Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore องค์ประกอบคอมพิวเตอร์.ของทรายdocx

องค์ประกอบคอมพิวเตอร์.ของทรายdocx

Published by narumol.rattanasupa12345, 2018-06-13 10:33:14

Description: องค์ประกอบคอมพิวเตอร์.ของทรายdocx

Search

Read the Text Version

ผู้จัดทา นางสาวนฤล รตั นสภุ า ชนั้ ปวส.1 เลขท่ี 13 สาขา คอมพวิ เตอร์ธรุ กิจ กล่มุ 1 เสนอ อาจารย์ ทวีศักด์ิ หนูทิมเป็นส่วนหนึ่งของวิชา การประกอบเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2561 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษานครศรีธรรมราช

บทความคอมพวิ เตอร์

เร่ือง บทบาทสาคัญคอมพวิ เตอร่์ ปัจจบุ นั คอมพิวเตอรก์ ไ็ ดเ้ ขา้ มามบี ทบาทสาคญั ต่อผ้คู นมากมาย การมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ จงึ เป็นขอ้ ได้เปรียบในการทางาน ซึง่ เร่มิ ต้งั แตก่ ารพิจารณา เพอ่ื รับเข้าทางาน เป็นคณุ สมบัติบงั คบั ส่วนบุคค ลธรรมดาท่วั ไปนนั้ กม็ คี วามจาเปน็ ต้องศึกษาพ้ืนฐาน เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์เช่นเด่ยี วกันเพราะทุกวนั น้ีคอมพิวเตอรไ์ ด้เขา้ มาเก่ียวข้องกบั ชีวิตมากจรงิ ๆ ไม่ไดจ้ ากดั อยู่เฉพาะในการทางานเหมือนเม่อื ก่อนแลว้ และหนา้ ตาของคอมพวิ เตอรก์ ็ไมไ่ ด้จากดั ต้องเป็นกลอ่ งสเี่ หลี่ยมใหญ่เทอะทะอีกต่อไป เพราะความกา้ วหนา้ ทางอนิ เตอรเ์ น็ตน่ันเอง เราจึงสามารถใชค้ อมพวิ เตอร์ ซ่งึ มีหลายรูปแบบทง้ั มอืถอื สมาร์ทโฟน แทบ็ เลต็ พซี ี โนต๊ บคุ๊ หรือคอมพวิ เตอร์ต้ังโตะ๊ เพือ่ หาขอ้ มลู ได้ทกุ เร่อื ง จะดวู ดิ ิโอสอนเกยี่ วกับเรอื่ งใดๆจะดหู นงั สารคดี เป็นตน้การติดตอ่ ส่ือสารผ่านอนิ เตอร์เนต็ เลน่ facebook ซ้ือขายสนิ ค้า เปิดรา้ นค้าบนอินเตอร์เน็ต กต็ ้องใช้คอมพวิ เตอรเ์ ชน่ เดยี วกนั

1. ฮารด์ แวร์(Hardware )ฮารด์ แวรเ์ ปน็ องค์ประกอบของตวั เคร่อื งทส่ี ามารถจบัต้องได้ ไดแ้ ก่ วงจรไฟฟา้ตัวเคร่อื ง จอภาพเครื่องพิมพ์ คียบ์ อร์ด เปน็ตน้ ซึ่งสามารถแบ่งสว่ นพืน้ ฐานของฮาร์ดแวร์เปน็ 4 หนว่ ย สาคัญ 1.1 หนว่ ยรบั ข้อมูลหรืออนิ พตุ ทาหนา้ ทีร่ ับข้อมลู และโปรแกรมเข้าเครอ่ื ง มีโครงสร้างดังรูป 1.3 ได้แก่ คยี ์บอรด์ หรอื แป้นพิมพ์ เมาส์เคร่ืองสแกน เครือ่ งรดู บัตร Digitizer เป็นต้น 1.2 ระบบประมวลผลกลางหรือซพี ยี ู (CPU:Central ProcessingUnit) ทาหน้าทใ่ี นการทางานตามคาสง่ั ทป่ี รากฏอยู่ในโปรแกรม ปัจจบุ นัซีพยี ขู องเครอ่ื งพีซี รู้จักในนามไมโครโปรเซสเซอร์ ( MicroProcessor) หรอื Chip ไมโครโปรเซสเซอร์ มหี นา้ ทใ่ี นการประมวลผลข้อมูล ในลักษณะของการคานวณและเปรียบเทียบ โดยจะทางานตามจังหวะเวลาทแ่ี นน่ อน เรยี กวา่ สัญญาณ Clock เมื่อมกี ารเคาะจงั หวะหนง่ึ ครง้ั ก็จะเกิดกิจกรรม 1 ครงั้ เราเรียกหนว่ ย ท่ีใชใ้ นการวัดความเร็วของซีพียวู า่ “เฮริ ท์ ” (Herzt) หมายถึงการทางานได้กีค่ ร้งั ในจานวน 1 วินาที เช่น ซพี ียู Pentium4 มีความเรว็ 2.5GHz หมายถึงทางานเร็ว 2,500 ล้านครง้ั ในหนงึ่ วินาที กรณีที่สญั ญาณ Clock เรว็ กจ็ ะทาใหค้ อมพิวเตอร์เครือ่ งน้ัน มคี วามเร็วสงู และ ซพี ยี ูท่ที างานเรว็ มาก ราคาก็จะแพงข้นึ มากตามไปดว้ ย

1.3 หนว่ ยเกบ็ ข้อมลู ( Storage ) ซงึ่ สามารถแยกตามหนา้ ท่ีได้ เป็น 2 ลักษณะ คอื 1..3.1 หน่วยเกบ็ ขอ้ มูล หลักหรือความจาหลัก ( PrimaryStorage ห รือ MainMemory) ทาหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมลู ท่รี บั มาจากหนว่ ยรบั ขอ้ มลู เพอ่ื เตรยี มส่งให้หนว่ ยประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรับผลลพั ธ์ท่ไี ด้จากการประมวลผลเพื่อส่งออกหนว่ ยแสดงขอ้ มลู ต่อไปซง่ึ อาจแยกได้เปน็ 2 ประเภท คือ RAM ( Random Access Memory ) ที่สามารถอ่านและเขยี นข้อมลู ได้ในขณะทเ่ี ปิดเครอื่ งอยู่ แตเ่ มอ่ื ปิดเคร่ืองข้อมลูใน RAM จะหายไป และ ROM ( Read Only Memory ) จะอ่านได้อยา่ งเดียว เชน่ BIOS (Basic Input Output system) โปรแกรมฝงั ไว้ใชต้ อนสตาร์ตเคร่ือง เพอ่ื เคร่ืองคอมพิวเตอร์เรม่ิ ต้นทางาน เปน็ ตน้ 1..3.2 หน่วยเกบ็ ข้อมลู สารอง ( Secondary Storage ) เปน็หน่วยทีท่ าหน้าทีเ่ ก็บข้อมูล หรอื โปรแกรมทีจ่ ะปอ้ นเข้าส่หู น่วยความจาหลกัภายในเครื่องก่อนทาการประมวลผลโดยซพี ียู รวมทง้ั เป็นทีเ่ กบ็ ผลลัพธ์จากการประมวลผลด้วย ปจั จุบันรูจ้ กั ในนามฮาร์ดดสิ ก์ ( Hard disk) หรอืแผ่นฟร็อปปดี ิสก์ (Floppy Disk) ซ่งึ เมือ่ ปิดเคร่ืองข้อมูลจะยังคงเกบ็ อยู่ 1.4 หน่วยแสดงข้อมลู หรอื เอาตพ์ ุต ( Output Unit ) ทาหนา้ ท่ีในการแสดงผลลัพธท์ ี่ไดจ้ ากการประมวลผล ได้แก่ จอภาพ และเคร่อื งพิมพ์เป็นตน้ ท้ัง 4 สว่ นจะเช่ือมต่อกนั ด้วยบัส ( Bus ) 2. ซอฟตแ์ วร์ ( Software ) ซอฟตแ์ วร์ คือโปรแกรมหรอื ชดุ คาส่งั ท่ีส่ังให้ฮารด์ แวร์ทางาน รวมไปถึงการควบคุมการทางาน ของอุปกรณ์แวดล้อมตา่ งๆ เชน่ ฮารด์ ดสิ ก์

ดิสกไ์ ดรฟ์ ซีดรี อม การด์ อินเตอร์เฟสต่าง ๆ เป็นต้น ซอฟต์แวร์ เป็นสง่ิ ท่ีมองไม่เหน็ จบั ตอ้ งไม่ได้ แต่รบั รู้การทางานของมันได้ ซง่ึ ต่างกับ ฮารด์ แวร์(Hardware) ท่สี ามารถจบั ต้องได้ ซ่ึงแบ่งเปน็ 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟต์แวรร์ ะบบ ( System Software ) คือโปรแกรม ทใี่ ช้ในการควบคุมระบบการ ทางานของเครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ ัง้ หมดเช่น การบตู เครือ่ ง การสาเนาขอ้ มลู การจดั การระบบของดสิ ก์ ชุดคาส่งั ท่ีเขียนเปน็ คาส่งั สาเรจ็ รูป โดยผผู้ ลิตเครือ่ งคอมพิวเตอร์ และมมี าพรอ้ มแล้วจากโรงงานผลติ การทางานหรือการประมวลผล ของซอฟต์แวรเ์ หล่านี้ขึน้ กบั เคร่ืองคอมพิวเตอรแ์ ต่ละเครือ่ ง ระบบของซอฟตแ์ วรเ์ หล่านี้ ออกแบบมาเพ่อื การปฏิบตั คิ วบคุม และมคี วามสามารถในการยดื หยุน่ การประมวลผลของเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ แบ่งออกเปน็ 4 ประเภท คือ 2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการ (Operating System) เป็นโปรแกรมทีใ่ ช้ควบคุม และตดิ ตอ่ กบั อุปกรณ์ต่าง ๆ ของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ โดยเฉพาะการจัดการระบบของดิสก์ การบริหารหน่วยความจาของระบบ กลา่ วโดยสรปุ คือ หากจะทางานใดงานหนงึ่ โดยใช้คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เครื่องมอื ในการทางาน แลว้ จะต้องติดตอ่ กับซอฟต์แวร์ระบบก่อน ถ้าขาดซอฟตแ์ วรช์ นดิ น้ี จะทาใหเ้ ครื่องคอมพวิ เตอร์ ไม่สามารถทางานได้ ตัวอยา่ งของซอฟตแ์ วร์ประเภทนไ้ี ดแ้ ก่ โปรแกรมระบบปฏบิ ัตกิ าร Unix Linux DOSและWindows (เวอร์ชน่ั ตา่ ง ๆ เช่น95 98 me 2000 NT XP Vista) เป็นตน้ 2.1.2 ตวั แปลภาษา (Translator) จาก Source Code ให้เป็น Object Code (แปลจากภาษาทม่ี นุษยเ์ ขา้ ใจ ให้เป็นภาษาที่เครอื่ งเขา้ ใจ เปรยี บเสมอื นล่ามแปลภาษา) เป็นซอฟต์แวรท์ ่ีใช้ในการแปลภาษาระดบั สูง ซง่ึ เป็นภาษาใกลเ้ คียงภาษามนุษย์ ใหเ้ ปน็ ภาษาเคร่ืองก่อนที่จะนาไปประมวลผล ตวั แปลภาษาแบ่งออกเปน็ สองประเภทคือ คอมไพเลอร์(Compiler) และอนิ เตอร์พีทเตอร์ (Interpeter) คอมไพเลอร์จะแปลคาส่ังในโปรแกรมทง้ั หมดกอ่ น แล้วทาการลง้ิ (Link) เพ่อื ใหไ้ ด้คาส่ังทีเ่ คร่ือง

คอมพวิ เตอรเ์ ขา้ ใจ ส่วนอนิ เตอร์พที เตอร์จะแปลทลี ะประโยคคาสัง่ แล้วทางานตามประโยคคาส่งั นั้น การจะเลือกใช้ตัวแปลภาษาแบบใดนน้ั จะขึ้นอย่กู บั ภาษาที่ใชใ้ นการเขยี นโปรแกรม ซ่ึงมี 2 แบบได้แก่ ภาษาแบบโครงสรา้ ง เช่น ภาษาเบสิก (Basic) ภาษาปาสคาล (Pascal) ภาษาซี(C) ภาษาจาวา (Java) ภาษาโคบอล(Cobol) ภาษา SQL ภาษา HTML เป็นต้น ภาษาแบบเชงิ วัตถุ(Visual หรือ Object OrientedProgramming) เช่น Visual Basic,Visual C หรอื Delphi เป็นต้น 2.1.3 ยตู ิลติ ี้ โปรแกรม (Utility Program) คือ ซอฟต์แวรเ์ สรมิชว่ ยให้เครอ่ื งทางานมปี ระสิทธภิ าพ มากขน้ึ เช่น ช่วยในการตรวจสอบดสิ ก์ชว่ ยในการจดั เกบ็ ข้อมลู ในดิสก์ ช่วยสาเนาข้อมลู ช่วยซอ่ มอาการชารุดของดสิ ก์ ช่วยคน้ หาและกาจัดไวรัสฯลฯ เปน็ ต้นโปรแกรมในกลุ่มนี้ ไดแ้ ก่โปรแกรม Norton Winzip Scan virus Sidekick ScandiskScreen Saver ฯลฯ เป็นต้น 2.1.4 ติดตัง้ และปรับปรุงระบบ (Diagonostic Program) เป็นซอฟตแ์ วร์ทใ่ี ช้ในการตดิ ตั้งระบบ เพ่ือให้คอมพวิ เตอร์สามารถตดิ ตอ่ และใช้งานอปุ กรณต์ ่าง ๆ ทน่ี ามาตดิ ต้งั ระบบ ไดแ้ ก่ โปรแกรม Setupและ Driver ต่าง ๆ เชน่ โปรแกรม Setup MicrosoftOffice โปรแกรม Driver Sound , Driver Printer , DriverScanner ฯลฯ เป็นตน้ 2.2 ซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ (Application Software)คอื ซอฟตแ์ วรห์ รือโปรแกรมทที่ าใหค้ อมพวิ เตอรท์ างานตา่ งๆ ตามทีผ่ ู้ใช้ต้องการ ไมว่ า่ จะดา้ นเอกสาร บญั ชี การจัดเก็บขอ้ มูล เป็นต้น ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถจาแนกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คอื

2.2.1 ซอฟต์แวร์สาหรับงานเฉพาะด้าน (Special PurposeSoftware) คือ โปรแกรมซ่ึงเขยี นขึ้นเพือ่ การทางานเฉพาะอย่างทเ่ี ราตอ้ งการ บางท่ีเรียกว่า User’sProgram เชน่ โปรแกรมการทาบญั ชีจ่ายเงินเดอื น โปรแกรมระบบเชา่ ซ้อืโปรแกรมการทาสนิ คา้ คงคลงั เป็นต้น ซึง่ แต่ละโปรแกรมก็มกั จะมเี งือ่ นไขหรือแบบฟอรม์ แตกตา่ งกนั ออกไปตามความต้องการ หรือกฏเกณฑ์ของแต่ละหน่วยงานทใี่ ช้ ซ่งึ สามารถดัดแปลงแกไ้ ขเพม่ิ เติม (Modifications) ในบางสว่ นของโปรแกรมได้ เพื่อใหต้ รงกับความต้องการของผูใ้ ช้ และซอฟตแ์ วรป์ ระยุกตท์ ี่เขียนขึ้นนี้โดยสว่ นใหญม่ ักใชภ้ าษาระดบั สูงเป็นตวัพัฒนา 2.2.2 ซอฟต์แวรส์ าหรบั งานทั่วไป (General PurposeSoftware) เป็นโปรแกรมประยกุ ต์ท่ีมผี ้จู ดั ทาไว้ เพอ่ื ใชใ้ นการทางานประเภทตา่ งๆ ทัว่ ไป โดยผใู้ ชค้ นอนื่ ๆ สามารถนาโปรแกรมน้ีไปประยกุ ต์ใช้กบั ขอ้ มูลของตนได้ แตจ่ ะไม่สามารถทาการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผูใ้ ช้ไม่จาเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซ่งึ เป็นการประหยัดเวลาแรงงาน และคา่ ใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากน้ี ยังไม่ต้องเวลามากในการฝกึ และปฏบิ ตั ิ ซ่ึงโปรแกรมสาเร็จรปู นี้ มักจะมกี ารใชง้ านในหนว่ ยงาน ซ่ึงขาดบคุ ลากรทมี่ ีความชานาญเป็นพเิ ศษในการเขยี นโปรแกรมดังนั้น การใช้โปรแกรมสาเร็จรปู จงึ เปน็ สิ่งที่อานวยความสะดวกและเป็นประโยชนอ์ ย่างย่ิง ตวั อย่างโปรแกรมสาเร็จรปู ทีน่ ยิ มใชไ้ ดแ้ ก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, InternetExplorer และเกมสต์ ่างๆ เปน็ ต้น

3 บุคลากร (PEOPLEWARE) บคุ ลากรจะเป็นส่ิงสาคญั ท่ีจะเป็นตวั กาหนดถึงประสิทธภิ าพถงึความสาเรจ็ และความคมุ้ ค่าในการใชง้ านคอมพิวเตอร์ ซง่ึ สามารถแบง่บคุ ลากรตามหน้าท่เี กย่ี วขอ้ งตามลกั ษณะงานได้ 6 ด้าน ดงั น้ี 3.1 นกั วเิ คราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst andDesigner : SA) ทาหนา้ ทศ่ี กึ ษาและรวบรวมความต้องการของผูใ้ ช้ระบบ และทาหนา้ ท่เี ปน็ ส่อื กลางระหว่างผใู้ ชร้ ะบบและนักเขยี นโปรแกรมหรือปรับปรงุ คณุ ภาพงานเดมิ นกั วิเคราะห์ระบบต้องมีความรูเ้ กี่ยวกับระบบคอมพวิ เตอร์ พื้นฐานการเขียนโปรแกรม และควรจะเปน็ ผูม้ คี วามคดิ รเิ ริม่สรา้ งสรรค์มีมนุษย์สมั พนั ธ์ท่ดี ี 3.2 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือบคุ คลที่ทาหนา้ ที่เขียนซอฟตแ์ วรต์ า่ งๆ(Software) หรือเขยี นโปรแกรมเพอื่ สั่งงานใหเ้ ครือ่ งคอมพิวเตอร์ทางานตามความต้องการของผูใ้ ช้ โดยเขียนตามแผนผงั ท่ีนกั วเิ คราะห์ระบบได้เขยี นไว้ 3.3 ผู้ใช้ (User) เป็นผใู้ ช้ระบบคอมพวิ เตอร์ ซ่ึงจะเปน็ ผู้ปฏิบัติหรอืกาหนดความต้องการในการใชร้ ะบบคอมพวิ เตอรว์ ่าทางานอะไรได้บา้ งผูใ้ ชง้ านคอมพวิ เตอรท์ ่ัวไป จะต้องเรียนรู้วิธกี ารใช้เครื่อง และวธิ กี ารใชง้ านโปรแกรม เพ่ือให้โปรแกรมที่มีอยสู่ ามารถทางานไดต้ ามทต่ี อ้ งการ 3.4 ผปู้ ฏบิ ัติการ (Operator) สาหรับระบบขนาดใหญ่ เชน่เมนเฟรม จะต้องมเี จ้าหน้าทคี่ อมพวิ เตอร์ท่คี อยปิดและเปดิ เครอ่ื ง และเฝา้ ดูจอภาพเมอ่ื มีปัญหาซ่ึงอาจเกดิ ขัดข้อง จะตอ้ งแจ้งSystem Programmer ซง่ึ เป็นผดู้ ูแลตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมระบบควบคมุ เคร่ืองอกี ทหี นึง่ 3.5 ผบู้ รหิ ารฐานข้อมูล (Database Administrator :DBA) บุคคลทีท่ าหนา้ ทด่ี ูแลขอ้ มูลผา่ นระบบจดั การฐานข้อมลู ซึ่งจะควบคมุให้การทางานเป็นไปอย่างราบร่ืน ขอ้ มลูนอกจากนย้ี ังทาหนา้ ที่กาหนดสิทธิการใชง้ านพร้อมท้ังดูแลดาต้าเบสเซิรฟ์ เวอร์ใหท้ างานอยา่ งปกตดิ ้วย

3.6 ผจู้ ดั การระบบ (SystemManager) คอื ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอรใ์ หเ้ ป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน เปน็ ผูท้ ่มี ีความหมายต่อความสาเรจ็หรอื ลม้ เหลวของการนาระบบคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ มาใช้งานเปน็ อยา่ งมาก 4. ข้อมลู และสารสนเทศ 4.1 ขอ้ มูล ( DATA) หมายถึง ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื เหตกุ ารณท์ เ่ี กิดขึน้ แลว้ ใชต้ วั เลขตวั อกั ษรหรือสัญลักษณ์ ตา่ งๆ ทาความหมายแทนส่งิ เหลา่ นนั้ เช่น · คะแนนสอบวชิ าภาษาไทยของนักเรียน · อายุของพนกั งานในบริษัทชินวัตรจากัด · ราคาขายของหนงั สอื ในร้านหนงั สอื ดอกหญา้ · คาตอบทผี่ ู้ถกู สารวจตอบในแบบสอบถาม

4.2 สารสนเทศ ( INFORMATION) หมายถึง ขอ้ สรุปตา่ งๆ ท่ีไดจ้ ากการนาขอ้ มลู มาทาการวเิ คราะห์ หรอืผ่านวธิ ีการท่ี ได้กาหนดขนึ้ ทั้งน้เี พ่อื นาข้อสรุปไปใชง้ านหรอื อา้ งอิง เชน่ · เกรดเฉล่ียของวิชาภาษาไทยของนักเรียน · อายุเฉล่ียของพนกั งานในบริษทั ชนิ วัตรจากดั · ราคาขายสูงสุดของหนังสอื ในร้านหนังสอื ดอกหญา้ · ข้อสรปุ จากการสารวจคาตอบในแบบสอบถาม 5. กระบวนการ ทางาน (PROCEDURE) องคป์ ระกอบดา้ นนีห้ มายถึงกระบวนการทางานเพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลลัพธต์ ามต้องการ ในการทางานกบั คอมพิวเตอร์ผู้ใช้จาเปน็ ตอ้ งทราบข้นั ตอนการทางานเพ่ือให้ได้งานทีถ่ กู ตอ้ งและมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจจะมีขัน้ ตอนสลบั ซบั ซ้อนหลายขั้นตอน ดังนน้ั จึงมคี วามจาเป็นตอ้ งมีคู่มอื ปฏิบัติงานเชน่ คู่มอื ผ้ใู ช้ ( user manual ) หรอื คมู่ อื ผ้ดู ูแลระบบ ( operationmanual ) เปน็ ต้น

หลักการทางานของคอมพิวเตอร์ ระบบการทางานของคอมพวิ เตอร์ การทางานของคอมพวิ เตอร์ แบ่งออกเปน็ 4 สว่ น ดังน้ี 1. หน่วยรบั ข้อมลู (Input Unit) ทาหนา้ ที่ในการรับข้อมูลหรือคาสัง่ จากภายนอกเข้าไปเกบ็ ไวใ้ นหน่วยความจา เพือ่ เตรยี มประมวลผลขอ้ มลู ทีต่ อ้ งการ ซ่ึงอปุ กรณท์ ่ีใช้ในการนาขอ้ มลู ที่ใช้กันอยตู่ ั้งแตอ่ ดีตจนถึงปจั จบุ นั นนั้ มอี ยู่หลายประเภทดว้ ยกันสาหรับอปุ กรณท์ นี่ ยิ มใช้ในปจั จบุ ันมี ดังตอ่ ไปนี้ - Keyboard - Mouse - Disk Drive - Hard Drive - CD-Rom - Magnetic Tape - Card Reader - Scanner 2. หนว่ ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ทาหน้าทีใ่ นการคานวณและประมวลผล แบง่ ออกเป็น 2 หน่วยย่อยคือ - หน่วยควบคุม ทาหน้าท่ใี นการดูแล ควบคมุ ลาดบั ข้ันตอนของการประมวลผล และการทางานของอปุ กรณต์ ่างๆ ภายในหน่วยประมวลผลกลาง และช่วยประสานงานระหว่างหนว่ ยประมวลผลกลาง กับอุปกรณน์ าเขา้ ข้อมูล อปุ กรณ์ในการแสดงผล และหนว่ ยความจาสารอง - หน่วยคานวณและตรรก ทาหนา้ ทใี่ นการคานวณและเปรยี บเทียบขอ้ มูลตา่ งๆ ท่สี ง่ มาจากหนว่ ยควบคมุ และหน่วยความจา

3. หนว่ ยความจา (Memory) ทาหนา้ ทีใ่ นการเก็บขอ้ มูลหรอื คาสง่ั ต่างๆ ท่ีรับจากภายนอกเข้ามาเกบ็ไว้ เพอื่ ประมวลผลและยังเก็บผลทไ่ี ดจ้ ากการประมวลผลไว้เพ่ือแสดงผลอีกดว้ ย ซึง่ แบง่ ออกเป็นหนว่ ยความจา เป็นหน่วยความจาทีม่ ีอยู่ ในตวั เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ทาหนา้ ทีใ่ นการเก็บคาสงั่ หรอื ขอ้ มลู แบ่งออกเปน็ - ROM หนว่ ยความจาแบบถาวร - RAM หน่วยความจาแบบชว่ั คราว - หน่วยความจาสารอง เปน็ หน่วยความจาที่อยู่นอกเครือ่ ง มีหนา้ ทชี่ ว่ ยให้หนว่ ยความจาหลกั สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ได้มากขนึ้ 4. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าท่ใี นการแสดงผลลทั ธท์ ่ีได้หลงั จากการคานวณและประมวลผลสาหรบั อุปกรณ์ที่ ทาหนา้ ทใ่ี นการแสดงผลขอ้ มลู ท่ีไดน้ ั้นมีต่อไปน้ี - Monitor จอภาพ

- Printer เครอื่ งพิมพ์ - Plotter เครือ่ งพมิ พท์ ีใ่ ชป้ ากกาในการเขยี นขอ้ มูลตา่ งๆ ท่ีตอ้ งการลงกระดาษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook