Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการพัฒนาภาษาไทย

แนวทางการพัฒนาภาษาไทย

Published by chatchanok2517, 2021-01-11 09:15:22

Description: แนวทางการพัฒนาภาษาไทย

Search

Read the Text Version

คำนำ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้กำหนดนโยบายสำคัญให้นักเรียนทุกระดับช้ัน อ่านออก เขียนได้ อ่านคล่องเขียนคล่อง และสื่อสารได้เพื่อเป็นการวางรากฐานในการเรียนรู้ โดยใน ปีงบประมาณ 2564 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 ได้กำหนดเป้าหมายให้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 และ 2 อ่านออกเขียนได้ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ขึ้นไปต้องอ่านคล่อง เขียนคล่อง และสื่อสารได้ และเพื่อให้การดำเนินงานจากนโยบายสู่การปฏิบัติเป็นรูปธรรมชัดเจนยิ่งข้ึน สถานศกึ ษาในสงั กดั สามารถดำเนินงานได้เป็นไปในทิศทางเดียวกนั โดยคำนงึ ถงึ ความสอดคล้องของบริบท และพื้นที่ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 จึงได้จัดทำ “แนวทางการดำเนินงาน ขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยสู่ความสำเร็จ ปีงบประมาณ 2564” ขึ้นเพื่อให้ การดำเนินงานอยา่ งเปน็ ระบบและเช่อื มโยงกบั ภารกจิ ของสถานศึกษา ในโอกาสนี้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 ขอขอบคุณครูผู้สอน และ ผู้บริหารสถานศึกษาทุกท่าน ที่ให้ความสำคัญในการขับเคลื่อนการนำนโยบายสู่การปฏิบัติในระดับ สถานศกึ ษา เพื่อพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นอยา่ งเต็มท่ี (นายอภริ ักษ์ อมิ่ จติ อนุสรณ์) ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1

สารบญั เร่ือง หนา้ มาตรการพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย 1 สว่ นท่ี 1 บทนำ 2 2 เป้าหมายของการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย 2 วตั ถปุ ระสงค์ของการดำเนินงาน 3 ส่วนที่ 2 แนวทางการดำเนนิ งาน 4 5 ปฏทิ ินการดำเนินงาน 5 ส่วนที่ 3 ตัวอย่างวิธีสอนการอ่าน การเขยี น ภาษาไทย 6 6 ลำดบั ขั้นในการสอนให้นกั เรียนอา่ นออกเขียนได้ 7 เทคนิคการสอนภาษาไทยด้วยบันได 4 ข้ัน 8 วิธีการสอนแบบโฟนิกส์ 9 แนวทางการสอนภาษาไทยแบบแจกลูกสะกดคำ ของ สพป.แพร่ เขต 1 ตวั อยา่ งแบบประเมินการอ่านการเขียนภาษาไทย ช้ันป.1 คณะทำงาน

1 มาตรการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนภาษาไทย สำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 ๑. สง่ เสรมิ ให้สถานศกึ ษาคัดกรองความสามารถในการอ่าน การเขยี น ของนักเรียนทุกระดับช้ัน ๒. สง่ เสริมการจัดการเรียนร้ภู าษาไทยด้วยกิจกรรมการสอนทกั ษะที่สัมพนั ธ์กนั ทั้งด้านการฟงั ดู พดู อ่าน และเขยี น โดยเนน้ การจดั การเรียนรเู้ ชงิ รุก Active Learning ทุกระดบั ช้ัน ๓. สง่ เสรมิ การเรยี นรใู้ ห้นกั เรียนอา่ นออกเขยี นไดอ้ า่ นคล่อง เขียนคลอ่ ง อ่านรเู้ ร่อื ง (อ่านเขา้ ใจ) สามารถสอ่ื สาร และแสดงทรรศนะ (ความเห็น) ได้ ๔. ส่งเสริมนกั เรียนให้ท่องจำ กฎเกณฑท์ างภาษาทตี่ ้องรู้ เช่น เสียง และอกั ษรไทย (สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต์) การผันวรรณยุกต์ ไตรยางศ์ (อักษรสามหมู่) รวมถึงกฎเกณฑ์ทางภาษาอื่น ๆ ท่จี ำเป็น ๕. ส่งเสรมิ การอ่าน การเขยี น เรยี นร้คู ำ และความหมายจากคำพ้ืนฐานคำในบทเรยี น คำที่ นกั เรียนควรรคู้ ำในชีวิตประจำวัน เชน่ ฝกึ เขียนตามคำบอกฝึกเขียนคำยาก คำทม่ี ักเขียนผดิ คำศัพทบ์ ัญญัติ ต่าง ๆ เป็นต้น ๖. ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นทอ่ งอาขยานภาษาไทยท้งั บทหลกั บทเลือกหรือบทเพิ่มเติมทกุ ระดับชัน้ ๗. ส่งเสรมิ พัฒนาทักษะการเขียนลายมือ การเขียนเลขไทยและแกไ้ ขปัญหาลายมือนกั เรียน ทกุ ระดับชนั้ ๘. สง่ เสริมการฝึกทักษะการเขียนและเขยี นเชิงสร้างสรรค์ ในรูปแบบตา่ ง ๆ เช่นเขียนจดบนั ทกึ เขียนเรื่องจากภาพ เขียนเรียงความ ย่อความ เขียนแสดงความคิดเห็น เขียนคำคล้องจอง คำประพันธ์ ทุกระดบั ชั้น 9. สง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมส่งเสรมิ นสิ ยั รักการอา่ น การศึกษาคน้ คว้าทกุ ระดบั ชั้น 10. ส่งเสรมิ สนับสนุนนักเรียนใหเ้ ขา้ ร่วมประกวด แขง่ ขัน ทกั ษะทางวชิ าการ ด้านภาษาไทยใน ระดับต่าง ๆ อย่างหลากหลาย 11. ส่งเสริมการวิจยั ในชัน้ เรยี น และการวเิ คราะห์วิจยั สร้างนวัตกรรมแก้ปญั หาหรือพฒั นา การจดั การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย 12. สง่ เสรมิ ให้ครใู ช้กระบวนการ PLC (Professional Learning Community) ในการแกป้ ัญหา พัฒนาการเรยี นการสอนภาษาไทย และ เรง่ รัดคุณภาพการอ่านออก เขียนได้

1 สว่ นท่ี 1 บทนำ การเรียนรู้ภาษาไทยเป็นเครื่องมือสำคัญในการพัฒนา และส่งเสริมความรู้ความคิดให้กับเยาวชน ของประเทศในศตวรรษที่ 21 เนื่องจากภาษาไทยเป็นเครื่องมือสำคัญในการแสวงหาความรู้ ติดต่อสื่อสาร และสร้างสัมพันธภาพและความเข้าใจอันดีต่อกัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 ตระหนักถึงความสำคัญ ดังกล่าว จึงกำหนดนโยบายมุ่งเน้นให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการ พฒั นาคณุ ภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ไปสเู่ ปา้ หมายทก่ี ำหนด สำหรับการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ในปีงบประมาณ 2564 มีจุดเน้นสำคัญ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการคือ นกั เรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที ี่1 - 3 ตอ้ งอ่านออก เขียนได้ มีทกั ษะ การเขยี นคดั ลายมือ การออกแบบการเรียนรู้เชงิ รุก Active Learning ผ่านการจดั การเรียนรู้ที่หลากหลาย ส่งผลให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถ และใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสิทธิภาพมากยิ่งข้นึ เปา้ หมายของการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนภาษาไทย ยกระดับผลการประเมินการอ่าน (RT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 การประเมินคุณภาพผู้เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 (NT) และผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O – NET) วิชาภาษาไทย ใหม้ ากกวา่ รอ้ ยละ 50 นักเรียนสังกดั สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 ทุกคน มีทักษะ การอ่าน การเขียน การคดิ วเิ คราะห์ เขียนสือ่ ความ ตามาตรฐานทหี่ ลกั สูตรกำหนด วัตถุประสงคข์ องการดำเนนิ งาน 1. เพอื่ ให้ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน บคุ ลากรทางการศกึ ษา ให้ความสำคัญ มคี วามตระหนกั และร่วมมือกันในการพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย และแก้ปัญหานกั เรยี นอ่านไม่ออกเขยี น ไม่ได้ 2. เพอื่ ใหค้ รูผ้สู อนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ในสถานศึกษามคี วามรูค้ วามเข้าใจ สามารถเชื่อมโยง การเรยี นรสู้ ู่การพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนภาษาไทยได้ 3. เพ่ือใหน้ กั เรยี นมีความรู้ความสามารถดา้ นการอ่าน การเขยี น ตามมาตรฐานที่หลกั สตู รกำหนด

2 ส่วนที่ 2 แนวทางการดำเนินงาน แนวทางการดำเนนิ งานพัฒนาคุณภาพการเรยี นการสอนภาษาไทย และ เร่งรดั คณุ ภาพการอา่ น ออก เขยี นได้ “7 ส เรง่ รัดคุณภาพการอา่ นออก เขียนได้” 1. สรา้ ง : สรา้ งความตระหนักประกาศมาตรการด้านการแกป้ ญั หานักเรยี นอ่านไม่ออก เขยี น ไมไ่ ด้ และพฒั นาคุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ในระดับเขตพน้ื ท่ีการศึกษา ระดับกลุ่มเครือขา่ ย การศกึ ษา และระดบั สถานศึกษา 2. สำรวจ : คัดกรองจัดกลุ่มเดก็ สถานศกึ ษาดำเนินการคัดกรองความสามารถด้านการอ่าน และการเขยี นภาษาไทยของนักเรียนในแตล่ ะระดบั ชัน้ โดยแยกเปน็ เปน็ กลุ่มเก่ง ปานกลาง ออ่ น 3. สอ่ื : สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษารวบรวมสื่อ สนบั สนุนสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาใช้ กระบวนการ PLC เพื่อวางแผนแกป้ ญั หา สง่ เสรมิ ครผู สู้ อนผลติ สื่อ และพัฒนานวัตกรรม เพอ่ื แกป้ ัญหา นกั เรยี นอ่านไม่ออก เขียนไมไ่ ด้ 4. สอน : ใชว้ ธิ สี อนทีส่ อดคลอ้ งกับศักยภาพความต้องการของนักเรียนตามสภาพ และบรบิ ท เพื่อใหน้ ักเรยี นอ่านออกเขยี นได้ โดยเน้นการจัดการเรยี นรู้เชิงรกุ Active Learning 5. สอบ : ประเมนิ การอ่าน การเขยี น ตามปฏิทินของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน หรอื ปฏทิ นิ ท่สี ถานศึกษากำหนดข้นึ ทุกระดับช้ันโดยบนั ทกึ ผลการประเมนิ รายคน รายดา้ น และ รายช้ันเรยี น 6. เสริม : วเิ คราะหผ์ ลประเมนิ การอ่าน การเขียน รายคน รายด้านเพอื่ ให้ทราบปญั หาท่ีแทจ้ ริง นำผลมาสง่ เสรมิ เด็กเก่ง แกป้ ัญหาเดก็ ออ่ นโดยการสอนซ่อมเสริม /ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษานิเทศภายในอย่าง ต่อเนื่อง /ศึกษานิเทศก์นิเทศชว่ ยเหลือเพ่ือชแี้ นะ 7. สนับสนุน : จัดกจิ กรรมทา้ พสิ ูจน์นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 - ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 3 อ่านออกเขยี นได้ 100 % มอบเกียรติบตั ร โล่รางวัล โรงเรียน และครทู ี่แก้ปญั หาการอ่านการเขยี น ประสบผลสำเร็จ

3

4 ปฏิทนิ การดำเนนิ งาน กจิ กรรมสำคญั แนวการดำเนนิ งาน ระยะเวลา 1. สร้าง : สร้างความ 1. สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา 2563 ตระหนกั โดยการประกาศ ประถมศกึ ษาแพร่ เขต 1 ประกาศมาตรการ มาตรการดา้ นการแก้ปญั หา นกั เรียนอ่านไม่ออก เขยี น พฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอนภาษาไทย ไมไ่ ด้ และพฒั นาคุณภาพ ระดับเขตพืน้ ที่ การเรยี นการสอนภาษาไทย ในระดับเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา 2. สถานศกึ ษาประกาศมาตรการพัฒนา ระดับกลมุ่ เครือข่าย คุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทย ระดบั สถานศึกษา การศึกษา และระดับ สถานศกึ ษา 2. สำรวจ : คดั กรองจดั ครปู ระจำช้ันทกุ ชั้นเรยี นคดั กรองความสามารถ เปดิ ภาคเรียน กลมุ่ เด็ก สถานศกึ ษา ดา้ นการอ่านการเขยี น นกั เรยี นรายคน เพื่อจัด ภาคเรยี นท่ี 1 ดำเนนิ การคัดกรอง กลุม่ เดก็ เก่ง ปานกลาง อ่อน จัดทำข้อมูลเด็ก ความสามารถด้านการอา่ น รายบคุ คล ระดับชน้ั เรียน ภายในเดือน ภาคเรียนท่ี 2 และการเขียนภาษาไทยของ พฤษภาคม ของทุกปี ยกเว้น ชนั้ ประถมศึกษา นกั เรยี นในแตล่ ะระดบั ชัน้ ปที ี่ 1 ใหด้ ำเนินการในเดือนแรกของ โดยแยกเป็น เปน็ กลุ่มเกง่ ภาคเรียนที่ 2 ปานกลาง อ่อน 3. สือ่ : สำนักงานเขต 1. สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษารว่ มกับ ชมรม พ้ืนที่การศกึ ษารวบรวมส่อื ครูวิชาการภาษาไทย รวบรวมสื่อการเรียน สนับสนนุ สถานศึกษา การสอนภาษาไทยทุกระดบั ชนั้ เผยแพร่ เพ่ือ ผบู้ ริหารสถานศึกษาสง่ เสริม ส่งเสรมิ สนับสนนุ ครผู สู้ อนผลิตสอ่ื และพฒั นา 2. ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาใชก้ ระบวนการPLCใน นวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหา การวางแผนแก้ปัญหา สนบั สนุนครผู ้สู อนใน นกั เรียนอ่านไม่ออก เขยี น การสรา้ งสอื่ และพฒั นานวัตกรรม ไมไ่ ด้ 3. ครูผู้สอนพฒั นานวัตกรรมการเรยี น การสอนภาษาไทย และแก้ปัญหาการอ่าน การเขียนวางแผนการใชส้ ือ่ การเรยี นการสอนให้ เหมาะสมกับการแกป้ ัญหาเด็กแต่ละกลุ่ม โดย ดำเนินการจัดหา หรือผลติ สอื่ การเรียนการสอน ท่ีหลากหลาย เนน้ ใหเ้ ดก็ ไดป้ ฏิบัตใิ ห้เด็กได้ สมั ผัส

5 กิจกรรมสำคัญ แนวการดำเนินงาน ระยะเวลา 4. สอน : ใช้วิธสี อนท่ี 1. สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาสง่ เสรมิ การ ตลอดภาคเรยี น สอดคล้องกับศักยภาพความ จดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ Active Learning ต้องการของนกั เรยี นตาม 2. ครูผูส้ อนออกแบบการจัดการเรยี นร้เู ชงิ รุก สภาพ และบรบิ ทเพ่ือให้ Active Learning โดยใช้วธิ สี อนท่สี อดคลอ้ งกับ นกั เรยี นอ่านออกเขียนได้ ศกั ยภาพความต้องการของนักเรยี นตามสภาพ โดยเนน้ การจดั การเรยี นรู้ และบรบิ ทเพอ่ื ใหน้ ักเรยี นอ่านออกเขยี นได้ เชิงรกุ Active Learning 5. สอบ : ประเมินการอ่าน 1. สำนักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษา สงิ หาคม 2563 การเขียน ตามปฏิทินของ แพร่ เขต 1 แจง้ ปฏทิ นิ การประเมนิ การอา่ น ธนั วาคม 2563 สำนกั งานคณะกรรมการ การเขียน สง่ เครื่องมือ และโปรแกรมวิเคราะห์ การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน หรือ ผลการประเมินให้สถานศึกษา ปฏิทนิ ที่สถานศึกษากำหนด 2. สถานศึกษาดำเนินการประเมินการอ่าน ขน้ึ ทุกระดับช้ันโดยบันทกึ การเขียน โดยบนั ทึกผลการประเมินรายคน ผลการประเมนิ รายคน ราย รายข้อ / ด้าน / รายชัน้ เรียน ด้าน และรายชน้ั เรียน 6. เสรมิ : วเิ คราะหผ์ ล 1. สำนกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษา ตลอดภาคเรียน ประเมินการอา่ น การเขียน แพร่ เขต 1 สรุปผลระดบั ชั้นเรียน โรงเรียน รายคน รายดา้ นเพ่ือให้ และกลมุ่ เครือขา่ ยการศกึ ษา แจง้ ศกึ ษานิเทศก์ ทราบปญั หาท่ีแทจ้ ริง เครอื ข่าย และผเู้ กย่ี วข้องทราบ นเิ ทศติดตามให้ ส่งเสรมิ เด็กเก่ง แกป้ ญั หา ความชว่ ยเหลอื เด็กอ่อนโดยการสอนซอ่ ม 2. สถานศกึ ษาวเิ คราะหผ์ ลการประเมนิ รายข้อ เสริม /ผู้บริหารสถานศกึ ษา รายด้าน และรายช้ันเรยี น กำหนดให้ครผู สู้ อน นิเทศภายในอย่างต่อเน่อื ง / สอนซอ่ มเสรมิ นกั เรียนท่ีมีผลการประเมินใน ศกึ ษานิเทศกน์ เิ ทศ ระดบั ปรับปรงุ ใหผ้ ่านระดบั พอใช้ขึน้ ไปทกุ ช่วยเหลอื เพื่อชีแ้ นะ ชน้ั เรียน ใชก้ ระบวนการนิเทศภายในสง่ เสรมิ 7. สนับสนุน : จัด สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาแพร่ กนั ยายน – ตลุ าคม กจิ กรรมท้าพสิ ูจนน์ กั เรยี น เขต 1 ดำเนนิ การสนับสนุนการดำเนนิ งาน 2564 ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 - สถานศกึ ษาในการพัฒนาคุณภาพการเรียน ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 3 การสอนภาษาไทย และแกป้ ัญหานักเรียน อา่ นออกเขยี นได้ 100 % อา่ นไมอ่ อก เขียนไม่ได้ ประสบผลสำเรจ็ ดงั น้ี มอบโล่ และเงินรางวัล 1. กจิ กรรมทา้ พสิ จู น์นักเรียนชัน้ ประถมศึกษา โรงเรียน และครทู แ่ี ก้ปัญหา ปที ่ี 1 - ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 อา่ นออก การอา่ นการเขียน ประสบ เขยี นได้ 100 % ผลสำเรจ็ - สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา แพร่ เขต 1 กำหนดเกณฑ์ แนวทางการ ตรวจสอบกจิ กรรมทา้ พิสูจน์นักเรียนชัน้

6 กิจกรรมสำคญั แนวการดำเนนิ งาน ระยะเวลา ประถมศึกษาปีท่ี 1 - ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 อ่านออกเขยี นได้ 100 % แจง้ สถานศกึ ษา - สถานศกึ ษาท่ีดำเนินการพัฒนานักเรียน ประถมศกึ ษาปีที่ 1 - ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 3 อ่านออกเขยี นได้ 100 % แจง้ ความประสงค์ เพอื่ ท้าพสิ ูจน์ มายังสำนักงานเขตพืน้ ท่ี การศึกษา เพื่อแต่งตัง้ กรรมการลงไปตรวจสอบ ประเมนิ การอา่ น การเขยี นนักเรียน - มอบโล่รางวัล สำหรบั โรงเรยี น และครูผสู้ อน ทด่ี ำเนนิ การพฒั นานกั เรยี นประถมศกึ ษาปที ่ี 1 - ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 3 อา่ นออกเขยี นได้ 100 % 2. กิจกรรมประกวดนวตั กรรมการพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนภาษาไทยและ แก้ปัญหานักเรยี นอา่ นไม่ออก เขียนไม่ได้ ประสบผลสำเร็จ นวตั กรรมครผู ้สู อน - สถานศกึ ษาคดั เลอื กตัวแทนครผู ู้สอน ส่งเข้า รับการคัดเลือกระดับกล่มุ เครือขา่ ยการศึกษา - กลุม่ เครือข่ายการศึกษาดำเนนิ การคดั เลือก ตวั แทนระดบั กลุม่ เครือขา่ ย เพือ่ นำเสนอระดับ เขตพ้ืนท่ีการศึกษา - สำนกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาดำเนนิ การ คัดเลอื กเพื่อมอบรางวัล และเกยี รติบตั รระดับ เขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา นวตั กรรมสถานศกึ ษา - สถานศกึ ษา ส่งผลงานเขา้ รับการคดั เลือก ระดับกลุ่มเครอื ข่ายการศึกษา - กลมุ่ เครือขา่ ยการศกึ ษาดำเนินการคัดเลือก ตัวแทนระดับกลมุ่ เครือข่าย เพือ่ นำเสนอระดับ เขตพืน้ ที่การศึกษา - สำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาดำเนนิ การ คัดเลอื กเพื่อมอบรางวัล และเกยี รติบัตรระดบั เขตพื้นที่การศึกษารางวัลชนะเลศิ ระดับเขต พนื้ ท่ี เข้ารับการคัดเลอื กในระดบั ประเทศ

7 ส่วนที่ 3 ตัวอย่างวธิ สี อนการการอ่านการเขยี น การจดั การเรียนการสอนภาษาไทยใหอ้ า่ นออก เขยี นได้ บุญเสริม แกว้ พรม ไดเ้ ขยี นบทความใน หอ้ งนิเทศออนไลน์ ศน.นิภา เกย่ี วกับลำดบั ขัน้ ในการสอนให้นักเรียนอา่ นออกเขียนได้ ไว้ดังนี้ (๑) สอนให้ร้จู กั พยญั ชนะ (๒) สอนให้รจู้ กั สระ (๓) สอนใหส้ ะกดคำแจกลกู คำในแม่ ก กา (๔) สอนให้ผันวรรณยกุ ตค์ ำในแม่ ก กา (๕) สอนใหอ้ ่านเขียนคำท่ีมตี ัวสะกดตรงตามมาตรา (๖) สอนให้ผนั วรรณยุกตค์ ำท่มี ตี ัวสะกดตรงตามมาตรา (๗) สอนให้อ่านเขยี นคำทสี่ ะกดไม่ตรงมาตรา (๘) สอนใหอ้ ่านเขยี นคำควบกล้ำ (๙) สอนใหอ้ ่านเขียนคำท่ีมอี กั ษรนำ (๑๐) สอนใหอ้ ่านเขยี นคำท่ีมีตัวการันต์ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ และคำทีม่ ีลักษณะพิเศษ วิธีการสอน (๑) สอนตามลำดับขั้นตอน จากง่ายไปสทู่ ่ยี ากขึน้ และสลบั ซบั ซ้อนมากขน้ึ (๒) สอนใหฝ้ กึ อา่ น ฝกึ เขียน อยา่ งช้า ๆ อย่ารีบร้อน อยา่ รวบรดั แตใ่ ห้ฝกึ ซ้ำ ย้ำ ทวน จนนักเรียนเข้าใจ แม่นยำ และมั่นใจ (อย่าเอาแต่เวลามาเป็นเกณฑ์ แต่ให้เอาความรู้ความเข้าใจ ความสามารถของเด็กเป็นเกณฑ์) (๓) ระมดั ระวังอย่เู สมอว่า ถา้ รบี รอ้ นหรือรวบรดั ในขณะท่เี ดก็ คนหนงึ่ คนใดยังไม่รูย้ งั ไม่ เข้าใจในลำดับต้น ๆ ก็จะกลายเป็นปัญหา “ดินพอกหางหมู” ที่หนักจนไม่อยากรู้ไม่อยากเรียนอีก และ สง่ ผลกระทบตอ่ การเรียนรใู้ นข้นั ต่อไปในท่สี ุด

8 ศิวกานท์ ปทุมสูติ ได้เขียนวิธีการสอนภาษาไทยให้นักเรียนอ่านออกเขียนได้ ในหนังสือ “เด็ก อา่ นไมอ่ อก เขยี นไมไ่ ด้แกง้ า่ ยนิดเดียว” เทคนิค การสอนภาษาไทยด้วยบนั ได 4 ข้นั ดังนี้ ขั้นที่ 1 ครูนำเด็กอ่านเปล่งเสียงแจกลกู สะกดคำ ผันเสียง กระทำซ้ำ ๆ คำละประมาณ 2-3 ครงั้ หรอื จนกว่าเด็กจะมีทกั ษะ ขั้นที่ 2 ครูนำเด็กเปล่งเสยี งอ่านคำ กลุ่มคำ และข้อความ ที่ผูกไว้เป็นเรื่องแต่ละตอน กระทำ ซำ้ ๆ กนั ประมาณ 2-3 เท่ยี ว จนกวา่ เดก็ จะมที ักษะ ขั้นท่ี 3 ใหเ้ ดก็ คดั ลายมือจากคำ กลุม่ คำ และข้อความที่ผูกเป็นเรื่อง นำสมุดคัดลายมือกลับไป อ่านให้ผู้ปกครองที่บ้านฟัง (ข้อพึงระวังในขั้นตอนนี้คือ ให้เด็กคัดลายมือเฉพาะคำ กลุ่มคำ และเรื่อง เท่าน้นั อย่าให้เดก็ คัดการแจกลกู ของคำอยา่ งเด็ดขาดเพราะจะทำใหเ้ ด็กร้สู ึกเบ่ือ) ข้นั ท่ี 4 ทดสอบการเขียนนตามคำบอก โดยใหค้ รเู ลอื ก คำ กลุ่มคำ และขอ้ ความทีผ่ ูกเป็นเร่ือง ซึ่งเด็กได้คัดลายมือแล้วนั้นมาเป็นข้อทดสอบ โดยให้ครูบอกคำละ 2 ครั้ง ในแต่ละคำอาจมี 2 พยางค์ หรือ 3 พยางค์ หรอื 4 พยางค์ กไ็ ด้ใหค้ ำนงึ ถึงทกั ษะ และลำดบั การเรียนรูข้ องเดก็ เป็นสำคญั วิธีการสอนแบบโฟนิกส์ที่ให้ความสำคัญกับการอ่านออกเสียงตัวอักษร โดยมีกระบวนการสอน 4 ข้ันตอนสำคญั ดงั น้ี ขั้นที่ 1 เรียนรู้เสียงตัวอักษร (Analytic Phonics) โดยครูอ่านออกเสียงตัวอักษรให้นักเรียนฟัง ช้า ๆ และให้นักเรียนอ่านออกเสียงซ้ำตามครู ยกตัวอย่างเช่น ครูสอนนักเรียนอ่านออกเสียง /ก/ โดย ยกตัวอย่างคำที่มี เสียง /ก/ เช่น ไก่กา แกะ เป็นต้น เพื่อให้นักเรยี นสามารถออกเสียง /ก/ และจดจำเสียง /ก/ ได้ ฝกึ ให้ผู้เรยี นรู้จกั เสียงของแตล่ ะตัวอักษร เรียนรเู้ ชื่อมโยงเสยี งและวเิ คราะหเ์ สียงของตวั อกั ษร ขั้นที่ 2 ฝึกการสอนประสมเสียง (Synthetic Phonics) โดยครูอ่านออกเสียงโดยการสะกดคำ และใหน้ ักเรียนฝกึ ตาม เชน่ คำว่า กา มีการประสมเสียงพยญั ชนะ /ก/ และเสยี งสระ /า/ นักเรียนออกเสียง /ก/ จากนั้นให้นักเรียนออกเสียง /า/ เมื่อประสมเสียง /ก/ กับ /า/ จะสามารถสะกดเป็นเสียง /กา/ เป็น การฝกึ ผสมเสยี งกับตัวอักษรเพื่อให้นกั เรียนสามารถอ่านออกเสียงได้ ทำใหน้ ักเรียนเขา้ ใจเสยี งของตัวอักษร แตล่ ะตัว และผสมเสียงจนสามารถที่จะออกเสยี งคำนั้น ๆ ได้ดว้ ยตนเอง ข้ันที่ 3 รู้จักการเทยี บเคียง (Analogy-Based Phonics) โดยครูใหน้ ักเรยี นออกเสียงโดยการแจก ลกู คำ เชน่ /กา/, /ตา/, /ปา/, /อา/ เป็นการฝกึ ใหน้ ักเรียนร้จู ักเทยี บเคียงเสียง และรู้วา่ มีเสียงสระ /า/ เป็น เสียงเดียวกัน นอกจากนี้ยังสามารถใช้การเทียบเคียงเสียงในการสอนเสียงวรรณยุกต์ได้อีกด้วย โดยครูให้ นกั เรยี นอ่านออกเสียงโดยการผนั เสียงวรรณยุกตเ์ ช่น /กา/, /ก่า/, /ก้า/, /ก๊า/, /ก๋า/ เป็นการฝึกให้นักเรียน ร้จู กั การเทียบเคียงเสยี ง ทำให้นกั เรียนรจู้ กั วิเคราะห์ส่วนประกอบของคำและเทียบเคียงการออกเสียงกับคำ ว่ามีหน่วยเสียงใดที่เหมือนกัน วิธีการนี้จะช่วยให้นักเรียนรู้จักการอ่านคำใหม่ และช่วยในการสะกดคำไป พรอ้ มกัน

9 ขั้นที่ 4 หัดอ่านเขียนเข้าใจคำ (Phonics Drill) โดยครูฝึกให้นักเรียนรู้จักการอ่านออกเสียงและ การเขียนไปพร้อม ๆ กัน เช่น คำว่า ไก่ นักเรียนสามารถแยกเสียงพยัญชนะต้นได้ว่าเป็นเสียง /ก/ และ เขยี น อกั ษร ก ไดห้ รอื คำว่า ไข่ เสยี งพยญั ชนะต้นคือเสียง /ข/ และนักเรยี นสามารถเขยี นอักษร ข ได้ และ ฝึกฝนซ้ำไปซำ้ มาให้เข้าใจความหมายของคำที่อ่านและเขียน จนสามารถอา่ นออกและเขียนได้ หรือหากพบ คำใหม่นกั เรยี นสามารถเชอื่ มโยงประสบการณ์เดิมกบั คำใหม่ได้อย่างมรี ะบบ กระบวนการข้างต้นในการเรียนรู้แบบโฟนิกส์ จะช่วยให้ผู้เรียนฝึกฝนและได้ฝึกปฏิบัติทั้งการอ่าน และการเขียนอย่างมีลำดับขั้นตอนและมีความต่อเนื่อง เรียนรู้จากส่วนประกอบของคำว่าจะต้องประสม ด้วยเสียงใดบ้าง ฝึกการเทียบเคยี งเสียง เพื่อเชื่อมโยงวา่ มีหนว่ ยเสียงใดที่เหมือนกันบา้ ง ฝึกอ่านและเรียนรู้ คำต่าง ๆ อกี ท้งั ได้พัฒนาทงั้ 4 ทกั ษะ ไปพรอ้ ม ๆ กนั คอื การฟงั การพูด การอ่าน และการเขยี น นักเรียน จะสามารถจดจำเสียงพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และสามารถอ่านเขียนได้ทั้งหมดภายในระยะเวลา 1 ปีการศึกษา ซึ่งเป็นไปตามที่กระทรวงศึกษาธิการตั้งเป้าหมายไว้ และสามารถเชื่อมโยงการพัฒนาทักษะ ด้านการอา่ นการเขียนในระดบั ประถมศึกษาปที ่ี 2 และ 3 ต่อไปทำใหน้ ักเรียนเมื่อเรียนจบชน้ั ประถมศึกษา ปที ่ี 3 อา่ นออกเขียนได้ทุกคน

10 ตวั อย่าง ขอ้ สอบประเมนิ การอา่ น การเขียน กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทยนกั เรียน ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 ปกี ารศกึ ษา ไฟลข์ อ้ สอบ สมรรถนะการประเมิน 2559 แบบทดสอบการเขียน (กรรมการ) 2559 แบบทดสอบการเขียน (นักเรยี น) 2559 แบบทดสอบอา่ นรเู้ รอ่ื ง (นักเรียน) 2559 แบบทดสอบอ่านร้เู รื่อง (กรรมการ) 2559 แบบทดสอบการอา่ นออกเสียง (กรรมการ) 2559 แบบทดสอบการอา่ นออกเสียง (นักเรียน) 2560 แบบทดสอบการอ่านออกเสียง (นักเรยี น) 2560 แบบทดสอบการอ่านออกเสยี ง (กรรมการ)

11 ปีการศกึ ษา ไฟลข์ อ้ สอบ สมรรถนะการประเมิน 2560 แบบทดสอบการเขียน (กรรมการ) 2560 2562 แบบทดสอบการเขยี น (นักเรยี น) 2562 2562 แบบทดสอบอ่านรเู้ รือ่ ง (นักเรียน) 2562 แบบทดสอบอา่ นรเู้ รอื่ ง (กรรมการ) แบบทดสอบการอ่านออกเสียง (นักเรียน) แบบทดสอบการอา่ นออกเสยี ง (กรรมการ)

12 คณะทำงาน ท่ปี รึกษา นายอภริ กั ษ์ อิ่มจิตอนสุ รณ์ ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาแพร่ เขต 1 นายกนก อยสู่ งิ ห์ รองผ้อู ำนวยการสำนกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 นางกนษิ ฐฎ์ า ฐานะวฒุ กิ ลุ รองผอู้ ำนวยการสำนกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 นายพิทกั ษ์ กาวีวน รองผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาแพร่ เขต 1 นายพพิ ัฒน์ ใจภักดี ผู้อำนวยการกลมุ่ นเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา คณะทำงาน นางฉตั รชนก ตนั มา ศกึ ษานเิ ทศก์ นางสาวบษุ ยมาศ แบ่งทิศ ศกึ ษานเิ ทศก์ นางภณิดา ทองประไพ ศึกษานิเทศก์ นายกรณั ฑ์ สมจิตต์ ศกึ ษานเิ ทศก์ นางสาวกนิษกานต์ พันธุเ์ ลิศเมธี ศกึ ษานเิ ทศก์ นายสรวิชญ์ บัลลงั ค์นาค ศกึ ษานเิ ทศก์ นายวชั รพงศ์ โลกคำลือ ศึกษานเิ ทศก์ นางเพ็ญพิชชา ตนั กุระ ศกึ ษานิเทศก์ นางวมิ ลสิริ ประเทือง ศกึ ษานิเทศก์ นายเอกรัฐ ทุ่งอ่วน ศึกษานิเทศก์ นางกลั ยณ์ ภัส ถงุ คำ ศึกษานิเทศก์ นางสาวจิรฐา ศรภี าณมุ าศ ศึกษานิเทศก์ นายภานวุ งศ์ ชัยวร ศกึ ษานเิ ทศก์ นายพนมรัตน์ ชาติสิงหท์ อง ศึกษานเิ ทศก์

13


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook