Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการบริหารจัดการความเร็วในพื้นที่ชุมชน

แนวทางการบริหารจัดการความเร็วในพื้นที่ชุมชน

Published by Kritsana Mathong, 2021-04-04 06:06:36

Description: แนวทางการบริหารจัดการความเร็วในพื้นที่ชุมชน (เขตกรุงเทพมหานคร เขตเมืองพัทยา เขตเทศบาล) โดยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน

Search

Read the Text Version

แนวทางการบรหิ ารจดั การความเร็ว ในพนื้ ที่ชุมชน (เขตกรุงเทพมหานคร เขตเมืองพัทยา เขตเทศบาล) ธันวาคม ๒๕๕๙ กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั

แนวทางการบริหารจัดการความเร็วในพ้ืนท่ีชุมชน ความเป็นมา ๑. องค์การอนามัยโลกประจาประเทศไทย รายงานว่า ในปี ๒๕๕๘ ประเทศไทยมีผู้เสียชีวิต จากอุบัติเหตุ ๒๔,๒๓๗ คน เฉล่ีย ๒.๖ คน ต่อช่ัวโมง คิดเป็น ๖๖ คนต่อวัน ทาให้ประเทศไทยเป็นอันดับ ๒ ของโลก ที่มีผู้เสียชีวิตมากที่สุด รองจาก ลิเบีย แต่หากนับเฉพาะภายในอาเซียน ไทยเป็นอันดับ ๑ ตามมาด้วย เวยี ดนามและมาเลเซีย ในรายงานขององค์การอนามัยโลก พบว่า ต้ังแต่ปี ๒๕๕๓ เป็นต้นมา จานวนการเสียชีวิต จากอุบัติเหตุการจราจรทางบกเพ่ิมข้ึนใน ๖๘ ประเทศ ร้อยละ ๘๔ เป็นประเทศรายได้น้อยหรือรายได้ปานกลาง ซ่ึงประเทศไทยอยู่ในกลุ่มนี้ และพบว่าจานวนการใช้รถจักรยานยนต์เพ่ิมขึ้นในหลายประเทศ ทาให้มีคนได้รับ บาดเจ็บและเสียชีวิตมากข้ึน โดยเฉพาะในประเทศไทยผู้ประสบอุบัติเหตุทางถนนส่วนใหญ่ คือ เพศชาย กล่มุ วยั ทางาน กล่มุ ท่ีใช้รถจักรยานยนต์ และยังพบวา่ ดชั นคี วามรุนแรงของอบุ ตั ิเหตุเพ่ิมสูงข้ึน อุบัติเหตุแต่ละครั้ง ท่ีเกิดมกี ารเสยี ชีวติ เพ่ิมขน้ึ ซ่ึงมีความเร็วเปน็ สาเหตุหลกั ควบค่กู บั การไม่ใชอ้ ปุ กรณน์ ิรภัย โครงสร้างยานพาหนะ ไมไ่ ดม้ าตรฐาน มีวตั ถุอนั ตรายข้างทาง เช่น ต้นไม้ เสาไฟ และระบบช่วยเหลือฉุกเฉิน ซ่ึงแต่ละปัจจัยจะส่งผลให้ เกิดการเสยี ชวี ติ เพ่มิ ขน้ึ นอกจากน้ี จากรายงานสถานการณ์อุบัติเหตุทางถนนของประเทศไทย พ.ศ. 2558 โดยมูลนิธิ ไทยโร้ดส์ พบว่า ร้อยละ ๗๖ ของอุบัติเหตุบนทางหลวงเกิดจากการใช้ความเร็ว ในจานวนนี้พบว่าส่วนใหญ่ไม่มี คู่กรณีแต่มีอัตราการเสียชีวิตถึงร้อยละ ๓๔ ซ่ึงเกิดจากการใช้ความเร็ว กายภาพของถนนที่ไม่เหมาะสมกับ การขับข่ี ประเภทรถที่ทาให้คนไทยเสียชีวิตมากท่ีสุด คือ รถจักรยานยนต์ คิดเป็นร้อยละ ๗๕ ของผู้ประสบ อบุ ัติเหตจุ ากรถทกุ ประเภท รองลงมาไดแ้ ก่ จักรยาน ร้อยละ ๑๐ และรถยนต์ ร้อยละ ๔ การขับรถด้วยความเร็วสูงเป็นปัจจัยหลักที่ทาให้มีผู้เสียชีวิต ในประเทศพัฒนาแล้ว มีการกาหนดความเร็วอยู่ท่ี ๕๐ กิโลเมตร/ช่ัวโมง ในเขตชุมชนกาหนดความเร็วไว้ที่ ๓๐ กิโลเมตร/ชม. ในส่วนของประเทศไทย กาหนดความเร็วในเมืองที่ ๘๐ กิโลเมตร/ชม. มีผลวิจัยพบว่าการใช้ความเร็วเพียง ๕๐ กโิ ลเมตร/ชม. ชนคนขา้ มถนนมโี อกาสเสยี ชวี ิตถงึ รอ้ ยละ ๘๕ รูปที่ ๑ โอกาสเสียชวี ติ เนื่องจากแรงกระแทกในการชนของรถ ทมี่ า : OECD/ECMT, ๒๐๐๖ ๒

รปู ท่ี ๒ ระยะหยุดที่ความเรว็ แตกตา่ งกัน ที่มา: Directgov, ๒๐๑๑. The Highway Code, Control of the vehicle. Retrieved 7 March ๒๐๑๒ from www.direct.gov.uk รูปท่ี ๓ เปรยี บเทยี บความรนุ แรงของการเกิดเหตุจากการปะทะ/อบุ ตั ิเหตุการชน ท่ีมา : ทบทวนกฎหมายด้านความปลอดภัยทางถนนสาหรับประเทศไทย , ผศ.ดร.ทวีศกั ดิ แตะกระโทก ๓

ตารางท่ี ๑ เปรียบเทียบการกาหนดความเร็วในประเทศรายไดส้ งู ประเภทถนน อตั ราความเร็วที่กาหนด ถนนในเขตเมอื ง ๓๐ -๕๐ กม/ชม ถนนทางหลวงและทางหลวงชนบท ๗๐ – ๑๐๐ กม/ชม ถนนมอร์เตอร์เวย์ ๙๐ – ๑๓๐ กม/ชม ท่ีมา : Speed Management, WHO ๒๐๐๘ ตารางที่ ๒ เปรียบเทยี บการกาหนดความเรว็ ในประเทศรายได้สงู น้อยถงึ ปานกลาง ประเทศ เขตทอ้ งถิน่ เขตเมอื ง อาเจนตินา ๘๐ – ๑๐๐ กม/ชม ๔๐ – ๖๐ กม/ชม - Kerala,อนิ เดีย ๗๐ กม/ชม ๔๐ กม/ชม - Uttar Pradesh, อินเดยี No limit No limit การ์นา ๙๐ กม/ชม ๕๐ กม/ชม อินโดนเี ซยี ๘๐ – ๑๐๐ กม/ชม ๔๐ – ๖๐ กม/ชม มาเลเซีย ๙๐ กม/ชม ๕๐ กม/ชม เนปาล No limit No limit เวยี ดนาม ๔๐ – ๖๐ กม/ชม ๓๐ – ๔๐ กม/ชม อูกานา ๑๐๐ กม/ชม ๖๕ กม/ชม ท่มี า : Speed Management, WHO ๒๐๐๘ นอกจากการใช้ความเร็วแล้ว ปัญหาเร่ืองการบังคับใช้กฎหมายสาหรับประเทศไทย ยังมี ข้อจากดั เชน่ เร่อื งอตั ราความเร็ว บทลงโทษ อย่างไรก็ตาม เม่ือมีการนาเทคโนโลยีมาใช้ควบคุมพฤติกรรมของ ผู้ขับข่ี เช่น การติดจีพีเอส ในประเทศเวียดนาม พบว่า สามารถแก้ไขปัญหาได้ ส่วนในประเทศญ่ีปุ่นพบว่า มีอัตราการลดลงของการเกิดอุบัติเหตุอย่างต่อเน่ือง ซ่ึงเป็นผลมาจากการบังคับใช้กฎหมายอย่างเข้มงวดและ มีการต้ังสถาบันวิจัยบนท้องถนน เพ่ือให้ข้อมูลเก่ียวกับอุบัติภัย โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็นประธานสถาบันวิจัย จงึ ทาให้การบงั คับใช้กฎหมายและการแกไ้ ขปัญหาจริงจังมากข้ึน ๔

๒. ในการประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี ๔ ตุลาคม ๒๕๕๙ ท่ีประชุมได้มีมติเห็นชอบมติ ท่ีประชุมคณะกรรมการนโยบายการป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนแห่งชาติ (คณะกรรมการ นปถ.) ตามที่ รองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) ประธานกรรมการนโยบายการป้องกันและลดอุบัติเหตุ ทางถนนแห่งชาติเสนอ และได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ท่ี นร ๐๕๐๕/ว ๓๑๔ ลงวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๕๙ แจ้งมติ ท่ีประชุมคณะรัฐมนตรีฯ แก่หน่วยงานต่างๆ โดยให้หน่วยงานที่รับผิดชอบในการแก้ไขกฎหมายท้ัง ๕ ประเด็น ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งดาเนินการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กฎกระทรวง ระเบียบ และข้อบังคับท่ีอยู่ใน อานาจหนา้ ที่เพอื่ ใหม้ ผี ลบังคับใช้ในช่วงเทศกาลปใี หม่ ๒๕๖๐ ประกอบด้วย ๑. ประเดน็ เมาแลว้ ขับ แก้ไขจานวน ๕ ประเด็น ประกอบด้วย ๑) กาหนดปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดท่ีเหมาะสม สาหรับผู้ขับข่ีซ่ึงมีอายุไม่ถึงยี่สิบปี บริบูรณ์ ผู้ไม่มีใบอนญุ าตขบั รถ และผ้มู ีใบอนุญาตขบั รถช่วั คราว ใหถ้ ือวา่ เมาสรุ า ๒) เพิ่มอัตราโทษสาหรบั ผู้กระทาความผิดกรณีเมาสุราแล้วขบั ให้สูงขึ้น ๓) ปรับคาส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๔๖/๒๕๕๘ ลงวันท่ี ๓๐ ธันวาคม ๒๕๕๘ ให้เป็นกฎหมายถาวร โดยการแก้ไขพระราชบญั ญัตจิ ราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ๔) กาหนดแนวทางปฏบิ ตั ิของเจ้าหนา้ ท่ีในการตรวจปรมิ าณแอลกอฮอล์ในเลือด เม่ือมี อุบัตเิ หตุเกิดขนึ้ เพอ่ื ใช้เป็นหลักฐานในการดาเนินคดีกรณเี มาแล้วขับ ๕) จดั ทาระบบฐานข้อมูลประวตั ิผกู้ ระทาความผิด (ระบบตรวจสอบผู้กระทาความผิดซ้า) ๒. ประเด็นขบั รถเร็วเกนิ กวา่ กฎหมายกาหนด แกไ้ ขจานวน ๒ ประเดน็ ประกอบดว้ ย ๑) ลดความเร็วในเขตเมืองให้เหมาะสม ๒) เพม่ิ อัตราโทษสาหรับผู้กระทาความผิดให้สงู ขน้ึ ๓. ประเด็นการไดม้ าซง่ึ ใบอนญุ าตขบั รถ แก้ไขจานวน ๓ ประเดน็ ประกอบด้วย ๑) เพิม่ ความเข้มงวดในการออกใบอนญุ าตขบั รถ “ออกยาก ยึดงา่ ย” ๒) เพิกถอนใบอนญุ าตขบั รถให้ครอบคลุมการขบั รถสว่ นบุคคล ๓) เพ่ิมอัตราโทษให้สูงข้ึนและเพ่ิมบทกาหนดโทษ สาหรับผู้ขับรถโดยไม่ได้รับ ใบอนุญาตขับรถ และเจ้าของรถ หรือคนขับรถยินยอมให้ผู้ซึ่งไม่มีใบอนุญาตขับรถหรือมีใบอนุญาตขับรถประเภทอื่น ทีใ่ ชแ้ ทนกันไมไ่ ดเ้ ข้าขับรถของตนหรอื รถท่ตี นเป็นคนขับ ๔. ประเดน็ รถโดยสารสาธารณะ แก้ไขจานวน ๒ ประเดน็ ประกอบด้วย ๑) การกาหนดเง่ือนไขเพ่ิมเติมในการขอรับใบอนุญาตประกอบการขนส่ง เพื่อสร้าง มาตรฐานความปลอดภยั ของรถโดยสารสาธารณะ ๒) ปรับปรุงระบบการเยียวยาเพ่ือคุ้มครองและให้ความเป็นธรรมกับผู้ที่ได้รับ ผลกระทบ ๕. ประเดน็ การคาดเข็มขดั นริ ภัย แก้ไขจานวน ๑ ประเด็น ประกอบด้วย - ให้มขี อ้ กาหนดการคาดเข็มขดั นิรภัยสาหรบั ผ้โู ดยสารทุกทน่ี ัง่ ในรถยนต์ ๕

สาหรับประเด็นการขับรถเร็วเกินกว่ากฎหมายกาหนด ได้มีการดาเนินการในส่วนของการกาหนด ความเร็วท่ีเหมาะสม เน่ืองจากไม่ต้องแก้กฎหมายใด ซึ่งมติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบให้หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ดาเนินการ ดังนี้ ๑) ให้กระทรวงคมนาคมจัดทาข้อแนะนาความเร็วที่เหมาะสมใน พ้ืนที่ชุมชน ให้สอดคล้องกับถนนแต่ละประเภท และแจ้งไปยังคณะอนุกรรมการจัดระบบการจราจรทางบกจังหวัด (อจร. จงั หวัด) ตามตารางท่ี ๑ ๒) ให้เจา้ พนักงานจราจรออกประกาศข้อบังคับกาหนดความเร็ว ตามข้อแนะนาความเร็วท่ี เหมาะสมในเขตชุมชน ข้อ 1) โดยให้ผ่านการพิจารณาเห็นชอบจากคณะอนุกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก จังหวดั 3) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงานผู้รับผิดชอบกากับดูแลสายทาง จัดทา และติดต้ังป้ายกาหนดความเร็วในแต่ละจุดให้พอเพียงและชัดเจนตามมาตรฐาน เพ่ือประชาสัมพันธ์ ผูใ้ ชร้ ถใชถ้ นนใหท้ ราบและถอื ปฏบิ ัติ เพื่อควบคุมความเร็ว ความปลอดภยั ในการขบั ข่ี 4) สาหรับในเขตกรุงเทพมหานครให้สานักงานตารวจแห่งชาติประสานหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้องในการกาหนดแนวทางวิธีปฏิบัติเรื่องความเร็วท่ีเหมาะสม เช่น การบังคับใช้กฎหมาย การจัดทาป้าย กาหนดอตั ราความเรว็ และการส่ือสารประชาสัมพนั ธใ์ ห้ประชาชนในพน้ื ท่รี ับรู้ เปน็ ต้น 5) ให้กระทรวงมหาดไทยแจ้งศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนนจังหวัดดาเนินการ ร่วมกับคณะอนุกรรมการจัดระบบการจราจรทางบกจังหวัดในการกาหนดอัตราความเร็วท่ีสอดคล้องตามบริบท ของพ้ืนท่ี การดาเนินการ ๑. การกาหนดนยิ ามและมาตรฐานความเรว็ กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ในฐานะเลขานุการ ศูนย์อานวยการความปลอดภัย ทางถนน (ศปถ.) ได้จดั ให้มกี ารประชมุ ไดจ้ ัดให้มกี ารประชุมหารอื เก่ียวกับการปรบั ปรุงแก้ไขกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง กับความปลอดภัยทางถนน ในประเด็นขับรถเร็วเกินกว่ากฎหมาย เพ่ือกาหนดแนวทางการใช้ความเร็ว ที่เหมาะสม โดยหน่วยงานที่เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ปภ. สานักงานตารวจแห่งชาติ (ตร.) กรมทางหลวง (ทล.) สานกั นโยบายและขนสง่ และการจราจร (สนข.) และนกั วชิ าการผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน ๓ ครั้ง โดยท่ีประชุม มขี ้อสรุป ดังนี้ ๑. การกาหนดนิยาม คาวา่ “พ้ืนทีช่ ุมชน” หมายถึง ๑) บริเวณที่มีบ้านเรือน อาคาร และการพัฒนาของพื้นที่ข้างเขตทาง หรือสถาบันการศึกษา หรือสถานพยาบาล ๒) มกี ารสัญจรของประชาชนในพื้นที่ เช่น การเขา้ ออกจากตรอก ซอก ซอย หรือทางเชื่อม การขา้ มทาง การจอดรถ การใช้จักรยานโดยที่ไมม่ พี ื้นทห่ี รอื อุปกรณ์กนั้ ๖

๓) มีกิจกรรมทีท่ าใหป้ ระชาชนมาชมุ นมุ กนั เปน็ จานวนมากข้างเขตทาง เช่น ตลาดนัด หรือ ตลาดชุมชนท้องถ่ิน และย่านการค้า เป็นตน้ ๔) บรเิ วณ หรอื สถานท่ีอื่นซ่ึง อจร. จังหวัด มคี วามเห็นเป็นกรณีพิเศษ ๒. การกาหนดมาตรฐานความเร็ว ที่ประชุมได้จัดทาข้อแนะนาการควบคุมความเร็วในพื้นท่ี ชุมชน ในเขตกรงุ เทพมหานคร เขตเมืองพทั ยา หรอื เขตเทศบาล โดยจัดตามประเภทของรถยนต์และจานวนช่อง จราจร ตามตารางที่ ๑ ข้อแนะนาการควบคุมความเร็วในพื้นที่ชุมชน ในเขตกรุงเทพมหานคร เขตเมืองพัทยา หรือเขตเทศบาล ตาม พรบ. จราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และจัดทาป้ายกาหนดความเร็วโดยจาแนกความเร็ว ตามประเภทของรถ และจานวนช่องจราจร แตท่ ้งั น้ี ความเร็วนอกเขตกรงุ เทพมหานคร เขตเมืองพัทยา หรือเขต เทศบาล ยังคงใช้ความเร็วคงเดิมตามตามกฎกระทรวงฉบับท่ี ๖ (พ.ศ. ๒๕๒๒) ออกตามความใน พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ และกฎกระทรวงฉบับท่ี ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๒๔) ออกตามความใน พระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ๗

ตารางท่ี ๑ ขอ้ แนะนาการควบคุมความเร็วในพน้ื ท่ีชมุ ชน ในเขตกรุงเทพมหานคร เขตเมอื งพัทยา หรือเขตเทศบาล ตาม พระราชบญั ญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ จากดั ความเร็วในพื้นท่ีชุมชน (เขต กทม. เขตเมืองพัทยา หรือเขตเทศบาล)ไมเ่ กนิ (กม./ชม.) ประเภทที่ ๑ ประเภทท่ี ๒ ประเภทที่ ๓ รถบรรทกุ ท่ีมนี า้ หนักรถ รถยนตอ์ ืน่ นอกจากรถทีร่ ะบุ รถยนตอ์ ่นื นอกจากรถทร่ี ะบุ รวมทั้ง นา้ หนักบรรทุกเกนิ ใน ๑ ขณะที่ลากจูงรถพ่วง ๑,๒๐๐ กิโลกรมั หรือ รถยนต์บรรทุกที่มนี ้าหนกั รถ ใน ๑ และ ๒ หรือ รถบรรทุกคนโดยสาร รวมท้ังนา้ หนกั บรรทกุ เกิน รถจักรยานยนต์ ประเภทถนน ๑,๒๐๐ กิโลกรัม หรอื รถยนต์สามล้อ ความเร็วตาม ความเรว็ ความเรว็ ตาม ความเร็ว พ.ร.บ. จราจร ใหม่ ความเร็วตาม พ.ร.บ. ใหม่ พ.ร.บ. ความเร็ว ทางบก จราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ จราจรทางบก ใหม่ พ.ศ. ๒๕๒๒ พ.ศ. ๒๕๒๒ ๔๐๒ ช่องจราจร ๖๐ ๔๕ ๔๐ ๘๐ ๔๐ ๔ ชอ่ งจราจร ๖๐ ๕๐ ๔๕ ๔๕ ๘๐ ๕๐ (ไม่มเี กาะ กลาง) ๔ ชอ่ งจราจร ๖๐ ๔๕ ๘๐ ๕๐ ๔๕ ๕๐(มเี กาะกลาง) มากกวา่ ๔ ๖๐ ๖๐ ๔๕ ๔๕ ๘๐ ๖๐ ชอ่ งจราจร ๘

เงอ่ื นไขการใชข้ อ้ แนะนาการควบคุมความเรว็ ในพน้ื ที่ ชมุ ชน ๑. ขดี จากัดความเร็วจะดาเนนิ การตามข้อแนะนาการควบคุมความเร็วในพื้นท่ีที่เป็นชุมชนตามคาจากัด ความของกฎกระทรวงฉบับท่ี ๖ และฉบับที่ ๑๐ ออกความตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึ่งหมายถึง พ้นื ทใ่ี นเขตกรงุ เทพมหานคร เขตเมอื งพัทยา หรอื เขตเทศบาล ๒. พน้ื ท่ีชมุ ชน หมายถึง ๑) บริเวณที่มีบ้านเรือน อาคาร และการพัฒนาของพ้ืนท่ีข้างเขตทาง หรือสถาบันการศึกษา หรอื สถานพยาบาล ๒) มกี ารสญั จรของประชาชนในพนื้ ท่ี เชน่ การเข้าออกจากตรอก ซอก ซอย หรือทางเชื่อม การขา้ มทาง การจอดรถ การใช้จักรยานโดยท่ไี ม่มีพื้นทีห่ รอื อปุ กรณ์กั้น ๓) มีกจิ กรรมทท่ี าให้ประชาชนมาชมุ นมุ กนั เปน็ จานวนมากข้างเขตทาง เช่น ตลาดนัด หรือ ตลาดชมุ ชนทอ้ งถ่ิน และย่านการค้า เปน็ ตน้ ๔) บรเิ วณ หรอื สถานทีอ่ ่นื ซ่ึง อจร. จงั หวดั มีความเหน็ เปน็ กรณีพิเศษ ๓. สาหรบั ทางหลวงนอกพ้ืนท่ีชมุ ชน ใหใ้ ชข้ ดี จากัดความเร็วตามกฎหมายที่มอี ยู่ ๔. หากสภาพทางกายภาพทางถนนไม่เหมาะสม (เช่น ทางโค้ง หรือ ช่องจราจรแคบ เป็นต้น) ผู้เกี่ยวข้อง อาจพิจารณาปรบั ลดความเร็วตามความเหมาะสมทางวศิ วกรรม ๕. ขดี จากดั ความเรว็ ท่เี สนอเปน็ ความเร็วที่แนะนาฯ สามารถใช้ค่าที่แตกต่างออกไปได้ แต่หากต้องการ จะใชค้ วามเรว็ ท่มี ากกว่าขอ้ แนะนาฯ แตไ่ ม่เกนิ ทก่ี ฎหมายกาหนด ตอ้ งขอความเหน็ ชอบของ อจร. ๙

แนวทางการจัดทาปา้ ยจากดั ความเร็ว ความเรว็ ของรถแต่ละประเภทได้ถูกกาหนดตามกฎกระทรวงฉบบั ที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๒๒) และฉบบั ท่ี ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๒๔) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิจราจรทางบก พ.ศ. ๒๕๒๒ ใหก้ าหนดความเร็วสาหรับรถ ดังน้ี ในเขตกรุงเทพมหานคร นอกเขตกรงุ เทพมหานคร เขตเมืองพัทยา เขตเมืองพัทยา หรือเขตเทศบาล หรือเขตเทศบาล ๑๐

แนวทางการจดั ทาปา้ ยกาหนดความเรว็ ทเี่ หมาะสมในพื้นที่ชุมชน (เขตกรงุ เทพมหานคร เขตเมอื งพัทยา หรอื เขตเทศบาล) จาแนกตามประเภทของรถ และจานวนช่องจราจร จานวน ๒ ชอ่ ง จานวน ๔ ช่องจราจร (ไมม่ เี กาะกลาง) 40 45 40 50 40 50 จานวน ๔ ช่องจราจร จานวนมากกว่า ๔ ช่อง (มีเกาะกลาง) จราจร 45 45 50 60 50 60 ๑๑

๒. กระบวนการขบั เคลื่อนงาน ๒.๑ แนวทางการดาเนินงาน มติที่ประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ท่ีเห็นชอบตามมติท่ีประชุมคณะกรรมการนโยบายการ ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนแห่งชาติ (คณะกรรมการ นปถ.) ในประเด็นขับรถเร็วเกินกว่ากฎหมายกาหนด ซึ่งให้กระทรวงคมนาคมจัดทาข้อแนะนาความเร็วที่เหมาะสมในพื้นที่ชุมชนให้สอดคล้องกับถนนแต่ละประเภท และแจ้งไปยังคณะอนุกรรมการจัดระบบการจราจรทางบกจังหวัด (อจร. จังหวัด) เพื่อใช้เป็นข้อมูลแนวทางใน การดาเนนิ การและให้เจ้าพนักงานจราจรออกประกาศข้อบังคับกาหนดความเร็วโดยต้องผ่านความเห็นชอบจาก คณะอนกุ รรมการจดั ระบบการจราจรทางบกจังหวัด โดยนาข้อแนะนาความเร็วในเขตชุมชนประยุกต์ใช้กับพื้นที่ ให้เหมาะสม กระทรวงมหาดไทยแจ้งศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนนจังหวัดดาเนินการร่วมกับ คณะอนุกรรมการจัดระบบการจราจรทางบกจังหวัดในการกาหนดอตั ราความเร็วท่สี อดคล้องตามบริบทของพ้ืนท่ี องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ และหนว่ ยงานผู้รบั ผิดชอบกากับดูแลสายทาง จัดทาและติดตั้งป้ายกาหนดความเร็ว ในแต่ละจุดให้พอเพียงและชัดเจนตามมาตรฐาน เพื่อประชาสัมพันธ์ผู้ใช้รถใช้ถนนให้ทราบและถือปฏิบัติ เพอ่ื ควบคมุ ความเร็ว ความปลอดภยั ในการขับขี่ ๒.๒ การดาเนินการในระดบั พ้ืนท่ี ศูนย์วิชาการเพ่ือความปลอดภัยทางถนน (ศวปถ.) จัดการประชุมเพ่ือซักซ้อมแนวทางปฏิบัติ โดยประกอบด้วย คณะอนุกรรมการจัดระบบการจราจรทางบก (อจร. จังหวัด) เจ้าพนักงานจราจรในท้องท่ี และ สานกั งานปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั (ปภ. จงั หวัด) ท้ังนี้ คณะอนุกรรมการจัดระบบการจราจร ทางบก (อจร.) จะจัดประชุมเพ่ือกาหนดความเร็วที่เหมาะสมในแต่ละพ้ืนที่ และเมื่อได้ข้อกาหนดความเร็ว ท่ีเหมาะสม เจ้าพนักงานจราจรจะออกประกาศในราชกิจจานุเบกษา ซึ่งองค์การปกครองส่วนท้องถ่ิน (อปท.) และหน่วยงานเจา้ ของเสน้ ทางจะดาเนินการติดต้ังป้ายกาหนดความเร็วทีเ่ หมาะสมต่อไป ๑๒

สรปุ ข้ันตอนการดาเนนิ การระดบั จังหวัด ๑. เสนอรายงาน ผวจ. - รับทราบ สนับสนุน และสัง่ การ ติดตาม - กาหนดเป้าหมาย (จานวน , พนื้ ท่)ี ๒. ประชุม อจร. - มอบหมายนาเขา้ ทปี่ ระชุมกรรมการจังหวดั , ศปถ. จงั หวดั และ อจร. ๓. แจ้งอาเภอ อปท. หนว่ ยงาน องคก์ ร - ทาความเข้าใจ นโยบาย วัตถุประสงค์ ของ นปถ./ ศปถ. และมติ ครม. นิยามอัตราความเร็ว พรบ. การ ออกประกาศ การสง่ ออกภารกจิ - ซักซ้อมแนวทางดาเนินการ ประชุม ออกประกาศเจ้า พนกั งานจราจร การปกั ป้ายลดความเร็ว ฯลฯ - เพ่ือรบั ทราบและร่วมสนับสนุน - พจิ ารณาพ้ืนท่ีชมุ ชนท่ีสมควรลดความเร็วพรอ้ มเหตุผล จุดพิกัด สง่ ให้จังหวัด - อาเภอ อปท. กากับ ติดตาม ดูแล ๔. จัดประชุม อจร. - พจิ ารณามมี ติ เ พ่ื อ พิ จ า ร ณ า พื้ น ที่ - มอบหมายหน่วยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งดาเนนิ การต่อ ชุมชนลดความเรว็ - ตารวจภูธรจังหวัดออกประกาศ และรายงาน สตช. ๕. เสนอผู้วา่ ฯ พจิ ารณาลงราชกจิ จานุเบกษา - อปท./ทล./ทช. หน่วยงานท่ีรับผิดชอบ จัดทาป้ายลด ความเร็วตามมาตรฐาน - เพือ่ รบั ทราบมติ อจร. - รายงาน ศปถ. จังหวดั ๖. รายงานส่วนกลาง/ เพือ่ รับทราบผลการดาเนินการ สตช./คจร. ๗. จดั ประชมุ อจร. พจิ ารณาคร้งั ต่อไป ๑๓

คณะอนกุ รรมการจัดระบบการจราจรทางบก (อจร.) คณะกรรมการจัดระบบจราจรทางบก (คจร.) ประเดน็ การพิจารณาของ อจร. จังหวดั มคี าสงั่ ท่ี ๓/๒๕๕๓ – ๗๗/๒๕๕๓ และคาสงั่ คจร. ที่ ๒/๒๕๕๕ ลงวนั ท่ี ๒๑ ตุลาคม ๑. ปัญหาจราจรในพืน้ ที่ ๒๕๕๕ แตง่ ตง้ั อจร. ๗๖ จงั หวดั ๒. ขับเคลือ่ นและติดตามการดาเนินงานตาม แผนแมบ่ ทด้านดารขนส่งและจราจรในเมือง อานาจหนา้ ที่สาคญั ของ อจร. จังหวดั มดี ังนี้ ภมู ิภาค ๑. พิจารณาการแกป้ ัญหาการจราจรและขนส่งใน ๓. แก้ไขปัญหาระบบการขนส่งสาธารณะและ จงั หวัด ผลกั ดันพฒั นาระบบขนส่งสาธารณ.อยา่ งยัง่ ยืน ๒. กาหนดมาตรการแกไ้ ขปญั หาจราจรและขนส่ง ๔. การพจิ ารณาแผนการดาเนนิ งานเพ่ือการ กากับ ดูแล และเรง่ รัดการปฏิบตั งิ านของหน่วยงานที่ แก้ปญั หาการขนส่งและจราจร เก่ียวขอ้ ง ๕. เร่ืองอ่นื ๆ อาทเิ ช่น การใช้ท่ดี นิ ราชพสั ดุ ๓. ประสานการปฏิบตั ิงานใหเ้ ป็นไปตามมาตรการ การแตต่ ัง้ ผูท้ รงคุณวฒุ ิใน อจร. จังหวัด การ และแผนงาน/โครงการที่กาหนด แต่งตั้งคณะทางานท่ีเก่ียวข้อง เป็นตน้ ๑๔

กฎหมายท่เี กยี่ วข้อง ๑๕

๑๖

๑๗

๑๘

จดั ทาโดย กองบูรณาการความปลอดภัย๑ท๙างถนน โทรศพั ท์ / โทรสาร ๐ ๒๒๔๓ ๒๒๑๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook