Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการศึกษาดูงาน : กลุ่ม 2

รายงานการศึกษาดูงาน : กลุ่ม 2

Published by Pravit Sanabnaen, 2022-06-24 03:09:29

Description: รายงานการศึกษาดูงานสถานประกอบการ
1.ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ (Future Tales Lab by MQDC)
2.สหกรณ์โคนมวังน้ำเย็น จำกัด

Keywords: การศึกษาดูงานม,Future Tales Labม,สหกรณ์โคนมวังน้ำเย็นม

Search

Read the Text Version

ก.



หลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา กอ่ นแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผอ. สอศ. บทสรุปผบู้ ริหาร การเข้ารับการพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ก่อนแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่งผู้อานวยการ สถานศกึ ษา ของสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตามหลักสตู รท่ีคณะกรรมการข้าราชการครูและบคุ ลากร ทางการศึกษา (ก.ค.ศ.) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาดูงานในสถานประกอบการ จานวน 2 แห่ง ระยะเวลา ๘ ชั่วโมง ซึ่งกลุม่ ผู้เข้ารบั การพัฒนาฯ ภาคตะวนั ออกและกรุงเทพมหานคร (กลมุ่ ๒) ไดศ้ กึ ษาดูงาน สถานประกอบการแห่งที่ 1 คือ ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ (Future Tales Lab by MQDC) กรุงเทพมหานคร และสถานประกอบการแห่งที่ 2 คือ สหกรณโ์ คนมวังน้าเยน็ จากดั จงั หวดั สระแกว้ พบว่า ๑) ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ เป็นศูนย์วิจัยอนาคตศึกษา ใช้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศเป็นฐานข้อมูล ใช้ในการศึกษา Greater Bangkok ให้เกิดการพัฒนาไปสู่ ๗ เมกะเทรนด์ท่ีสาคัญในโลกอนาคต ระยะ 30 ปี ขา้ งหน้า ให้เป็นเมืองทนี่ ่าอยู่สาหรับสง่ิ มชี วี ติ อย่างยงั่ ยืน ๒) สหกรณ์โคนมวังน้าเย็น จากัด จังหวัดสระแก้ว เป็นโรงงานแปรรูปที่ใหญ่และทันสมัยท่ีสุดในภาค ตะวันออก ดาเนนิ กจิ การดา้ นผลติ และจัดจาหน่ายผลติ ภัณฑน์ มแปรรปู ยู.เอช.ท.ี และพาสเจอรไ์ รซ์ “ตราวังนา้ เย็น” และ“ตราคิวไลฟ์” สู่ตลาดมาตรฐานระดับสากล โดยมีห้องปฏิบัติการ (Laboratory) ติดตามตรวจสอบคุณภาพ ตัวอย่างสินค้าอย่างสม่าเสมอ เพ่ือรักษามาตรฐานของผลิตภัณฑ์ และใช้เทคโนโลยีควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติ โปรแกรม SCADA ควบคมุ อตุ สาหกรรมการผลติ ทกุ ขั้นตอนเพื่อให้ไดผ้ ลิตภัณฑ์ที่มคี ุณภาพ ข้อค้นพบในการประยุกต์ใชส้ ื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี ในการบริหารจัดการสถานศึกษาในอนาคตของ ผู้บริหารสถานศึกษา สามารถดาเนินกิจกรรมหรือโครงการต่างๆ ได้ ดังน้ี 1) ปัจจัยขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลง (Driver of Change) เป็นสิ่งสาคัญในการเปลี่ยนแปลงไปสู่ภาพอนาคตอาชีวศึกษาที่หลากหลาย ๒) ออกแบบ อนาคตของการเรียนรู้ (Future of Learning) เพ่ือเตรียมพร้อมรับการเปล่ียนแปลงของการเรียนรู้อาชีวศึกษา โดยพัฒนาทักษะตลอดชีวิตที่เหมาะสม ๓) ทิศทางการพัฒนาในอนาคต (Direction of Future Development) ใหม้ เี ทคนิคการบรหิ ารสถานศึกษาสมัยใหม่ ๔) ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตดั สินใจและการบริหารจดั การ ใน ยุค Thailand Digital ๕.๐ (Super Smart) ๕) ส่งเสริมวิสาหกิจ (Start Up) ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการการ อาชวี ศึกษาแบบครบวงจร ๖) ใช้ STEM Education หรอื STEAM Education ในการจดั การเรียนรใู้ นสถานศึกษา ๗) จัดรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project Based Learning) ๘) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ท่ี ผเู้ รียนไดล้ งมือกระทา (Active Learning) ๙) การจดั การเรียนรแู้ บบโมดลู (Instructional Module) รายงานการศึกษาดูงานระหวา่ งฝกึ ประสบการณ์ : กล่มุ 2



หลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา กอ่ นแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหน่ง ผอ. สอศ. บทนา (Introduction) ในปัจจุบันระบบการศึกษาของไทยมีปัญหาและความท้าทายมากมาย ทั้งมาตรฐานการศึกษา ความไม่เท่า เทียมกันในการเข้าถึงการศึกษา และทรัพยากรความรู้ที่มีคุณภาพ ค่านิยมต่อการศึกษา หลักสูตรพัฒนาทักษะใน อนาคต การเรียนรู้แบบไม่ตอบสนอง ความต้องการของตนเองและครู ตลาดแรงงาน คุณภาพสื่อการสอน ความ ต่อเน่ืองของนโยบายการศึกษา ซ่ึงต่อไปวงการการศึกษาจะเป็นหนึ่งในภาคเศรษฐกิจที่ใหญ่และเติบโตเร็วที่สุด เทคโนโลยีการจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพจะเข้ามาเปล่ียนโฉมหน้าการศึกษาให้มีความสะดวกรวดเร็ว ง่ายต่อการ เขา้ ถึงแหล่งขอ้ มลู มากขึ้น บริษทั เทคโนโลยดี ้านการศึกษาจะทรงอิทธิพลและเตบิ โตอย่างรวดเรว็ ในตลาดการศึกษา ทั่วโลก การเรยี นร้ไู ม่ได้เกิดข้ึนเพียงแค่ในห้องเรียนหรือพ้นื ทจี่ ากัดอีกต่อไป กระบวนทศั น์ต่อการศกึ ษาของผู้คนใน สังคมม่งุ ไปสู่การเรียนรู้นอกสถานท่ี ที่ผเู้ รยี นสามารถเรียนรผู้ ่านประสบการณ์ตรง ณ สถานท่จี ริงหรือโลกออนไลน์ ได้ เปรียบเสมือนโลกใบนี้เป็นห้องเรียนท่ีผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้จากทุกท่ี เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ตรงมากกว่า การท่องจาเน้ือหาและไม่ได้ยึดติดกับสถานการณ์การศึกษาเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้ ยังมีรูปแบบของแหล่งการ เรียนรู้เพ่ือสร้างทางเลือกใหม่ของการศึกษา เช่น การเรียนผ่าน แพลตฟอร์ม (PODCAST) การศึกษาแบบ Home school การออกแบบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Personalized learning) การใช้เทคโนโลยีโลกเสมือนจริง (Virtual reality) การศึกษาดูงาน เป็นต้น การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการส่ือสารเพื่อการศึกษาส่งผลให้การศึกษาสามารถ เกิดขึ้นได้ ผ่านรูปแบบการศึกษาทางไกล TELE-Education และโรงเรียนเสมือน (Virtual school) ท่ีผู้เรียนกับ ผู้สอนไมต่ อ้ งอยู่สถานท่ีเดียวกันแต่สามารถเรยี นรรู้ ่วมกันผา่ นระบบออนไลน์ได้ สง่ เสริมรปู แบบการเรียนรทู้ ี่ยดื หยนุ่ มากข้ึน ในแง่ของสถานที่และเวลา ที่สาคัญกระบวนทัศนต์ ่อการเรียนรู้เปลย่ี นแปลงไปจากอดีตอย่างสนิ้ เชิง สังคม ให้ความสาคัญต่อปริญญาบัตรและวุฒิการศึกษาลดลง เห็นความสาคัญของการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีและการ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตมากข้ึน พร้อมสร้างระบบเก็บหน่วยการเรียนรู้ (Credit bank) ภาคธุรกิจจะเข้ามามี สว่ นรว่ มตอ่ วงการการเรยี นรู้มากขนึ้ เพ่ือส่งเสริมการยกระดับผู้คนให้มีทักษะท่จี าเปน็ ในอนาคต และนาองคค์ วามรู้ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการสรา้ งรูปแบบการพัฒนาสอื่ นวัตกรรม และเทคโนโลยดี ิจิทลั เพอ่ื การจัดการเรยี นรู้ ความคาดหวังในการศึกษาดูงานในสถานประกอบการครั้งนี้ ต้องการเห็นการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่มาบรู ณา การในการจัดศึกษาให้ทันต่อโลกของการเปลีย่ นแปลงในยุคดิจิทัล การบรหิ ารจดั การข้อมลู อย่างเป็นระบบ การนา สื่อนวัตกรรมมาใช้พัฒนานักเรียน นักศึกษาในสถานศึกษา การแสวงหาความร่วมมือกับเครือข่ายพันธมิตร ขยาย โอกาสความเท่าเทียมในการเขา้ ถงึ สื่อ นวัตกรรม และการเรยี นร้ตู ลอดชวี ิต จากการศึกษาดูงานในสถานประกอบการทั้ง ๒ แห่ง ค้นพบว่า ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเป็นไปอย่างก้าว กระโดดในการบริหารจัดการหลายๆมิติ ทาให้เกิดแรงบันดาลใจในการสร้างวิสัยทัศน์ภาพอนาคตแห่งการเรียนรู้ท่ี จะนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการบริหารจัดการการอาชวี ศึกษา รายงานการศกึ ษาดูงานระหวา่ งฝกึ ประสบการณ์ : กลุม่ 2



หลักสตู รการพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา ก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่ง ผอ. สอศ. FutureTales LAB ศูนย์วิจัยอนาคตศึกษา ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ ภายใต้บริษัท แมกโนเลีย ควอลิต้ี ดีเวล็อปเม้นต์ คอร์ปอเรชัน่ จากัด (Future Tales Lab by MQDC) ซึ่งนับเป็นศูนย์วิจัยอนาคตแห่งแรกของภาคอสังหาริมทรัพย์ไทย ทต่ี ้องการสร้างคุณค่าสาคญั 3 ประการ คือ 1. แลกเปล่ยี นความรู้และข้อมลู เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณะ (Exchange Knowledge and Data) 2. สร้างความร่วมมือ เครือข่าย และการมีส่วนร่วมกับชุมชน (Engagement) และ 3. เปลี่ยนพฤติกรรมและทัศนคติของมนุษย์ต่อเรื่องการเตรียมการสู่อนาคต (Evolution) ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ (Future Tales Lab by MQDC) ศึกษาและวิจัยเก่ียวกับอนาคตของการใช้ชีวิต โดยใช้เคร่ืองมือการคาดการณ์ อนาคตเพ่ือสะท้อนภาพของ การอยู่อาศัย การทางาน การเรียนรู้ การใช้เวลาว่าง คมนาคมขนส่ง และ บริบทของ ความย่ังยืนฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ (Future Tales Lab by MQDC) ศึกษาและวิจัยเก่ียวกับอนาคตของการใช้ชีวิต โดยใช้เครื่องมือการคาดการณ์อนาคตเพื่อสะท้อนภาพของ การอยู่อาศัย การทางาน การเรียนรู้ การใช้เวลาว่าง คมนาคมขนส่ง และบริบทของความย่ังยนื และหลักการมองภาพอนาคต ได้แก่ 1. ตอ้ งมีทักษะ ทางความคิด ริเริ่ม สร้างสรรค์ และจินตนาการ เพ่ือการสื่อสารไปสู่อนาคต 2. ต้องมีความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) 3. มองภาพท่ีต้องการเปลี่ยนแปลง 4. การออกแบบภาพอนาคตไว้ให้หลากหลายมิติเพื่อให้มี ทางเลือก 5. เชือ่ มโยงปฏสิ มั พนั ธ์กบั หลากหลายระดับ ศูนย์วิจัยอนาคตศึกษา ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ (Future Tales Lab by MQDC) มีบริเวณนิทรรศการอนาคต ศึกษา เพื่อสร้างความตระหนักรู้และให้ความรู้ผ่านนิทรรศการแบบมีส่วนร่วม (Interactive Exhibition) จานวน 3 โซน ประกอบดว้ ย โซนท่ี 1 : Data Platform ประกอบด้วย 2 ส่วนนิทรรศการ ได้แก่ Earth Pulse มองโลกในมิติ แห่งความเชื่อมโยง จับตาดูชีพจร ของโลกในทุกแง่มุมทั้งบนดิน ใต้นา้ และสภาวะอากาศ เชื่อมโยงทุก สถิติที่น่าสนใจ และ Bangkok Next Tales รู้จักและเข้าใจเมือง หลวงของเราในหลากหลายมิติจาก ข้อมูลที่คุณอาจไม่เคยรู้มาก่อนจาก ที่ใดมาก่อน รายงานการศึกษาดูงานระหวา่ งฝกึ ประสบการณ์ : กลมุ่ 2



หลกั สูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา กอ่ นแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหนง่ ผอ. สอศ. โซนท่ี 2 : Future Living Interactive Gamification ประกอบด้วย 6 ส่วนนทิ รรศการ ได้แก่ Future City Vision เรยี นรูป้ ญั หาและวิกฤตของโลกทท่ี าใหท้ ุกประเทศตอ้ งหนั มารับมือ สร้างสรรค์และเปลีย่ นแปลงตัวเอง สกู่ ารเปน็ เมืองอัจฉรยิ ะ (SMART CITY) ผ่านพิมพเ์ ขียวเมือง (City Blue Print) Journey of Waste ตระหนักรู้ถึง สถานการณ์ของปริมาณขยะในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต วิธีการแยกขยะและกาจัดขยะที่มีถูกต้อง Future Mobility การเดินทางในปัจจุบันที่ส่งผลกระทบกับสุขภาพและเมืองท่ีอยู่อยา่ งไร มีการเปรยี บเทียบการเดนิ ทางใน รูปแบบต่างๆ ของอนาคต ในระยะเวลา ค่าใช้จ่าย ผลกระทบต่อสุขภาพ และเมืองท่ีดีกว่าเดิม Create your City คอื ฐานพัฒนาเมืองของตัวเองภายใต้แกนการพฒั นาเมือง 12 แกน โดยจะแบง่ ออกเป็น 7 แกนเรอ่ื งการสรา้ งเมือง อัจฉริยะ (Smart City) และ 5 แกนเรื่องการสร้างความสุขให้กับผู้อาศัย (Happy City) Future Habitat สะท้อน เอกลักษณ์และรูปแบบของ Future Living ที่เหมาะสมกับแต่ละคน พร้อมสารวจรูปแบบและเทรนด์ของ Future Living ที่น่าสนใจ Your Urbanite ผู้เล่นจะได้รับคาแรคเตอร์ตามจุดเด่นของแต่ละคนที่แตกต่างกันออกไป ซึ่ง ประมวลผลผ่านแอปพลิเคชัน ตามทฤษฎีของ Carl Jung จิตแพทย์ผู้ก่อต้ังจิตวิทยาการวิเคราะห์ และ George Ivanovich Gurdjieff จติ แพทย์ชาวรัสเซยี รายงานการศกึ ษาดูงานระหวา่ งฝกึ ประสบการณ์ : กลุม่ 2



หลกั สูตรการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ก่อนแตง่ ตงั้ ให้ดารงตาแหนง่ ผอ. สอศ. โซนท่ี 3 : Space Exploration ประกอบด้วยส่วนนิทรรศการ Space Exploration ให้ความรู้ด้าน อวกาศ ทั้งในระดับนานาชาติและระดับประเทศไทย รวมถึงแนวความคิดของการที่จะไปอยู่อาศัยในดาวดวงใหม่ และการจาลองการปลูกต้นไม้ในโลกและปลกู ด้วยเคร่ืองจาลองแรงโน้มถ่วง จุดเด่น ของศูนย์วิจัยอนาคตศึกษา ฟิวเจอร์เทลส์ แล็บ (Future Tales Lab by MQDC) เป็นฐานข้อมูล ใช้ในการศึกษา Greater Bangkok ให้เกิดการพัฒนาไปสู่ 7 เมกะเทรนด์ที่สาคญั ในโลกอนาคต “โอกาสและความ ท้าทาย จะสร้างมุมมองใหม่รวมถึงเตรียมตัวความรับมือในส่ิงท่ีอาจจะเกิดข้ึนใน Greater Bangkok ระยะ 30 ปี ข้างหน้า ในแต่ละมิติของ เมกะเทรนด์ท่ีนอกจากจะสร้างความตระหนักรู้แล้ว ยังช่วยให้นักพัฒนาเมือง ภาครัฐ และ เอกชน มองถงึ ความเปน็ ไปได้ทจี่ ะชว่ ยใหส้ รา้ งเมืองสาหรับทุกสิ่งมชี วี ิตทีน่ ่าอย่ไู ดอ้ ยา่ งย่ังยนื ” 1. ความเป็นอย่ทู ี่ดสี าหรบั ทกุ คน (Wellbeing for all) 2. ประเทศชาญฉลาด (Wise nation) 3. การครอบงาด้วยข้อมลู (Data dominance) Internet of Thing (IoT) 4. ความโปรง่ ใสในทุกแพลตฟอร์ม (Platform transparency) 5. จากขยะสู่อาชีพ (Waste to jobs) 6. วันหยุดเพอื่ สุขภาพ (Health holidays) 7. ความกลมกลืนของชมุ ชนเมอื ง (Village harmony) รายงานการศกึ ษาดงู านระหวา่ งฝกึ ประสบการณ์ : กลุ่ม 2



หลกั สตู รการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา กอ่ นแต่งตง้ั ให้ดารงตาแหน่ง ผอ. สอศ. ปจั จัยท่นี าไปสู่การเปลยี่ นแปลงฉากทัศนใ์ นอนาคต LEARNING THE VICIOUS CYCLE OF NEVER-ENDING LEARNING DESING YOUR DECOMPOSED JOB SEEKERS IDEAL LIFE ผูเ้ รียนเป็นทุกข์จากการเรียน เนื่องจาก ผู้คนในสังคมมองว่าการเรียนรู้เป็นเร่ือง เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตกับทุกคนใน การเรียนรู้เป็นเร่ืองท่ีผู้เรียนทุกช่วงวัย ระบบของการเรียนรู้ในทุก ช่วงวัยไร้ ของเด็กและวัยรุ่นเป็นหลัก ผู้ที่ท่างาน สังคมอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียน สามารถทาได้ทุกท่ี ทุกเวลา ทั้งทาง คุณภาพอยา่ งมาก ครผู ู้สอนยังคงเปน็ ผู้ หรือโตเป็นผู้ใหญ่แล้วมักจะไม่ได้เรียนรู้ สามารถเข้าถึงการศกึ ษาไดส้ ะดวกมาก ออนไลน์และสถานที่จริงมีแหล่งการ ควบคุมเนื้อหา รูปแบบการเรียนการ พัฒนาทักษะแรงงาน ส่งผลให้วัย ข้ึนผ่านทางออนไลน์ หรือการเรียนรู้ เรียนรู้ในประเทศหลากหลาย รูปแบบ SOCIETY สอนโดยไม่ได้นาผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง แรงงานปรับตัวต่อรูปแบบการทางาน โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project- ทุกคนสามารถเป็นผู้เรียนรู้และผู้มอบ สงั คม ไมไ่ ดป้ รับ การนาเสนอเนอ้ื หาทสี่ อนให้ ใหม่ๆ ได้ยากขึ้น หลักสูตรปรับตาม Based Learning) ความเหล่ือมล้าใน ความรใู้ หผ้ ู้อืน่ ได้ มีความน่าสนใจ การเรียนมีการแข่งขนั ความต้องการของตลาดแรงงาน อันดับ สังคมลดลง ผู้คนมีทักษะที่ตอบรับต่อ ECONOMY สูง การคึกษา ของไทยคอ้ ยลง ผู้คนขาดการ การเปลี่ยนแปลงในอนาคตเพ่ิมข้ึน เศรษฐกิจ ปรับตัวและการเตรยี มเข้าสูอ่ นาคต POLICY นโยบาย เศรษฐกิจประเทศตกต่า ถดถอย เกิดความเหลื่อมล้าในด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกจิ ในเมืองมกี ารขยายตวั มากข้ึน เศรษฐกิจของประเทศมีการขยายตัว มี เน่ืองจากแรงงานส่วนมากขาด การ และสังคม แรงงานขาดทักษะท่ี ตอบ แรงงานทุกช่วงวัยมีการพัฒนาทักษะ รูปแบบของนวัตกรรมและธุรกิจ เรียนรู้ความรู้และทักษะท่ีตอบรับต่อ โจทย์ต่อการท่างานในอนาคต การ ของตนเองให้สอดรับกับรูปแบบการ รูปแบบใหม่มากยิ่งขึ้น เนื่องจากผู้คน การเปลี่ยนแปลงในอนาคต คนใน พัฒนา ทักษะแ รงงาน ยั งไ ม่เกิด ทางานในอนาคต มีการพัฒนาธุรกิจ สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนเอง และ สังคมไม่มวี ธิ กี ารพัฒนาทกั ษะตนเองได้ ประสิทธิภาพและมีหลกั สูตรที่พัฒนาท่ี ด้านการศึกษาเพิ่มมากข้ึน ทั้งบริษัท ทางานในสิ่งท่ีชอบได้ จึงมีการคิดค้น แรงงานทักษะต่าตกงาน เน่ืองจากถูก สอดรับกับความต้องการได้อย่าง ขนาดใหญ่และสตาร์ทอัพ รวมถึง นวัตกรรม และโครงการเพ่ือสังคมต่าง แทนท่ีงานด้วยหุ่นยนต์และระบบ แ ท้ จ ริ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ไ ม่ พั ฒ น า สถาบัน การศึกษาร่วมกับพัฒนา ๆ ออกมามากมาย อัตโนมตั ิ ความสามารถในการแข่งขันของ หลักสตู รใหม่ๆ ประเทศไทย ยังไม่สามารถเทียบเท่า ประเทศอ่ืน ๆ ได้ นโยบายการเรียนรู้มีการจากัดข้อมูล นโยบายด้านการศึกษาและการเรียนรู้ ประเทศไทยมนี โยบาย “Learning for รัฐบาลประกาศนโยบายการพัฒนาการ และแนวคิดให้กับผู้เรียนทุกช่วงวัย ซึ่ง ท่ีไม่ต่อเน่ืองท่าให้เกิดความล่าช้า ใน All” สร้างสภาพแวดล้อมที่ดี ให้เกิด เรี ยนรู้ แห่ งชาติ มี การพัฒนาสื่อ เกิดจากการไม่ปรับปรุงข้อมูลเนื้อหา การพัฒนา นโยบายด้านการพัฒนา การเรียนรู้ โดยกระจายอานาจให้ หลักสูตรและเพ่ิมแหล่งเรียนรู้ ร่วมกับ ส่งผลให้ผู้เรียนท้ังประเทศ ไม่มี ทั ก ษ ะ แ ร ง ง า น จ า ก ภ า ค รั ฐ แ ล ะ สถาบันการศึกษาได้ทาหน้าที่เป็นผู้ บริษัทเอกชน สตาร์ทอัพ รวมถึงชุมชน ช่องทางในการเรียนรู้ที่หลากหลาย ภาคเอกชนยังไม่เข้มข้นและจริงจัง ทา ร่วมจัดหลักสูตรท่ีเหมาะสมแก่ผู้เรียน ต่าง ๆ ทาให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึง และทันสมัย ส่งผลให้เกิดปัญหา ทาง ให้การเรียนรู้ตลอดชีวิตยัง ไปมี รายบุคคล มีนโยบายส่งเสรมิ และ สรา้ ง แ ห ล่ งข้ อมู ล ไ ด้ เ ต็ ม ท่ี ท้ั งพื้ น ท่ี ที่ สังคม เศรษฐกิจ และประเทศไม่ ประสทิ ธิภาพ แรงจูงใจให้วัยแรงงานพัฒนาทักษะ สถานศกึ ษา ออนไลน์ และชมุ ชนต่าง ๆ กา้ วหน้า ต น เ อ ง ส่ ง เ ส ริ ม อ ง ค์ ก ร ภ า ค รั ฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมให้มีสว่ น ร่วมในการจดั การเรยี นรใู้ ห้คนไทย รายงานการศึกษาดงู านระหวา่ งฝกึ ประสบการณ์ : กลมุ่ 2



หลักสูตรการพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ก่อนแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหน่ง ผอ. สอศ. ปจั จัยท่ีนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงฉากทัศนใ์ นอนาคต LEARNING THE VICIOUS CYCLE OF NEVER-ENDING LEARNING DESING YOUR JOB SEEKERS DECOMPOSED IDEAL LIFE ขาดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสาหรับ มีการนาเทคโนโลยีด้านการศึกษามาใช้ มีการใช้เทคโนโยีในการเรียนรู้เพิ่มขึ้น มีการนาเทคโนโลยีด้านการศึกษาและ การเรยี นรู้ การเรียนยังตอ้ รูปแบบเดิม ในการเรียนรู้มากขึ้น เช่น แอปพลิเคชัน ทั้งในแง่ของการเลือกหลักสูตร ที่ ระบบสะสมหน่วยการเรียนรู้ (Credit อยู่ในห้องเรียนเป็นส่วนมาก ไม่มีการ หรือการเรียนออนไลน์ แต่การเข้าถึงยัง เหมาะสมต่อตวั ผู้เรียนแต่ละบุคคลด้วย Bank) สะสมหลักสูตรและทักษะท่ีเรยี น นาเทคโนโลยีมา ให้ผู้เรียนเข้าใจง่าย จากัดเฉพาะคนบางกลุ่ม เน่ืองจาก AL เทคโนโลยีการเรยี นรู้ทาง ออนไลน์ ตลอดชีวิต ผ่านการวิเคราะห์ความ คนขาดการเข้าถึงการศกึ ษา เทคโนโลยี ข้ อจ ากั ดทางด้ านการมี อุ ป กร ณ์ ระบบบรหิ ารจดั การโรงเรยี นด้วยระบบ ส น ใ จ ข อ ง แ ต่ ล ะ บุ ค ค ล ด้ ว ย มีการ ข้อมูลที่ผู้คนจะได้รับ ทาให้ผู้คน อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ แ ล ะ สั ญ ญ า ณ ออนไลน์ รวมถึงการ นาเทคโนโลยี AR ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) TOCHNOLOGY ได้รบั ขอ้ มลู จากัด อินเทอร์เน็ต ส่งผลให้เกิดความเหล่ือม และ VR มาใช้ในการเรียนวิชาต่าง ๆ ผู้เรียนสามารถร่วมออกแบบการเรียนรู้ เทคโนโลยี ลา้ ในการเขา้ ถงึ ข้อมูลความรูต้ า่ ง ๆ เช่น วิทยาศาสตร์ คณิศาสตร์ กาย ตลอดชีวติ ของตนเพ่ือการค้นพบ ตนเอง วิภาคศาสตร์ เป็นต้น ทาให้ผู้เรียนทุก และน่าทักษะไปใช้ตอ่ ยอดในการทางาน วัยสนุกกับเนื้อหา จะฝึกปฏิบัติได้มาก ได้เต็มท่ี ความก้าวหน้า ทางด้าน ยิ่งข้ึน ส่งผลต่อประสิทธิภาพการ วิทยาศาสตร์และการแพทย์ทาให้เกิด เรยี นรูท้ ม่ี ากข้ึน เทคโนโลยีการเพ่ิมความสามารถ ของ สมองท่ีช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ จดจา คดิ และมีสตปิ ัญญาดีข้นึ ผู้คนในสังคมรู้สึกเป็นทุกข์จากความ สังคมให้คุณค่ากับวุฒิการศึกษา สังคมให้ความสาคัญต่อเร่ืองการ ผู้คนในสังคมมีทัศนคติเชิงบวกต่อการ ลาบากในการขาดแคลนการเข้าถึง สถาบัน และคณะท่ีจบ ทาให้การเรียน ผสมผสานการเรียนรู้ไปกับทุกมิติ ทุก เรียนรู้ ทุกคนสามารถเรียนรู้ได้ทุกท่ี การเรียนรู้ท่ีทันสมัยตอบโจทย์ยุคสมัย เกิดการแข่งขันสูง ผู้เรียนได้รับความ พื้นที่ และทุกเวลาของการใช้ชีวิต ทุกเวลา เป็นทั้งผู้เรียนรู้และผู้แบ่งปัน และคิดว่าการเรียนไม่สามารถ ตอบ กดดนั จากตนเอง ครอบครวั และสงั คม คุณค่าต่อวุฒิการศึกษา ลดลง ผู้เรียน ความรู้ การเรียนรู้เป็นเรื่อง สนุกของ VALUES โจทย์ให้สามารถประสบความสาเรจ็ ใน ทาให้ผู้เรียนส่วนใหญ่ไม่ทราบ ความ จึงสามารถเลือกเรียนหรือฝึกทักษะที่ คนทุกวัย นาไปประยุกต์ใช้ได้ง่าย การ คุณค่า ชีวิตได้ ไม่ได้เรียนตามท่ี ตนเองสนใว ต้องการที่แท้จริงของตนเองและ ตนเองสนใจได้อย่างเตม็ ที่ ความกดดัน เรียนรู้ช่วยให้ค้นพบ ตนเอง สามารถ ไม่ทราบความต้องการที่แท้จริงของ สามารถเรียนตามส่ิงทตี่ นเองสนใจได้ และการแข่งขันต่อการเรียนรู้ลดลง ค้นพบความหมายของชีวิต ได้นา ตนเอง ส่งผลให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน ทกั ษะความรทู้ ่ไี ดร้ บั ไป สร้างประโยชน์ และการทางานเพิม่ มากข้นึ ให้แกผ่ ู้อื่นในสังคมต่อไป รายงานการศกึ ษาดูงานระหวา่ งฝกึ ประสบการณ์ : กลุ่ม 2



หลกั สูตรการพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา กอ่ นแต่งต้ังให้ดารงตาแหน่ง ผอ. สอศ. สหกรณ์โคนมวังนาเย็น จากดั (จงั หวดั สระแก้ว) สหกรณ์โคนมวังน้าเย็น จากัด ก่อตั้งขึ้นเพ่ือดาเนินกิจกรรมส่งเสริมการเลี้ยงโคนม โดยการนาของ นายอานวย ทงก๊ก รวบรวมกลุ่มของเกษตรกรท่ีเพาะปลูกพืชไร่ซึ่งประสบปัญหาราคาผลผลิตตกต่ามากและยังถูก เอารัดเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลาง หันมาประกอบอาชีพการเล้ียงโคนมทดแทนการปลูกพืชไร่ และได้รับจด ทะเบียนจัดต้ังเป็นสหกรณ์ข้ึนเม่ือวันท่ี 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2530 โดยใช้ช่ือว่า สหกรณ์โคนมวังน้าเย็น จากัด มีสมาชิกแรกเร่ิม 200 ราย โคนม 1,000 ตัว ทุนเรือนหุ้น 60,000 บาท มีวิสัยทัศน์ “เป็นผู้นาธุรกิจระบบ สหกรณ์แหง่ ความเป็นหนึ่งในเอเชีย ทีม่ ีคุณภาพระดับมาตรฐานสากล” และมีพันธกิจ ดงั น้ี 1. มุ่งม่นั ที่จะเปน็ ผูน้ าในอตุ สาหกรรมการผลิตผลิตภัณฑ์เกษตรในระบบสหกรณ์ 2. ใชน้ วตั กรรม เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมและทนั สมัยควบคมุ ดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์ 3. มุ่งมนั่ ปรับปรงุ คณุ ภาพและความปลอดภัยของทุกผลิตภณั ฑ์อย่างต่อเน่อื ง 4. ซ่ือสัตยอ์ ย่างมคี วามรบั ผิดชอบ 5. ปรับโครงสรา้ งองคก์ รใหม้ ีความกระชับ ยืดหยุน่ และบรหิ ารจัดการเครอื ข่ายอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 6. ยึดม่ันในมาตรฐานระดับสากล 7. อนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละเป็นมติ รกบั ส่งิ แวดล้อม ทั้งนี้ ทางสหกรณ์โคนม วังน้าเย็น จากัด มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการในการควบคุมการทางาน ด้วยระบบ Supervisory Control and Data Acquisition : SCADA ใช้ในระบบการควบคุมอุตสาหกรรม (Industrial Control System or ICS) ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ท่ีเฝ้าดูและควบคุมกระบวนการทางอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นระบบตรวจสอบและวเิ คราะห์ข้อมูลแบบ Real-time ใช้ในการตรวจสอบสถานะ เช่น คมนาคมส่ือสาร การ ประปา การบาบดั นา้ เสีย การจดั การดา้ นพลังงาน อตุ สาหกรรมเคมี ฯลฯ จุดเด่นของสหกรณ์โคนมวังน้าเย็น จากัด โรงงานผลิตผลิตภัณฑ์นมของสหกรณ์ เป็นโรงงานแปรรูปท่ีใหญ่และทันสมัยท่ีสดุ ในภาคตะวันออกดาเนนิ กิจการด้านผลิตและจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์นมแปรรูป ยู.เอช.ที.และพาสเจอร์ไรซ์ ซ่ึงถือเป็นการสร้างมูลค่าเพ่ิมแก่ วัตถุดิบด้วยการแปรรูปน้านมดิบท่ีรับซ้ือจากสมาชิก เป็นผลิตภัณฑ์สาเร็จรูปสู่ตลาดมาตรฐานและการผลิตระดับ สากลกว่าจะมาเป็นผลิตภัณฑ์นม“ตราวังน้าเย็น” และ “ตราคิวไลฟ์” มีการติดตามตรวจสอบตัวอย่างสินค้า ตามท้องตลาดอย่างสมา่ เสมอเพอื่ รักษามาตรฐานของผลิตภัณฑ์ โดยใช้เทคโนโลยีสู่การผลิตทุกข้ันตอน เร่ิมตั้งแต่การคัดสรรวัตถุดิบคุณภาพสูง ผ่านการตรวจสอบให้ได้ มาตรฐานสากลก่อนเข้าสู่กระบวนการผลิตท่ีมีประสิทธิภาพ และทุกขั้นตอนของการผลิตจะถูกควบคุมด้วยระบบ คอมพวิ เตอรเ์ พอื่ ให้ได้ผลติ ภณั ฑ์ทีม่ ีคุณภาพ นอกจากน้ีสหกรณ์ยงั ไดผ้ ลิตสินคา้ ให้กับโครงการนมโรงเรยี นรวมไปถึง ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก กรมพัฒนาชุมชน กรมอนามัย ในจังหวัดต่างๆ ของภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ ภาคตะวันออก ในปัจจุบันขยายการผลิตไปในกลุ่มผลิตภัณฑ์นมเปร้ียวท้ังในรูปแบบ ยู.เอช.ที.และพาสเจอร์ไรส์ วางจาหน่ายทงั้ ตลาดในประเทศและต่างประเทศ รายงานการศกึ ษาดงู านระหวา่ งฝกึ ประสบการณ์ : กลุ่ม 2



หลกั สตู รการพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ก่อนแตง่ ตั้งให้ดารงตาแหนง่ ผอ. สอศ. “นายอานวย ทงก๊ก ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์การใช้ชีวิตไปสู่การพัฒนาองค์กรให้ประสบ ความสาเร็จ และฝากข้อคิดให้กับคณะผู้บริหารรุ่นใหม่ในการนาไปปรับใช้ในการบริหารสถานศึกษา คือ หลักการ ในการทางาน หรอื ธุรกิจใดๆ สิ่งแรกทีต่ อ้ งมี คือ ความซื่อสัตย์: ซ่อื สัตยต์ ่อหนา้ ท่ี ซอ่ื สัตยต์ ่อลูกคา้ และอย่าทะเลาะ กับคน/ครู ต้องคิดและคิดให้จบกระบวนความ ต้องทาโดยไม่ต้องคิดถึงปัญหามาเป็นตัวต้ัง ให้ลองผิดลองถูก ต้อง เปล่ียนวิธีคิดในการเป็นผู้นา ในวงการศึกษาห้ามหลับเพราะโลกต่ืนและหมุนตลอดเวลา ต้องใช้หลักรัฐศาสตร์ใน การบริหารคน ใช้หลักพานิชย์ศาสตร์ในการหาเงิน ใช้หลักเศรษฐศาสตร์ในการบริหารจัดการเงิน เม่ือทุกอย่าง สมบูรณ์แบบแล้วต้องตอบแทนสังคมและการศึกษา ส่งต่อความรู้ที่มีอยู่ให้กับบคุ คลอ่ืน มองอุปสรรคให้เปน็ โอกาส โดยการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผู้นารุ่นใหม่ต้องเปล่ียนกระบวนทัศน์ สอนให้คนเป็นคนดีคนเก่ง ทันต่อ การเปลย่ี นแปลงเทคโนโลยี รวดเรว็ สร้างศรัทธาและความไวว้ างใจแกบ่ คุ คลรอบข้าง” ทง้ั น้ี ต้องคานึงถงึ ฐานรากของเศรษฐกจิ ซึ่งกค็ ือคน ดังนัน้ การจะทาให้ทุกสง่ิ อย่างสาเร็จ เราต้องพฒั นาคน ใหม้ คี ณุ ภาพ เปรียบดงั่ การรบตอ้ งใช้อาวธุ แต่..อาวธุ ทีใ่ ช้ไม่มีวนั หมด คือ ความรู้ เราจงึ ต้องสะสมความรู้ไมใ่ ช่อาวุธ รายงานการศกึ ษาดงู านระหวา่ งฝกึ ประสบการณ์ : กล่มุ 2



หลกั สูตรการพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา กอ่ นแตง่ ตัง้ ใหด้ ารงตาแหนง่ ผอ. สอศ. แนวทางการประยุกตใ์ ช้ ในการบริหารจัดการสถานศกึ ษา ฉากทศั น.์ . ในการบริหารจดั การสถานศึกษาสู่อนาคต รายงานการศึกษาดูงานระหวา่ งฝกึ ประสบการณ์ : กล่มุ 2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook