหาความเหลอื่ มลา้ ทาง ฐานะและรายได้ของบคุ คลเช่นเดียวกบั ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมวิ นสิ ต์ นอกจากนนั้ ภายใต้ระบบเศรษฐกจิ นีเ้อกชนมเี สรีภาพและมกี รรมสทิ ธิ์ในการถือครองทรัพย์สนิ บ้างพอสมควรข้อเสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยมภายใต้ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนิยม เนอื่ งจากปัจจยั การผลติ พนื ้ ฐานอยใู่ นการควบคมุ ของ รัฐบาลทาให้ขาดความคลอ่ งตวั การผลติ ถกู จากดั เพราะต้องผลติ ตามทร่ี ัฐกาหนด โอกาสที่จะขยายการผลติ หรือพฒั นาคณุ ภาพการผลติ เป็นไปคอ่ นข้างลาบาก ทาให้การใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเป็นไปอยา่ งไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพ ในลกั ษณะเดียวกบั ระบบเศรษฐกิจแบบคอมมิวนสิ ต์ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)

ระบบเศรษฐกิจแบบผสมเป็นระบบเศรษฐกิจทมี่ ีลกั ษณะผสมผสานระหวา่ งระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม กบั ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนยิ ม กลา่ วคอื ภายใต้ระบบเศรษฐกจิ แบบผสมทงั้ รัฐบาลและเอกชนตา่ งมสี ว่ นร่วมในการแก้ไขปัญหาพนื ้ ฐานทางเศรษฐกิจ ปัจจยั การผลติ มีทงั้ สว่ นที่เป็นของรัฐบาลและเอกชน ในสว่ นท่ีเป็นแบบทนุ นยิ ม คือ เอกชนมีกรรมสทิ ธ์ิในทรัพย์สนิ บางอยา่ ง มเี สรีภาพในการเลอื กผลติ หรือบริโภค ใช้ระบบของการแขง่ ขนั กลไกราคาเข้ามาทาหน้าท่ีจดั สรรทรัพยากร สว่ นทเ่ี ป็นแบบสงั คมนยิ ม คอื รัฐบาลเข้ามาควบคมุ หรือเข้ามาดาเนินกิจการทม่ี คี วามสาคญั ตอ่ ความเป็นอยขู่ องประชาชนสว่ นใหญ่ของประเทศ เชน่ กิจการสาธารณปู โภค อตุ สาหกรรมหลกั และอตุ สาหกรรมขนาดใหญ่ท่ีต้องมกี ารลงทนุ มากเพราะหาเอกชนลงทนุ ได้ยาก เนอื่ งจากเป็นกิจการทีต่ ้อง เสยี่ งกบั การขาดทนุ หรือไมค่ ้มุ กบั การลงทนุแตก่ ิจการเหลา่ นจี ้ าเป็นต้องมเี พราะเป็นปัจจยั พนื ้ ฐานตอ่ การดารงชีพ เช่น ไฟฟา้ นา้ ประปา การขนสง่ และคมนาคม เหตุทร่ี ัฐบาลเข้ามาดาเนินการในกจิ การดงั กลา่ วก็เพือ่ ขจดั ปัญหาในเรื่องการผกู ขาดหรือเอารัดเอาเปรียบ ซง่ึ มกั จะเกิดขนึ ้ ถ้าปลอ่ ยให้เอกชนทาการแขง่ ขนั โดยสรุปแล้วระบบเศรษฐกจิ แบบผสมจึงเป็นระบบเศรษฐกจิ ทีม่ กี ารใช้ทงั้ ระบบกลไกราคาหรือระบบตลาดควบคไู่ ปกบั ระบบกลไกรัฐในการจดั สรรทรัพยากรข้อดขี องระบบเศรษฐกิจแบบผสมเป็นระบบเศรษฐกจิ ที่คอ่ นข้างมคี วามคลอ่ งตวั กลา่ วคอื มกี ารใช้กลไกรัฐร่วมกบั กลไกราคาในการจดั สรรทรัพยากรของระบบ กิจการใดท่ีกลไกราคาสามารถทาหน้าที่ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ รัฐก็จะปลอ่ ยให้เอกชนเป็นผ้ดู าเนนิ การ (ใช้ระบบของการแขง่ ขนั ) แตถ่ ้ากิจการใดทก่ี ลไกราคาไมส่ ามารถทาหน้าทไ่ี ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพรัฐก็จะเข้ามาดาเนินการแทน จะเหน็ ได้วา่ ระบบเศรษฐกิจแบบผสมเป็นระบบเศรษฐกิจที่ผสมผสาน กลา่ วคือ รวมข้อดขี องทงั้ ระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นยิ มและสงั คมนิยมเข้าไว้ด้วยกนั อยา่ งไรก็ตาม ระบบเศรษฐกิจดงั กลา่ วก็มีข้อเสยี ด้วยเชน่ กนัข้อเสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบผสม1.การมกี าไรและระบบกรรมสทิ ธ์ิในทรัพย์สนิ อาจก่อให้เกิดปัญหาความเหลอื่ มลา้ ทางฐานะ และรายได้เช่นเดยี วกบั ระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นยิ ม2.การทร่ี ัฐสามารถเข้ามาแทรกแซงตลาดโดยใช้กลไกรัฐอาจกอ่ ให้เกิดปัญหาการฉ้อราษฎร์บงั หลวง ทาให้เกิดการบดิ เบือนการใช้ทรัพยากรของระบบ เศรษฐกิจเป็นไปอยา่ งไมม่ ปี ระสทิ ธิภาพเทา่ ทีค่ วร 3.ปัญหาเอกชนไมก่ ล้าลงทนุ อยา่ งเตม็ ท่ีเนอ่ื งจากไมแ่ นใ่ จในสถานการณ์ทางการเมอื ง และนโยบายของรฐั บาลซง่ึ มีความผนั ผวนและแปรเปลย่ี นได้ง่าย อาจทาให้เศรษฐกิจเกดิ การหยดุ ชะงกั การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็นไปอยา่ งไมต่ อ่ เนื่องหน้าที่และเปา้ หมายของบคุ คลในระบบเศรษฐกิจ

1.ผ้บู ริโภค มหี น้าทีใ่ นการตดั สนิ ใจเลอื กบริโภคสนิ ค้าและบริการท่ที าให้ตนได้รับความพอใจมากทีส่ ดุ ( maximumsatisfaction ) ภายใต้ราย ได้จากดั จานวนหนง่ึ2.ผ้ผู ลติ มหี น้าที่รวบรวมปัจจยั การผลิตเพอ่ื นามาผลติ เป็นสนิ ค้าและบริการ เพ่อื นาไปจาหนา่ ยให้แกผ่ ้บู ริโภค โดยมีเปา้ หมายเพ่อื การแสวงหากาไรสงู สดุ (maximum profit)3.เจ้าของปัจจยั การผลติ มีหน้าทเี่ สนอขายปัจจยั การผลติ ไปให้ผ้ผู ลติ เพ่อื ใช้ในกระบวนการผลติ สนิ ค้าหรือบริการผลตอบแทนท่เี จ้าของปัจจยั การผลติ จะได้รับก็แล้วแตช่ นดิ ของปัจจยั การผลติ นนั้วงจรเศรษฐกจิวงจรเศรษฐกจิ คือ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งหนว่ ยครัวเรือนและหนว่ ยธรุ กิจ แบง่ เป็น 2 วงจร คอื1. วงจรเศรษฐกิจแบบดงั้ เดิม2. วงจรเศรษฐกิจแบบใช้เงินเป็นสอ่ื กลางวงจรในระบบเศรษฐกิจแบบดงั้ เดิมเดมิ มนษุ ยเ์ ราต้องทาทกุ อยา่ งเพอ่ื เลยี ้ งชีพด้วยตวั เอง เชน่ หาอาหารเอง สร้างทอี่ ยอู่ าศยั เอง เป็นต้น เมื่อมีความ เจริญขนึ ้ซง่ึ มกี ารแบง่ งานกนั ทาเชน่ คนทถี่ นดั จบั สตั ว์นา้ จะทาหน้าท่จี บั สตั ว์นา้ อยา่ งเดยี ว สว่ นคนท่ีถนดั เพาะปลกู ก็จะปลกู ข้าวตามถนดั แล้วนามาแลกเปลยี่ นกนั ซง่ึ เป็นการแลกเปลย่ี นระหวา่ งสนิ ค้าตอ่ สนิ ค้าโดยตรงจะเกดิ วงจรเศรษฐกิจแบบดงั้ เดิมดงั นี ้วงจรในระบบเศรษฐกิจแบบใช้เงินตราเป็นสอ่ื กลางเมื่อการผลติ และการบริโภคขยายตวั ขนึ ้ การแลกเปลยี่ นโดยใช้สนิ ค้าแลกกบั สนิ ค้าโดยตรงไมส่ ะดวก เช่น จะนาไก่ 1 ตวัมาขอแลกหมเู ป็น ๆ เพยี ง 1 ขา เจ้าของหมคู งไมย่ อมให้แลก เป็นต้น มนษุ ย์จงึ นาเอาเงินเข้ามาเป็นสอื่ กลางในการแลกเปลยี่ น ทาให้วงจรเศรษฐกิจต้องผา่ นขบวนการ 2 ขนั้ คอื ขนั้ แรกครัวเรือน ขายปัจจยั การผลติ ให้ฝ่ายผลติ เสยี กอ่ น

ตอ่ เมือ่ ได้ เงินมาแล้ว ฝ่ายครัวเรือนจงจะนาเงินไปซือ้ หาสนิ ค้าหรือบริการมาสนองความต้องการ จะเกดิ วงจรในระบบเศรษฐกิจแบบใช้เงินตราเป็นสอ่ื กลาง ดงั นี ้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook