Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Guideline4RxTechnicalPaper2011

Guideline4RxTechnicalPaper2011

Published by Jantarika Sanankiatcharoen, 2021-04-09 08:37:21

Description: Guideline4RxTechnicalPaper2011

Search

Read the Text Version

แนวทางในการจดั ทําผลงานเพื่อขอประเมินบุคคล ตําแหน่ง เภสัชกรชาํ นาญการ และ เภสชั กรชาํ นาญการพิเศษ สาํ นกั บรหิ ารการสาธารณสุข สาํ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ พฤษภาคม ๒๕๕๔

แนวทางในการจดั ทําผลงานเพ่อื ขอประเมินบุคคล ตาํ แหนง่ เภสชั กรชาํ นาญการ และ เภสัชกรชํานาญการพิเศษ สาํ นักบรหิ ารการสาธารณสขุ สํานักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข

แนวทางในการจัดทาํ ผลงานเพื่อขอประเมินบคุ คล ตาํ แหนง่ เภสัชกรชาํ นาญการและเภสชั กรชํานาญการพเิ ศษ ท่ปี รึกษา : รองศาสตราจารย์พิเศษเภสัชกรกิตติ พทิ กั ษ์นติ นิ นั ท์ บรรณาธิการ : เภสชั กรหญิงภัทรอ์ นงค์ จองศิริเลศิ คณะผูจ้ ัดทํา : เภสัชกรประสาท ลิม่ ดลุ ย์ : เภสัชกรหญงิ ภัทรอ์ นงค์ จองศิริเลศิ : เภสชั กรประสาท ล่มิ ดุลย์ : เภสชั กรสรจักร ศิรบิ ริรักษ์ : เภสชั กรวัชรพนั ธ์ุ ศรีสวสั ดิ์ : เภสัชกรประทิน ฮงึ วัฒนากุล : เภสัชกรอาํ นวย พฤกษ์ภาคภมู ิ : เภสัชกรธงชยั วลั ลภวรกจิ จดั พิมพ์และเผยแพร่โดย : กลมุ่ งานเทคนคิ บรกิ ารและงานค้มุ ครองผบู้ รโิ ภค กล่มุ ภารกจิ เทคนิคบรกิ าร สํานกั บรหิ ารการสาธารณสุข สาํ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข อาํ เภอเมอื ง จงั หวัดนนทบรุ ี ๑๑๐๐๐ โทรศพั ท:์ ๐-๒๕๙๐-๑๖๒๘ โทรสาร: ๐-๒๕๙๐-๑๖๓๔ http://www.phdb.moph.go.th พิมพค์ รัง้ ท่ี ๑ : พฤษภาคม ๒๕๕๔ จํานวนพิมพ์ : ๑,๐๐๐ เล่ม

คํานํา สืบเน่ืองจาก การขอปรับระดับตําแหน่งท่ีสูงข้ึนหรือเพ่ือขอรับเงินประจําตําแหน่ง สํานักงาน ก.พ. ได้กําหนดให้ต้องมีการนําเสนอผลงานเพื่อขอประเมินเพ่ือดํารงตําแหน่งท่ีสูงข้ึนหรือเพ่ือขอรับเงินประจํา ตําแหน่ง ทั้งผลการดําเนินงานท่ีผ่านมาและแนวคิดการพัฒนางาน ซ่ึงท่ีผ่านมาจากการพิจารณาประเมินผล งานท่ีเสนอขอประเมิน คณะกรรมการพบวา่ พวกเราส่วนใหญ่ไม่เข้าใจในวิธีการเขียนผลงานในลักษณะต่าง ๆ รวมทั้งแนวคิดการพัฒนา งานเพื่อนําเสนอ และส่วนหน่ึงไม่สามารถสื่อให้กรรมการเข้าใจในประเด็นสําคัญ ของผลงานได้ชัดเจน ดังนั้นในระยะท่ีผ่านมา คณะกรรมการจึงต้องเสนอให้กลับไปปรับปรุงแก้ไขผลงานและ แนวคิดการพัฒนา หรือบางรายต้องให้เขียนผลงานหรือแนวคิดการพัฒนาเรื่องใหม่เพ่ิมเติมเพ่ือเสนอ ประกอบ ดังนั้น เพื่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกันในลักษณะวิธีการเขียนผลงานและแนวคิดการพัฒนางาน ทถ่ี ูกตอ้ งเหมาะสม กลุ่มงานเทคนิคบริการและงานคมุ้ ครองผ้บู รโิ ภค กลุม่ ภารกิจเทคนคิ บริการ สาํ นักบริหาร การสาธารณสขุ สํานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ จึงได้รวบรวมและจัดทําแนวทางในการจัดทําผลงานเพ่ือ ขอประเมนิ บุคคล ตาํ แหนง่ เภสชั กรชาํ นาญการและเภสัชกรชํานาญการพิเศษ รวมท้ังการขอประเมินผลงาน เพื่อขอรับเงนิ ประจาํ ตําแหน่ง โดยมเี จตนาเพอ่ื ใหผ้ ู้ขอประเมินในสายงานดังกล่าวได้ศึกษาและใช้เป็นแนวทาง ในการจัดทําผลงานเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน สํานักบริหารการสาธารณสุข ขอขอบพระคุณ เภสัชกร ประสาท ลิม่ ดุลย์ ที่ได้ชว่ ยร้อยเรียงแนวทางในการเขยี นผลงานท่เี ปน็ ผลการดําเนนิ งานที่ผา่ นมาที่เป็นฉบับเต็ม (Full paper) ท้ังผลการดําเนินงานที่ผ่านมา (ผลงานเด่นเฉพาะตัว) ผลงานการศึกษาวิจัย และ ข้อเสนอ แนวคิด/วิธกี าร เพ่อื พฒั นางานหรอื ปรับปรงุ งานใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากขึน้ มา ณ ทน่ี ้ี สํานักบริหารการสาธารณสุขหวังเป็นอย่างย่ิงว่า แนวทางในการจัดทําผลงานเพื่อขอประเมินบุคคล สาขาเภสัชศาสตร์ ตําแหน่ง เภสัชกรชํานาญการและเภสัชกรชํานาญการพิเศษ ท่ีได้จัดทําขึ้นน้ี จะเป็น ประโยชน์ต่อเภสัชกรทุกท่าน ในการจัดทําผลงานเพื่อขอประเมินบุคคล เพ่ือขอแต่งต้ังข้ึนดํารงตําแหน่งใน ระดับสูงข้ึน โดยสํานักบริหารการสาธารณสุขจะได้มีการทบทวนปรับปรุงเพ่ิมเติมให้มีความสมบูรณ์ยิ่งข้ึน ต่อไป หากมีสิ่งบกพร่อง หรือควรแก้ไขประการใด กรุณาแจ้งสํานักบริหารการสาธารณสุข กระทรวง สาธารณสุข เพอื่ จะได้นําไปปรับปรุงแกไ้ ขในโอกาสต่อไป คณะผ้จู ัดทาํ

สารบญั คํานํา สรปุ หลกั เกณฑก์ ารประเมนิ บุคคลและผลงานตําแหนง่ เภสัชกรชํานาญการและชํานาญการพเิ ศษ ๑ สรปุ รปู เลม่ และแบบฟอร์มของเอกสารเพอื่ ขอรับการประเมนิ ๒ เล่มที่ ๑ แบบประเมินผลงาน ๓ • แบบประเมินผลงานเพื่อเลอื่ นขน้ึ แตง่ ต้ังให้ดาํ รงตาํ แหนง่ ระดบั ชํานาญการ/ชาํ นาญการพเิ ศษ ๙ • แบบประเมนิ ผลงานเพอื่ ขอรับเงนิ ประจําตําแหนง่ ๑๕ • แนวทางการเขยี น แบบประเมินผลงาน เลม่ ที่ ๒ ผลการดําเนนิ งานท่ีผ่านมา ๒๐ • แนวทางการเขียน ผลการดาํ เนนิ งานทผี่ า่ นมา(ผลงานเด่นเฉพาะตวั ) ฉบบั สมบูรณ์ ๒๒ • แนวทางการเขยี น รายงานวจิ ยั ฉบบั เตม็ (ฉบบั สมบรู ณ)์ ๒๔ เลม่ ท่ี ๓ ขอ้ เสนอแนวคิด/วธิ กี ารเพ่อื พฒั นางานหรือปรับปรงุ งานให้มปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ ๒๙ • แนวทางการเขยี น ขอ้ เสนอแนวคิด/วธิ กี ารเพอื่ พฒั นางานหรอื ปรบั ปรงุ งานใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากขึน้ ๓๑

-๑- สรุปหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ บคุ คลและผลงาน ตาํ แหน่งเภสชั กรชาํ นาญการ และเภสชั กรชาํ นาญการพเิ ศษ ผลงานทเ่ี สนอให้ประเมิน ระดบั ระดบั ชํานาญการ ระดับชาํ นาญการ หมายเหตุ ๑. คุณวฒุ ิการศกึ ษา ชาํ นาญการ เพ่ือขอรับเงนิ พิเศษ ประจําตาํ แหนง่ ๑. ปริญญาตรีทางเภสัชศาสตร์ ๒. ไดร้ ับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม ๓. ขอประเมินระดับชํานาญการพิเศษต้องมี วุฒิการศึกษา เ พิ่ ม เ ติ ม ไ ม่ ตํ่ า ก ว่ า ร ะ ดั บ ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร บั ณ ฑิ ต ห รื อ เทียบเท่า (สําหรับเภสัชกรที่บรรจุเข้ารับราชการ ตั้งแต่ปี ๒๕๔๒ เป็นตน้ ไป) ๒. ระยะเวลาขน้ั ตาํ่ ในการ ดาํ รงตําแหน่ง/ - การขอประเมินผลงานเพื่อขอรับเงินประจํา เคยดาํ รงตําแหนง่ ในสายงานท่ีจะแตง่ ตั้ง ตํ า แ ห น่ ง ต้ อ ง เ ป็ น ร ะ ดั บ ชํ า น า ญ ก า ร ห รื อ ๒.๑ ปริญญาตรหี รอื เทยี บเท่า ๖ ปี ๗ ปี ๘ ปี เทียบเท่ามาแล้ว ๒ ปี (ว.๑๘/๒๕๕๑ ลงวันที่ ๒.๒ ปรญิ ญาโทหรอื เทียบเทา่ ๔ ปี ๕ ปี ๑๑ ตค.๒๕๕๑) ๒ ปี ๓ ปี ๖ ปี - การขอประเมินผลงานเพ่ือเลื่อนขึ้นแต่งต้ังให้ ๒.๓ ปริญญาเอกหรอื เทยี บเท่า ๔ ปี ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการพิเศษต้องเป็น ระดับชํานาญการหรือเทียบเท่ามาแล้ว ๓ ปี (ว.๑๙/๒๕๕๑ ลงวนั ที่ ๑๑ ตค.๒๕๕๑) ๓. ผลงานทเ่ี สนอให้ประเมิน ๓.๑. แบบประเมนิ ผลงาน 99 9 ๓.๒. ผลงานทเ่ี ปน็ ผลการดาํ เนนิ งาน - การขอประเมินผลงานเพ่ือเลื่อนข้ึนแต่งต้ังให้ ทผี่ ่านมาทเี่ ปน็ ฉบบั เตม็ (Full paper) ดํารงตําแหน่งระดับชํานาญการพิเศษ หากไม่ ๓.๒.๑ ผลการดาํ เนินงานท่ี เสนอผลการศึกษาวิจัยโดยเสนอเป็นผลการ ผา่ นมา (ผลงานเด่น เฉพาะตวั ) หรอื 9 9 9 ดําเนินงานที่ผ่านมา (ผลงานเด่นเฉพาะตัว) จะต้องเสนออยา่ งน้อย ๒ เรื่อง ๓.๒.๒ ผลงานวจิ ยั 9 ๑ เรือ่ ง 99 - จาํ นวนผลงาน ๑ เร่ือง ไม่นอ้ ยกวา่ ๑ เร่อื ง - - การเผยแพรผ่ ลงาน -9 ๓.๓.ข้อเสนอแนวคิดเพ่ือพฒั นางาน/ ๑ เรื่อง ๑ เรือ่ ง ๑ เรื่อง ปรับปรุงงาน

-๒- สรุปรปู เลม่ และแบบฟอรม์ ของเอกสารเพอ่ื ขอรับการประเมิน การขอประเมินผลงานเพ่ือเลื่อนขึ้นแต่งต้ังให้ดํารงตําแหน่ง เภสัชกรชํานาญการและชํานาญการ พิเศษ รวมท้ังการขอประเมินผลงานเพื่อขอรับเงินประจําตําแหน่ง ผู้ขอรับการประเมินจะต้องจัดทําเอกสาร เพือ่ เสนอขอรบั การประเมนิ (จาํ นวน ๖ ชุด) ดงั น้ี เลม่ ท่ี ๑ : แบบประเมินผลงาน ( ลายเซ็นจริง ๑ ชดุ สาํ เนา ๕ ชดุ ) เล่มที่ ๒ : ผลงานท่ีเป็นผลการดําเนนิ งานท่ีผา่ นมา ทเ่ี ปน็ ฉบับเตม็ ( Full paper ) ผขู้ อรบั การ ประเมินสามารถเลอื กนําเสนอผลงานที่มีลักษณะอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ ตอ่ ไปน้ี ๑. ผลการดาํ เนนิ งานทผ่ี า่ นมา (ผลงานเดน่ เฉพาะตัว) หรือ ๒. ผลงานทางวชิ าการ ซึง่ โดยปกติมกั เป็น ผลงานการศกึ ษาวิจัย จาํ นวน ๑-๒ เรือ่ ง จาํ นวน ๖ ชุด ทั้งน้ี สําหรับผู้ขอรับการประเมินเพื่อแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งเภสัชกรชํานาญการพิเศษ หากไม่เสนอผลงานการศึกษาวิจัย โดยเสนอเป็นผลการดําเนินงานท่ีผ่านมา (ผลงานเด่นเฉพาะตัว) ต้องเสนออยา่ งน้อย ๒ เร่อื ง เล่มที่ ๓ : ข้อเสนอแนวคิด/วิธีการ เพ่ือพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จํานวน ๖ ชุด เล่มที่ ๔ : เอกสารเผยแพร่ เช่น วารสาร , จุลสาร , หลักฐานการนําเสนอในที่ประชุมวิชาการ ( ฉบับจริง ๑ ชุด สําเนา ๕ ชุด ) {เล่มน้ีเฉพาะสําหรับผู้ขอรับการประเมินเพ่ือแต่งต้ังให้ดํารงตําแหน่ง เภสัชกรชํานาญการพิเศษ เน่ืองจากผู้ขอรับการประเมินต้องแสดงหลักฐานว่า ได้มีการ เผยแพรผ่ ลงานในลงวารสารหรอื นาํ เสนอในที่ประชมุ วิชาการระดบั จังหวดั หรอื อ่ืน ๆ ท่ีมี องคก์ รรองรับ (ยกเวน้ กรณเี ปน็ เร่อื งลบั ) }

-๓- เล่มท่ี ๑ (ปก) แบบประเมนิ ผลงาน ของ ...................................(ชอ่ื ผู้จดั ทํา).................................. ตําแหน่ง...........................ตําแหน่งเลขที่............................. ส่วนราชการ.................................... ขอประเมนิ เพ่อื แตง่ ต้ัง ตาํ แหน่ง...........................ตาํ แหน่งเลขท.ี่ ............................ ส่วนราชการ....................................

-๔- สารบัญ หนา้ ตอนท่ี ๑ ข้อมลู สว่ นบคุ คล ๑. ชอ่ื ๒. ตาํ แหนง่ ๓. ขอประเมนิ เพื่อแต่งตัง้ ให้ดํารงตําแหน่ง ๔. ประวตั ิส่วนตวั ๕. ประวตั ิการศกึ ษา ๖. ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ ๗. ประวัติการรับราชการ ๘. ประวัตกิ ารฝึกอบรมและดงู าน ๙. ประสบการณใ์ นการปฏิบัตงิ าน ๑๐. หนา้ ที่ความรับผดิ ชอบปัจจุบนั ตอนท่ี ๒ ผลงานที่เปน็ ผลการดาํ เนินงานท่ีผา่ นมา ๑. ชื่อผลงาน ๒. ระยะเวลาทีด่ าํ เนนิ การ ๓. ความรู้ทางวชิ าการหรือแนวความคิดทใี่ ช้ในการดําเนินการ ๔. สรุปสาระและข้นั ตอนการดาํ เนินการ ๕. ผู้รว่ มดําเนนิ การ (ถา้ มี) ๖. สว่ นของงานที่ผู้เสนอเปน็ ผูป้ ฏบิ ัติ ๗. ผลสาํ เร็จของงาน(เชิงปริมาณ/คณุ ภาพ) ๘. การนําไปใชป้ ระโยชน์ ๙. ความยุง่ ยากในการดาํ เนินการ/ปัญหา/อุปสรรค ๑๐. ขอ้ เสนอแนะ

-๕- ตอนท่ี ๑ ข้อมูลสว่ นบคุ คล ๑. ช่ือ (ผ้ขู อรบั การประเมนิ ).......................................................................................................................... ๒. ตําแหน่ง (ปัจจุบัน).....................................................(ด้าน......................................................................) ระดบั ชํานาญการ ตาํ แหนง่ เลขท.่ี ........................งาน/ฝ่าย/กลุ่ม............................................................... กอง/ศนู ย์/สว่ น/สาํ นัก.......................................กรม................................................................................. ดํารงตําแหนง่ วนั ท่.ี ...........เดือน..........................พ.ศ........................ อตั ราเงินเดือนปัจจบุ นั ................บาท ๓. ขอประเมินเพือ่ แต่งต้ังให้ดาํ รงตําแหน่ง...................................................................................................... ด้าน...................................................................ตําแหน่งเลขท.ี่ ................................................................ งาน/ฝ่าย/กลุ่ม................................................ กอง/ศนู ย/์ สว่ น/สํานัก...................................................... กรม........................................................................................................................................................... ๔. ประวตั ิสว่ นตัว (จาก ก.พ. ๗) เกิดวนั ท่.ี ......................เดอื น...............................พ.ศ.................... อายตุ วั ........................ ป.ี .................. เดือน อายรุ าชการ.............. ป.ี .................. เดอื น ๕. ประวัติการศึกษา คุณวฒุ แิ ละวชิ าเอก ปีทส่ี าํ เร็จการศึกษา สถาบัน (ประกาศนยี บัตร )………..….…… ……………………………………… …………………………………………… ( ปริญญา )…………….….…….….. ……………………………………… …………………………………………… ……………………………………….…… ……………………………………… …….………………………………….... ๖. ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชีพ (ถา้ ม)ี (ชื่อใบอนุญาต................(พรอ้ มแนบสาํ เนา)……………… วันออกใบอนญุ าต...........................................วันหมดอายุ .......................................................... ๗. ประวัติการรับราชการ (จากเร่ิมรับราชการจนถึงปัจจุบัน แสดงเฉพาะที่ได้รับแต่งตั้งให้ดํารงตําแหน่งใน ระดบั สูงข้ึนแต่ละระดบั และการเปลีย่ นแปลงในการดาํ รงตาํ แหนง่ ในสายงานต่าง ๆ พร้อมแนบสําเนาก.พ.๗) วนั เดือน ปี ตําแหน่ง อัตราเงนิ เดือน สงั กดั …………………………… …………………………… …………………………… ……………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ………………………………

-๖- ตอนท่ี ๑ ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล (ตอ่ ) ๘. ประวตั กิ ารฝกึ อบรมและดูงาน ปี ระยะเวลา หลกั สูตร สถาบัน …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ๙. ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน (เคยปฏบิ ตั ิงานเก่ยี วกบั อะไรบ้างทน่ี อกเหนือจากข้อ ๗ เช่น เปน็ หัวหนา้ โครงการ หวั หน้างาน กรรมการ อนกุ รรมการ วิทยากร อาจารย์พเิ ศษ เปน็ ต้น) …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. ๑๐. หน้าทคี่ วามรบั ผดิ ชอบปจั จบุ นั …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. …................................................................................................................................................................. ….................................................................................................................................................................

-๗- ตอนท่ี ๒ ผลงานทเี่ ปน็ ผลการดําเนนิ งานทผ่ี า่ นมา ๑. ชื่อผลงาน……………………………………………………………………………………………..….……..…….… ๒. ระยะเวลาที่ดาํ เนนิ การ…………………………………………………………………………….…………..…... ๓. ความรทู้ างวชิ าการหรอื แนวความคดิ ทใ่ี ช้ในการดาํ เนินการ ๑………………………………………………………………………..…………………………..…..……………… ๒…………………………………………………………………………………………..…..………..……………… ๓………………………………………………………………………………………………..…..………..………… ๔……………………………………………………………………………………..……………..………………..… ๔. สรปุ สาระและขนั้ ตอนการดําเนินการ……………………….…………………………..…………………….. ……………………………………………………………………………………………………….…………….……… ……………………………………………………………………………………………………………….….………… ……………………………………………………………………………………………………………….…….……… ๕. ผรู้ ่วมดาํ เนินการ (ถ้ามี) ๑…………………………….…………สัดส่วนของผลงาน…………………………………………………….…. ๒…………………………….…………สัดส่วนของผลงาน……………..………………………………………… ๓……………………………….………สดั สว่ นของผลงาน……………………………………..……………..… ๖. ส่วนของงานท่ผี เู้ สนอเปน็ ผปู้ ฏบิ ัติ (ระบุรายละเอียดของผลงานพร้อมท้ังสัดส่วนของผลงาน) ………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………….…… ๗. ผลสําเรจ็ ของงาน(เชงิ ปริมาณ/คุณภาพ)…………………….………………………….………….……….… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………….………………… ๘. การนําไปใช้ประโยชน์……………………………………………………………….……………………..……….. ……………………………………………………………………………………………….…………………………… ……………………………………………………………………………………………………………….…………… ๙. ความยุ่งยากในการดาํ เนินการ/ปัญหา/อุปสรรค………………………………………..………….……… ………………………………………………………………………………………………………………….…………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………….……………

-๘- ตอนที่ ๒ ผลงานทเี่ ปน็ ผลการดาํ เนนิ งานทีผ่ ่านมา (ตอ่ ) ๑๐. ขอ้ เสนอแนะ……………………………………………………………………….……………………..……….. ………………………………………………………………….…………………..…….……………………………………. ……………………………………………………..………………………………….…………….………………………... ขอรับรองว่าผลงานดังกลา่ วขา้ งตน้ เปน็ ความจรงิ ทกุ ประการ ลงชื่อ……………………..………………ผเู้ สนอผลงาน (…………………..………………..) ..……../………../………. ขอรับรองว่าสัดส่วนหรอื ลักษณะงานในการดาํ เนนิ การของผู้เสนอขา้ งต้นถกู ตอ้ ง ตรงกับความเปน็ จริงทกุ ประการ ลงชือ่ …………………………..….. ลงชอ่ื …………………..……………. (…………………………….) (…………………………….) ผ้รู ่วมดําเนินการ ผรู้ ว่ มดําเนนิ การ ……../………./………. ………/………../………… ไดต้ รวจสอบแล้วขอรบั รองว่า ผลงานดังกล่าวข้างตน้ ถกู ตอ้ งตรงกับความเปน็ จรงิ ทกุ ประการ ลงชือ่ ……………………………….. ลงช่อื …………….………………….. (…………………………….) (……………..……………..) ตําแหน่ง…………………………. ผอู้ าํ นวยการสาํ นัก/กองหรือเทยี บเท่า…... ………/…………./………. ………/…………/………….. (ผู้บังคบั บญั ชาท่ีควบคุมดูแลการปฏบิ ัตงิ าน) หมายเหตุ หากผลงานมีลกั ษณะเฉพาะ เชน่ แผน่ พบั หนงั สอื แถบบนั ทกึ เสียง ฯลฯ ผ้เู สนอผลงานอาจส่งผลงานจริงประกอบการพจิ ารณาของคณะกรรมการกไ็ ด้

-๙- เล่มที่ ๑ (ปก) แบบประเมินผลงานเพื่อขอรับเงนิ ประจาํ ตําแหน่ง ของ (ชือ่ ผ้จู ัดทาํ )........................................................ ตาํ แหน่ง...........................................(ดา้ น............................) ระดบั ชาํ นาญการ ตาํ แหนง่ เลขที.่ ......................ส่วนราชการ...............

-๑๐- สารบญั หน้า ตอนท่ี ๑ ข้อมูลสว่ นบคุ คล ๑. ชื่อ ๒. ตาํ แหน่ง ๓. ขอประเมินเพื่อแตง่ ตงั้ ใหด้ ํารงตาํ แหน่ง ๔. ประวัตสิ ่วนตัว ๕. ประวตั กิ ารศกึ ษา ๖. ใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพ ๗. ประวตั กิ ารรบั ราชการ ๘. ประวตั ิการฝกึ อบรมและดูงาน ๙. ประสบการณใ์ นการปฏิบตั งิ าน ๑๐. หน้าทีค่ วามรับผดิ ชอบปจั จบุ นั ตอนที่ ๒ ผลงานที่เปน็ ผลการดําเนินงานที่ผา่ นมา ๑. ชอื่ ผลงาน ๒. ระยะเวลาท่ดี ําเนินการ ๓. ความรทู้ างวชิ าการหรือแนวความคิดทใ่ี ช้ในการดําเนินการ ๔. สรุปสาระและขน้ั ตอนการดําเนนิ การ ๕. ผู้ร่วมดําเนินการ (ถา้ มี) ๖. ส่วนของงานที่ผ้เู สนอเป็นผปู้ ฏิบตั ิ ๗. ผลสาํ เรจ็ ของงาน(เชงิ ปริมาณ/คุณภาพ) ๘. การนําไปใช้ประโยชน์ ๙. ความยุง่ ยากในการดาํ เนินการ/ปัญหา/อุปสรรค ๑๐. ขอ้ เสนอแนะ

-๑๑- ตอนท่ี ๑ ข้อมูลสว่ นบคุ คล ๑. ชื่อ (ผ้ขู อรบั การประเมิน) ..................................................................................................................... ๒. ตาํ แหนง่ (ปจั จบุ นั ) )................................................(ดา้ น....................................................................) ระดับ.......................................ตําแหนง่ เลขท.่ี ......................งาน/ฝ่าย/กลุม่ ………………………………................. กอง/ศูนย์/สว่ น/สํานัก.............................................กรม..................................................................... ดํารงตาํ แหน่งวนั ท.่ี ..................เดอื น..........................พ.ศ................ อัตราเงินเดือนปัจจบุ นั ................บาท ๓. ขอประเมนิ ผลงานเพ่อื ขอรบั เงินประจําตาํ แหนง่ สาํ หรบั ผดู้ าํ รงตาํ แหน่ง ประเภทวิชาการ ระดบั ........................................ ๔. ประวัตสิ ่วนตัว (จาก ก.พ. ๗) เกดิ วันท่ี...................เดือน..........................พ.ศ................ อายตุ ัว........................ ป.ี .................. เดอื น อายรุ าชการ................. ป.ี .................. เดอื น ๕. ประวัติการศกึ ษา คุณวุฒแิ ละวชิ าเอก ปที ี่สําเรจ็ การศึกษา สถาบนั ( ประกาศนยี บัตร )………………… ……………………………………… ……………………………………… ( ปริญญา )…………………………… ……………………………………… ……………………………………… ………………………………….………… ……………………………………… ……………………………………… ๖. ใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ ( ถ้ามี )……… (ช่อื ใบอนญุ าต พร้อมแนบสําเนา)…………………………….… วันออกใบอนญุ าต...................................... วนั หมดอายุ ................................................. ๗. ประวัติการรับราชการ (จากเร่มิ รับราชการจนถึงปจั จบุ นั แสดงเฉพาะทไี่ ด้รับแตง่ ตั้งให้ดาํ รงตําแหนง่ ใน ระดับสูงขึ้นแต่ละระดบั และการเปลีย่ นแปลงในการดํารงตําแหน่งในสายงานตา่ งๆพรอ้ มแนบสําเนา ก.พ.๗) วัน เดือน ปี ตําแหน่ง อัตราเงนิ เดือน สังกัด …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… …………………………… ……………………………

-๑๒- ตอนท่ี ๑ ข้อมูลสว่ นบุคคล (ตอ่ ) ๘. ประวตั ิการฝึกอบรมและดูงาน ปี ระยะเวลา หลักสูตร สถาบัน ...................................... ...................................... ...................................... ...................................... ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ………………………………… ๙. ประสบการณ์ในการปฏบิ ัตงิ าน (เคยปฏบิ ัตงิ านเกยี่ วกับอะไรบา้ งทน่ี อกเหนอื จากข้อ ๗ เช่น เปน็ หัวหนา้ โครงการ หวั หน้างาน กรรมการ อนุกรรมการ วิทยากร อาจารย์พิเศษ เป็นต้น) …........................................................................................................................................................... .........….................................................................................................................................................. …...................................................................................................…..................................................... ..............................................…...................................................................................................…....... ............................................................................................…............................................................... ๑๐. หน้าทคี่ วามรบั ผิดชอบปัจจุบนั …...................................................................................................…..................................................... ..............................................…...................................................................................................…....... ............................................................................................…............................................................... ....................................…...................................................................................................…................. ..................................................................................…......................................................................... ..........................…...................................................................................................…........................... ........................................................................…................................................................................... ................…...................................................................................................…..................................... …...................................................................................................…..................................................... ..............................................…...................................................................................................…....... ............................................................................................…............................................................... …...................................................................................................…..................................................... ..............................................…...................................................................................................…....... ............................................................................................…...............................................................

-๑๓- ตอนท่ี ๒ ผลงานทเ่ี ปน็ ผลการดาํ เนินงานทผี่ ่านมา ๑. ชือ่ ผลงาน………………………………………………………..………………………………………................... ๒. ระยะเวลาทีด่ ําเนนิ การ………………………………………………………………………….…………...……... ๓. ความรูท้ างวิชาการหรือแนวความคิดทใ่ี ช้ในการดําเนนิ การ ๑………………………………………………………………………..………………………...…...……………… ๒…………………………………………………………………………………………..…..……..….……….…… ๓……………………………………………………………………………………….…….…..….……...………… ๔…………………………………………………………………………………….……………..….……….……..… ๔. สรปุ สาระและข้นั ตอนการดาํ เนนิ การ…………………………..…….……………….……..…..……………. ………………………………………………………………………………………………………….…………….……… ………………………………………………………………………………………………………………….….………… ………………………………………………………………………………………………………………….…….……… ๕. ผูร้ ่วมดาํ เนินการ (ถ้ามี) ๑…………………………….…………สัดสว่ นของผลงาน……………………………………….……...…. ๒…………………………….…………สัดสว่ นของผลงาน…………………………………….…….……… ๓……………………………….………สัดสว่ นของผลงาน……………………………….…..…..……..… ๖. สว่ นของงานท่ผี ู้เสนอเป็นผูป้ ฏิบตั ิ (ระบุรายละเอยี ดของผลงานพร้อมทั้งสัดสว่ นของผลงาน) ………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………….…… …………………………………………………………………………………………………………….………………… ๗. ผลสาํ เร็จของงาน(เชงิ ปริมาณ/คณุ ภาพ)…………………………………………………..……..….…..……. …………………………………………………………………………………………………….………………………… …………………………………………………………………………………………………….………………………… …………………………………………………………………………………………………………….………………… ๘. การนาํ ไปใชป้ ระโยชน์…………………………………………..………………………….……………...….……. ……………………………………………………………………………………………….……………………………… ………………………………………………………………………………………………………….…………………… ๙. ความยงุ่ ยากในการดําเนนิ การ/ปัญหา/อุปสรรค……………………………….…………………….….…. …………………………………………………………………………………………………………….………………… …………………………………………………………………………………………………………….………………… …………………………………………………………………………………………………………….…………………

-๑๔- ตอนท่ี ๒ ผลงานทเ่ี ปน็ ผลการดาํ เนนิ งานทีผ่ ่านมา (ต่อ) ๑๐.ขอ้ เสนอแนะ……………………………………………………..…………………………….…………………... ………………………………………………………………….…………………….…….……….……………………….. ……………………………………………………..…………………………………...…………….……………………… ขอรับรองวา่ ผลงานดังกลา่ วขา้ งต้นเป็นความจรงิ ทกุ ประการ ลงชอื่ ……………………..………………ผู้เสนอผลงาน (…………………..………………..) ..……../………../………. ขอรับรองวา่ สัดส่วนหรือลักษณะงานในการดําเนนิ การของผเู้ สนอข้างต้นถูกตอ้ งตรงกับ ความเป็นจรงิ ทกุ ประการ ลงช่ือ…………………………..….. ลงชือ่ …………………..……………. (…………………………….) (…………………………….) ผรู้ ว่ มดาํ เนินการ ผรู้ ว่ มดําเนินการ ……../………./………. ………/………../………… ได้ตรวจสอบแล้วขอรับรองว่า ผลงานดงั กล่าวขา้ งต้นถูกตอ้ งตรงกบั ความเปน็ จรงิ ทกุ ประการ ลงชื่อ……………………………….. ลงชื่อ…………….………………….. (…………………………….) (……………..……………..) ตาํ แหน่ง…………………………. ผูอ้ ํานวยการสํานกั /กองหรือเทียบเท่า…... ………/…………./………. ………/…………/………….. (ผบู้ ังคับบัญชาทค่ี วบคมุ ดแู ลการปฏิบตั งิ าน) หมายเหตุ หากผลงานมีลักษณะเฉพาะ เชน่ แผน่ พับ หนังสอื แถบบนั ทกึ เสียง ฯลฯ ผ้เู สนอผลงานอาจส่งผลงานจรงิ ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการกไ็ ด้

-๑๕- แนวทางการเขียนแบบประเมนิ ผลงาน การจัดทํา แบบประเมินผลงาน ควรจัดทําเป็นรูปเล่มท่ีสวยงาม โดยมีปก สารบัญ และใส่ ลําดับหน้าให้เรียบร้อยต้ังแต่ ตอนที่ ๑–๓ รวมทั้งเอกสารแนบท้ายตามตัวอย่างแบบฟอร์มที่ให้ไว้ ซ่ึง ประกอบดว้ ย ๑. ปก ๑.๑ ชอื่ ผจู้ ัดทํา ๑.๒ ตําแหนง่ และส่วนราชการที่ขอประเมิน ๒. สารบญั ๓. ตอนท่ี ๑ ข้อมูลสว่ นบคุ คล ๑. ชอื่ ให้ ระบุ นาย/ นาง/ นางสาว (ผขู้ อรบั การประเมนิ ) ๒. ตําแหน่ง (ปัจจุบนั ) ใหร้ ะบชุ อ่ื ตําแหน่งในสายงานปัจจุบนั ตาม จ.๑๘ เช่น เภสชั กรชํานาญการ • ตําแหน่งเลขที่ หมายถึง ตําแหน่งเลขที่ที่ผู้ขอรับการประเมินครองอยู่ในปัจจุบัน ซึ่ง ปรากฎตามบัญชถี อื จ่าย (จ.๑๘) • กอง/ศูนย์/ ส่วน/ สํานัก ให้ระบุตามตําแหน่งเลขท่ีท่ีครองอยู่ (กรณีปฏิบัติงานไม่ตรง ตามตาํ แหน่งเลขที่ครองอยู่ ให้ระบุเพ่ิมว่าปฏิบัติราชการ ณ หน่วยงานใดวงเล็บต่อท้าย) เช่น ตําแหน่งเลขท่ี ๑๒๔๔๕ โรงพยาบาลกุมภวาปี สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด อุดรธานี (ปฏบิ ตั ิราชการ ณ กลุ่มงานเภสชั กรรม โรงพยาบาลสรุ ินทร์) เป็นตน้ • กรม หมายถงึ สาํ นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ • ดํารงตาํ แหน่งระดับปจั จุบนั ให้ระบุ วนั เดือน ปี ท่ไี ดร้ ับตําแหนง่ ให้ดาํ รงตําแหนง่ ในระดับท่ีครองอยู่ในปจั จุบนั • ดาํ รงตําแหนง่ ในระดบั ใหร้ ะบุ วัน เดอื น ปี ทดี่ าํ รงตําแหนง่ ทตี่ า่ํ กวา่ ระดับปัจจบุ นั อยู่ ๑ ระดบั • อตั ราเงินเดอื นปัจจุบนั ใหร้ ะบุอัตราเงินเดือนขั้นทีไ่ ด้รับปัจจุบันในปีงบประมาณท่ีสง่ คําขอประเมิน ๓. ขอประเมนิ เพื่อแต่งตั้งใหด้ ํารงตําแหนง่ • ตําแหนง่ หมายถึง ตาํ แหน่งท่ีจะแตง่ ต้ังเปน็ ระดับสูงขนึ้ เช่น เภสัชกรชาํ นาญการพเิ ศษ • ด้าน หมายถงึ ด้าน ของตาํ แหน่งจะแตง่ ตั้งตามที่กําหนดไว้ เช่น ดา้ นเภสัชกรรมคลินิก • ตําแหน่งเลขท่ี หมายถึง ตําแหน่งเลขท่ีท่ีจะขอแต่งตั้งข้ึนดํารงตําแหน่งซ่ึงอาจจะไม่ใช่ ตําแหน่ง เลขทีท่ ่ผี ้ปู ระเมนิ ครองอย่ใู นปจั จุบัน

-๑๖- • กอง/ ศนู ย/์ ส่วน/ สาํ นกั ใหร้ ะบสุ ว่ นราชการตามตําแหนง่ เลขท่ีที่จะขอแตง่ ตั้งขึน้ ดาํ รง ตาํ แหน่ง • กรม หมายถงึ สาํ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ๔. ประวัตสิ ว่ นตวั อายรุ าชการ หมายถงึ ใหน้ บั อายุราชการถงึ เดือนทีส่ ง่ คําขอประเมิน ๕. ประวัตกิ ารศึกษา (ตัวอยา่ ง) คุณวฒุ ิและวิชาเอก ปีท่สี าํ เรจ็ การศกึ ษา สถาบนั ปรญิ ญาเภสัชศาสตรบ์ ณั ฑิต พ.ศ. ๒๕๒๒ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั ปรญิ ญานิติศาสตร์บัณฑิต พ.ศ. ๒๕๒๘ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ปรญิ ญาสาธารณสุขศาสตรม์ หาบณั ฑติ พ.ศ. ๒๕๓๓ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ๖. ใบอนญุ าตประกอบวชิ าชพี (ถ้ามี ) ตัวอย่าง ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเภสัชกรรมช้ันหน่ึง เลขท่ี ๓๗๓๐ วันออกใบอนุญาต วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๒๒ วันหมดอายุ - ๗. ประวัตกิ ารรบั ราชการ ให้ระบุรายละเอียดตั้งแต่เริ่มรับราชการจนถึงปัจจุบัน โดยให้กรอกรายการเฉพาะท่ีมีการ ปรบั เปล่ยี นระดับตําแหน่ง สถานท่ปี ฏิบตั ิราชการ และปีทไ่ี ดร้ บั การเล่อื นขั้นเงนิ เดือนทุกปี หรือมีการ เปล่ยี นบัญชเี งินเดือนใหม่ โดยใหร้ ะบวุ ันเดือนปี ตาํ แหนง่ อตั ราเงนิ เดือนและสังกดั ในแตล่ ะปี ท่ีระบุ ๘. ประวัตกิ ารฝึกอบรมและการดงู าน ให้ระบุเฉพาะที่เป็นการฝึกอบรมและดูงาน ต้ังแต่เริ่มรับราชการจนถึงปัจจุบัน เฉพาะท่ีมีผล ต่อการพัฒนางานในหน้าที่รับผิดชอบเท่าน้ัน โดยให้ระบุรายละเอียด ปีระยะเวลา (จํานวนวัน) หลักสูตรสถาบันทีเ่ ขา้ รบั การฝึกอบรมหรือดูงาน ๙. ประสบการณใ์ นการปฏบิ ัติงาน ให้ระบุประสบการณ์พิเศษที่ผ่านมาว่า เคยได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าท่ีในด้านใดบ้าง เป็นระยะเวลานานเท่าไร ตั้งแต่เริ่มรับราชการเป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน เช่น เคยเป็นหัวหน้า โครงการ/หัวหน้างาน/กรรมการ/อนุกรรมการ/ที่ปรึกษา/ผู้เชี่ยวชาญทางวิชาการสาขาใดระดับใด โดยอาจแยกออกมาให้เป็นชัดเจนในแต่ละระดับ เรียงตามลําดับตามความสําคัญ เช่น ระดับ กระทรวง ระดับกรม ระดับกอง ระดับจังหวัด หรือในระดับหน่วยงาน และอ่ืน ๆ เช่น เป็นอาจารย์ พิเศษของสถาบันใดบ้าง เป็นวิทยากรในเรื่องอะไร หรือเคยได้รับรางวัลข้าราชการดีเด่นในปีไหน เป็นตน้ ๑๐. หน้าทีค่ วามรบั ผิดชอบปจั จบุ นั ให้แสดงรายละเอยี ดเก่ียวกบั หน้าท่คี วามรบั ผดิ ชอบของผ้ขู อรับการประเมินทั้ง งานในหน้าที่ รับผิดชอบหลักและงานในหน้าท่ีรับผิดชอบรองได้แก่ งานบริการเภสัชกรรม งานเภสัชกรรมคลินิก งานเภสัชกรรมการผลิต งานบริหารเวชภัณฑ์ งานเภสัชสาธารณสุข และงานคุ้มครองผู้บริโภค เปน็ ตน้

-๑๗- ๔. ตอนท่ี ๒ ผลงานทเี่ ปน็ ผลการดําเนนิ งานที่ผา่ นมา ๑. ชื่อผลงาน ใหร้ ะบุชอ่ื เรื่องของผลการดําเนินงาน ๒. ระยะเวลาดาํ เนินการ ให้ระบุ พ.ศ.ทดี่ ําเนินการจดั ทําผลงาน ๓. ความรู้ทางวชิ าการหรอื แนวคิดท่ใี ชใ้ นการดาํ เนินงาน ให้ระบุแนวความคิด ทฤษฎี องค์ความรู้ และข้อมูลต่าง ๆ ที่นํามาใช้ในการดําเนินงานโดย สรุปให้มีความสอดคลอ้ งและเชื่อมโยงกบั ผลการดําเนนิ งาน เป็นต้น ๔. สรปุ สาระและข้นั ตอนการดาํ เนนิ งาน ใหร้ ะบรุ ายละเอียดดังน้ี • หลักการและเหตุผล ให้ระบุรายละเอียด เหตุผลความจําเป็น ความเป็นมาของ การดําเนินงานการปฏิบัติงานในหน้าท่ีความรับผิดชอบของผู้ขอประเมิน ว่า ทําไม ถึงได้มีแนวคิดทจ่ี ะดาํ เนินการดังกลา่ ว • วัตถปุ ระสงค์ ให้ระบวุ า่ การดําเนนิ งานดงั กล่าว มีวตั ถุประสงคอ์ ยา่ งไร • เปา้ หมาย • ข้ันตอนการดําเนินการ โดยแสดงกิจกรรมและข้ันตอนการดําเนินงาน ตั้งแต่ต้น จน เสร็จส้ินนําผลไปใช้ อาจมีการแสดงเป็นแผนผังการทํางาน (Flowchart) หรือ แผนภาพประกอบการอธบิ ายเพื่อใหเ้ ห็นภาพชดั เจนย่งิ ข้นึ กรณีมีหลักฐานอ้างอิงให้ แนบเอกสารประกอบ ๕. ผู้รว่ มดาํ เนนิ การ (ถ้ามี) ให้แสดงชื่อ-สกุล ตําแหน่ง สังกัดของผู้ร่วมดําเนินการในผลงาน และระบุสัดส่วนความ รับผิดชอบของผลงานเป็นร้อยละของผู้ร่วมดําเนินการด้วย หากเป็นผลงานที่ปฏิบัติเองท้ังหมด ๑๐๐% และไม่มผี ูร้ ว่ มดาํ เนินการ ไม่ตอ้ งนําเสนอผ้รู ว่ มดําเนินการ ๖. สว่ นของงานท่ผี ู้เสนอเป็นผปู้ ฏิบตั ิ ระบุรายละเอียดของผลงานพร้อมทั้งสัดส่วนของผลงานให้ระบุรายละเอียดเก่ียวกับข้ันตอน กิจกรรมการดําเนินงาน และสดั ส่วนของผลงานเป็นรอ้ ยละทผี่ ูเ้ สนอผลงานเปน็ ผู้ปฏบิ ัติ ๗. ผลสําเรจ็ ของงาน (เชิงปรมิ าณ/เชงิ คุณภาพ) ผลการดําเนินการ โดยบรรยายผลการดําเนินงาน เมื่อเทียบกับวัตถุประสงค์ว่า เป็นอย่างไร โดยเน้นการนําเสนอผลการดําเนินงานที่เป็นรูปธรรม ให้แสดงผลสําเร็จของงานท้ังในเชิงปริมาณ และเชิงคณุ ภาพ คือ • ผลสําเร็จของงานเชิงปริมาณ คือ ผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติงาน มีผลสําเร็จในเชิง ปริมาณท่ีเกิดขึ้น มีปริมาณของผลงานเม่ือเปรียบเทียบกับเป้าหมาย หรือ ข้อตกลง ตามทไ่ี ดก้ ําหนด แสดงเป็นตัวเลขชัดเจน

-๑๘- • ผลสําเร็จของงานเชิงคุณภาพ คือ ผลงานที่ได้แสดงให้เห็นถึงการตอบสนอง แนวคิดยุทธศาสตร์ของรัฐบาล กระทรวง และจังหวัด ท่ีมีความเป็นไปได้ในการนําไปใช้ ประโยชน์ เช่น การตอบสนองความพึงพอใจของผู้รับบริการ หรือผลตอบแทนท่ีได้จาก การดําเนินงาน เช่น การลดค่าใช้จ่าย การลดต้นทุนการผลิต การลดเวลาการ ปฏบิ ัติงาน คณุ ภาพการบรกิ ารดขี นึ้ เป็นตน้ ๘. การนําไปใชป้ ระโยชน์ อธิบายการนําผลงานไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแนวทางการดําเนินงาน หากมีการนํา ผลงานไปใช้ในการพัฒนา ต่อยอด ปรับปรุงแนวทางการดําเนินงานในวงกว้างข้ึน จากเดิมที่เกิด เฉพาะจุดและประยุกต์แก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน ให้อธิบายว่า ผลงานนั้นมีคุณค่า เป็นท่ีน่าสนใจ มีการนํา ผลงานนําไปใช้ประโยชน์ได้อย่างไร กับบุคคลเป้าหมายที่ไหน เกิดประโยชน์ต่อหน่วยงาน ทาง ราชการ ผู้รับการบริการ หรือสังคมและประชาชนอย่างไร สามารถนําไปแก้ไขปัญหาในงานท่ีปฏิบัติ หรือของหน่วยงาน หรือใช้เสริมยุทธศาสตร์หน่วยงาน หรือเพ่ือพัฒนางานปรับปรุงงาน แก้ไขปัญหา อปุ สรรคท่เี กดิ ขน้ึ หรือประยุกตใ์ ช้เปน็ รูปแบบหรอื แนวทางปฏิบัติในงานน้ัน ๆ และอ้างอิงในระดับ ฝา่ ย หรอื ระดับกอง หรอื ระดบั กรม หรอื ระดับสถาบัน หรือระดับกระทรวง หรือระดับชาติ หรือ ระดับนานาชาติ หรือวงการวิชาชีพได้ ให้นําเสนอด้วย อีกทั้งมีผลต่อการพัฒนางานทั้งทางตรงและ ทางอ้อมอยา่ งไร ๙. ความย่งุ ยากในการดาํ เนินการ/ปญั หา/อปุ สรรค อธบิ ายความยุ่งยากในการดําเนินงานตามที่ได้นําไปปฏิบัติจริงว่า มีความยุ่งยากอย่างไร เช่น การตัดสินใจแก้ปัญหา การใช้หลักวิชาการ หรือทฤษฎีท่ีใช้ในการปฏิบัติงาน การบูรณาการงาน และ การควบคุมปัจจัยที่เก่ียวข้องว่า มีความยุ่งยากประการใด แต่ไม่ใช่ความยุ่งยากที่เป็นปัญหาอุปสรรค ของการทํางาน เช่น ขาดแคลนอัตรากําลัง หรือขาดแคลนงบประมาณอธิบายวิเคราะห์ปัญหา อุปสรรคของการดําเนินงานที่เกิดข้ึน ระบุถึงสาเหตุของปัญหาว่าเกิดจากสาเหตุใด มีปัจจัยอะไรมา เก่ยี วขอ้ งบา้ ง และอธบิ ายปัญหาอปุ สรรคอะไรที่ทําให้การปฏิบัติงานไม่เป็นไปตามที่คาดหวังไว้ ท้ังใน ระหว่างการดําเนนิ งาน และหลงั จากสิ้นสุดการดาํ เนินงานแล้วสรุป ๑๐. ขอ้ เสนอแนะ ผู้ขอประเมินมีข้อเสนอแนะเพ่ือการแก้ไขอย่างไร เพื่อมิให้ปัญหาเกิดข้ึนอีก และมี ข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนางาน/ปรับปรุงงานดังกล่าวอย่างไร และข้อเสนอแนะในการขยายผลว่า ควร ขยายหรือไม่อย่างไร ขยายไปกลุ่มไหน ควรดําเนินการอะไรเพ่ิมเติม รวมถึงข้อเสนอแนะเก่ียวกับ การนาํ ไปใช้ประโยชนเ์ ป็นการเสนอแนวทางเชงิ สร้างสรรค์เปน็ ผลงานท่เี ปน็ รปู ธรรม

-๑๙- ๑๑. การรบั รองผลงาน คาํ รับรองของผ้ขู อรบั การประเมนิ ใหล้ งชอื่ ตาํ แหนง่ และวนั ที่ ใหช้ ดั เจนและครบถ้วน คํารับรองของผ้รู ่วมจดั ทาํ ผลงาน (กรณีเปน็ ผลงานรว่ มกันหลายคน) ให้ผรู้ ว่ มดําเนนิ การรบั รองสัดสว่ นในการทาํ ผลงาน ตามที่เสนอไวข้ า้ งต้นว่า ถกู ต้อง ตามความเป็นจรงิ ทุกประการ ตามท่ีไดร้ ะบุไว้ในตอนที่ ๒ ข้อ ๕ กรณีที่นาํ เสนอผลงานให้พจิ ารณามากกว่า ๑ เรอื่ ง และเปน็ ผลงานรว่ มกันหลายคนทกุ เร่อื ง จะต้องมีการรับรองสัดสว่ นการจดั ทําผลงานเชน่ เดียวกนั โดยรบั รองต่อเนือ่ งกนั ไป ๕. เอกสารอา้ งอิง/บรรณานกุ รม เอกสารอ้างอิง ระบุช่ือเอกสารที่ใช้ประกอบในการเขียนผลงาน เพื่อให้ผู้อ่านทราบแหล่งท่ีมา ต้องให้ สอดคล้องเน้ือหาในเอกสารบรรณานุกรม จะรวบรวมบัญชีรายช่ือหนังสือท้ังหมด ทั้งที่ได้อ้างอิงและไม่ได้ อา้ งองิ ในเร่ือง ซ่งึ ไดศ้ ึกษาคน้ คว้าประกอบการเขียนผลงาน ๖. หลกั ฐานอา้ งองิ (ถา้ มี) หากผลงานมีลักษณะเฉพาะ เช่น แผ่นพับ หนังสือ ผู้เสนอผลงานอาจส่งผลงานจริงประกอบการ พิจารณาของคณะกรรมการก็ได้ ๗. ภาคผนวก (ถา้ มี ) ประกอบด้วย ตัวโครงการที่ได้รับอนุมัติ (กรณีมีการจัดทําเป็นโครงการ) เอกสาร แบบฟอร์ม และเคร่ืองมือท่ีใช้ในการดําเนินงาน เช่น แบบประเมิน แบบบันทึกข้อมูลต่าง ๆ คู่มือดําเนินงาน และอ่ืนๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

-๒๐- เลม่ ที่ ๒ (ปก) ...........................................(ชื่อผลงาน) ........................................... ....................................................................................................................... โดย ...........................................(ชอื่ ผ้จู ัดทาํ )........................................... สว่ นราชการ....................................................................................................

-๒๑- แนวทางการเสนอผลการดาํ เนนิ งานทผ่ี ่านมา การเสนอผลงานที่เป็นผลการดําเนินงานท่ีผ่านมา ผู้ขอรับการประเมินสามารถเสนอผลงานได้หลาย ประเภท { เช่น ผลการดําเนินงานท่ีผ่านมา (ผลงานเด่นเฉพาะตัว) หรือผลงานการศึกษาวิจัย หรือผลงาน วิเคราะหว์ ิจารณ์ หรือกรณศี กึ ษา } แตเ่ ภสชั กรสว่ นใหญจ่ ะเสนอผลงานท่ีมลี กั ษณะอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ต่อไปนี้ ๑. ผลการดําเนินงานทผี่ า่ นมา (ผลงานเดน่ เฉพาะตัว) หรือ ๒. ผลงานทางวชิ าการ ซึ่งโดยปกตมิ กั เปน็ ผลงานการศึกษาวจิ ยั ผลงานท้ัง ๒ ประเภท ดงั กล่าว มคี วามแตกต่างกนั อย่างน้อย ๔ ประการ คอื ๑. ความหมาย ๒. วัตถุประสงค์ ๓. จดุ เนน้ ๔. วิธกี ารเขียน โดยมรี ายละเอียดของความแตกต่าง ดังตารางข้างล่าง นี้ ความแตกตา่ งระหวา่ ง ผลการดําเนินงานท่ีผา่ นมา (ผลงานเดน่ เฉพาะตวั ) กบั ผลงานการศกึ ษาวจิ ัย ประเด็น ผลการดําเนินงานทผ่ี า่ นมา ผลงานการศึกษาวจิ ยั ๑. ความหมาย (ผลงานเด่นเฉพาะตวั ) ๒. วัตถปุ ระสงค์ คือ การดําเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหา คือ ก า ร ศึก ษ า ใ ห้ รู้ว่ า แ ต่ ละเร่ื องมี ของการปฏิบัติงาน หรือเพื่อพัฒนา สภาพการณ์ เป็นอย่างไร หรือ มีปัจจัย งานท่ีปฏิบัติให้ดีขึ้นกว่าเดิม หรือให้มี อะไรสัมพันธ์กับปัจจัยอะไร หรือเป็นการ คุณภาพดีกว่าเดิม เป็นลักษณะของ ทดลองว่า หากใช้วิธีใหม่ๆ พัฒนางานแล้ว การทาํ โครงการแกไ้ ขหรือพฒั นา จะไดผ้ ลอย่างไร เพื่อแก้ปัญหาหรือเพ่ือพัฒนางาน ซึ่ง เพ่ือศึกษา สถานการณ์หรือความรุนแรง จะมี Action Word ที่ก่อให้เกิด ของปัญหา ปัจจัยที่เก่ียวข้อง หรือผล ผลงานท่ีเสนอ ให้เหน็ อยา่ งชัดเจน การพัฒนารูปแบบการปฏิบัติ หรือเพื่อ เปรียบเทยี บผลทไ่ี ด้ระหว่างทางเลือกตา่ งๆ ๓. จดุ เน้น จุดเน้นอยู่ท่ีกระบวนการดําเนินงาน จุดเน้นอยู่ที่ ระเบียบวิธีการวิจัย เพื่อ ๔. วิธกี ารเขียน ตรรกะ และ การวัดผล เพราะ คุณค่า ประกันว่า รูปแบบการวิจัยและระเบียบวิธี ของผลงานเด่นคือ เมื่อมีผู้สนใจ จะ จะประกันความน่าเชอื่ ถอื ของผลงาน สามารถนําเอาวธิ ปี ฏิบตั ไิ ปทาํ ตอ่ ได้ เขียนรายงานผลการดําเนนิ งาน เขยี นแบบรายงานวจิ ัยฉบบั เตม็ โดยมสี ว่ นเนอ้ื หา ๔ บท โดยมีส่วนเน้ือหา ๕ บท หมายเหตุ สาํ หรับระดับชํานาญการพิเศษ หากไมเ่ สนอเปน็ ผลการศกึ ษาวจิ ัย โดยเสนอเป็นผลการดาํ เนนิ งาน ทผี่ า่ นมา (ผลงานเดน่ เฉพาะตัว) หรอื ผลงานวเิ คราะห์วจิ ารณ์หรอื กรณศี กึ ษาจะตอ้ งเสนออย่างนอ้ ย ๒ เร่ือง

-๒๒- แนวทางการเขียน ผลการดาํ เนินงานท่ผี ่านมา (ผลงานเดน่ เฉพาะตัว) ฉบบั สมบรู ณ์ ผลการดําเนินงานที่ผ่านมา (ผลงานเด่นเฉพาะตัว) ฉบับสมบูรณ์ ประกอบด้วนส่วนประกอบหลัก ๓ ส่วน คือ ส่วนนํา ส่วนเน้ือหา และส่วนอ้างอิง โดยแต่ละส่วนจะประกอบด้วย หัวข้อ หรือส่วนประกอบย่อย ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. สว่ นนํา ประกอบดว้ ย ๑.๑ ปกหนา้ ๑.๒ กระดาษรองปก ๑.๓ ปกใน ๑.๔ กิตติกรรมประกาศ (หรือ คาํ นํา) ๑.๕ บทสรปุ สาํ หรบั ผบู้ ริหาร (Executive Summary) ๑.๖ สารบัญ ๑.๗ สารบัญตาราง ๑.๘ สารบัญภาพ ๒. สว่ นเนอ้ื หา ๒.๑ บทที่ ๑ บทนํา ประกอบด้วยหัวขอ้ ตอ่ ไปน้ี • ความสาํ คญั ของโครงการ/ หลกั การและเหตผุ ล ª โครงการนี้มีความสําคัญอย่างไร / ทําไมต้องทําโครงการน้ี ความสําคัญของ โครงการ แบง่ ออกเป็น ๓ ลกั ษณะ คือ ๑) แกไ้ ขปัญหา ๒) ป้องกันปัญหา และ ๓) พัฒนางานให้ดขี ึ้น • วัตถปุ ระสงคข์ องการดาํ เนนิ งาน • ขอบเขตของโครงการ เป็นขอบเขตที่พูดถึงผู้รับบริการจากโครงการ หรือ บาง ท่านเรียกว่า ประชากรเป้าหมาย ( Targeted Population) และขอบเขตด้าน กระบวนการ ซึง่ อาจเขียนเป็น Done Gantt’s chart • ผลผลิต /ผลลพั ธข์ องโครงการ • ตวั ชว้ี ดั ความสําเรจ็ ของโครงการ จะวัดความสําเร็จของผลผลติ /ผลลพั ธอ์ ย่างไร • นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ (ถ้าตอ้ งมี) • ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะไดร้ บั ๒.๒ บทท่ี ๒ ความรทู้ างวิชาการหรือแนวคิด ทฤษฎีท่ีใชใ้ นการดําเนนิ งาน เขียนให้ครอบคลุมเรื่องความรู้หลักทั้งหมดท่ีต้องใช้ในการดําเนินงาน และสรุปความรู้ ส่วนทีน่ ํามาใช้ในการดําเนนิ กิจกรรมของโครงการครั้งนี้

-๒๓- ๒.๓ บทที่ ๓ ขนั้ ตอนการดําเนนิ การและผลการดาํ เนนิ การ ๒.๓.๑ ข้ันตอนการดําเนินการ ต้องเขียนให้รายละเอียดของการดําเนินการว่า ทํา อย่างไร เป็นลําดับๆ อาจจะต้องบรรยายประกอบ Flow Chart โดยแสดง รายละเอียดของแต่ละกิจกรรมและข้ันตอนการดําเนินงาน เช่น การพัฒนา งานให้คําปรึกษาด้านยาผู้ป่วยนอกโรคเร้ือรัง มิใช่ แค่เขียนบทบาทเภสัชกรว่า ทํา Counseling อย่างไร แต่ให้เขียนว่า ผู้ประเมินได้มีการดําเนินการให้เกิด โครงการดังกล่าวอย่างไร ได้แก่ เริ่มตั้งแต่การกําหนดแผนดําเนินการ การ จัดตั้งคณะกรรมการและกําหนดบทบาทหน้าท่ีผู้รับผิดชอบในลักษณะสหสาขา วิชาชีพ การจัดตั้งคลินิกพิเศษ การจัดทําแนวทางปฏิบัติและคู่มือปฏิบัติ การ จดั ทาํ ส่อื สาธติ การสอนและเอกสารแผน่ พบั ความรู้ แบบบนั ทึกการให้คาํ ปรึกษา ด้านยา มีกิจกรรมการอบรมพัฒนาศักยภาพเภสัชกรในงานบริการผู้ป่วยนอก อย่างไร โดยให้เห็นภาพของการดําเนินงานท่ีเกิดข้ึนจริงในหน่วยงาน ว่า ได้มี การนําหลักการทางวิชาการ ประสบการณ์มาใช้ในการในการตัดสินใจแก้ไข ปัญหาและพัฒนาปรับปรุงงานอย่างไร และในขั้นตอนน้ีหากมีการเก็บข้อมูลให้ เขยี นใหเ้ ห็นอยา่ งชัดเจนวา่ เกบ็ ในข้ันตอนใด ใชเ้ ครอ่ื งมอื ใด ๒.๓.๒ ผลการดําเนนิ การ เขยี นใหค้ รอบคลมุ เปน็ ลําดบั ต้ังแตข่ ้อมูลทวั่ ไป และข้อมูลผล การดําเนินการตามรายวัตถุประสงค์ โดยแสดงรายละเอียดเป็นตารางและการ บรรยาย เข่น งาน Acute Care ได้เข้าไปดูแลผู้ป่วยประเภทใด กลุ่มโรคใด กี่ ราย เป็นรายเดือน รายปี ดําเนินงานในลักษณะใดบ้าง เช่น ประสานแพทย์ พยาบาล หรือทํา Discharge Counseling ผล ของ Intervention เป็นอย่างไร พบ DRP DI ADR เป็นอย่างไร และได้มีการแก้ปัญหาหรือช่วยผู้ป่วยได้ อย่างไร Compliance เพมิ่ ขนึ้ กอ่ น-หลงั ดาํ เนินการอย่างไร บทที่ ๔ สรปุ ผลการดาํ เนนิ การ อภิปรายและขอ้ เสนอแนะ โดยให้สรุปผลการดําเนินการตามวัตถุประสงค์ว่า เป็นอย่างไร วิจารณ์หรือให้ ความเห็นทางวิชาการ โดยอาศัยหลักทฤษฎีหรืองานวิจัยต่าง ๆ ท้ังต่อผลการดําเนินงาน และผลกระทบ และให้ข้อเสนอแนะที่สามารถนําไปประยุกต์ใช้เป็นรูปแบบหรือแนวทาง ปฏิบตั ิในงานนัน้ ๆ และอา้ งองิ ในระดับฝ่ายหรือระดบั กองหรอื ระดับกรมหรือระดับสถาบัน หรอื ระดบั กระทรวงหรอื ระดบั ชาตหิ รือระดบั นานาชาติหรอื วงการวิชาชพี ได้ ๓. สว่ นอ้างอิง ๓.๑ การอา้ งองิ ๓.๒ ภาคผนวก ( ถ้ามี ) ไดแ้ ก่ เอกสารแบบฟอรม์ และเครื่องมือท่ใี ชใ้ นการดาํ เนนิ งาน เช่น แบบบันทึกขอ้ มูลตา่ ง ๆ แบบประเมิน เอกสารแนวทางปฏิบตั ิ คูม่ อื การดาํ เนนิ งาน สอ่ื การ สอน เอกสารแผน่ พบั ฉลากช่วย และอ่นื ๆ ที่เกี่ยวข้อง

-๒๔- แนวทางการเขียนรายงานวิจัยฉบบั เตม็ (ฉบบั สมบรู ณ)์ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ประกอบด้วนส่วนประกอบหลัก ๓ ส่วน คือ ส่วนนํา ส่วนเน้ือหา และส่วน อ้างอิง เช่นเดียวกันกับการเขียนผลงานเด่นฉบับสมบูรณ์ แตกต่างกันเฉพาะส่วนประกอบภายในของ แตล่ ะสว่ น รวมทงั้ วธิ กี ารเขียน โดยแต่ละส่วนจะประกอบด้วย ดังนี้ ๑. ส่วนนํา • ปกหน้า • กระดาษรองปก • ปกใน • กติ ตกิ รรมประกาศ • บทคัดยอ่ ( เนื้อหาต้องครอบคลุม วัตถุประสงค์ และขอบเขตงานวิจัย วิธีการวิจัย ได้แก่ การเลือกกลุ่ม ตัวอย่าง เคร่ืองมือ การรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย ข้อสรุปและ ขอ้ เสนอแนะ ) • สารบัญ • สารบัญตาราง • สารบัญภาพ ๒ . สว่ นเนอ้ื หา ประกอบดว้ ยเนอ้ื หาหลัก ๕ บท ๒.๑ บทที่ ๑ บทนาํ ความสาํ คัญและท่ีมาของปัญหา การเขียนความสําคัญของปัญหา เป็นส่วนที่เกร่ินนําให้ผู้อ่านเข้าใจในปัญหาท่ีจะ ทําการศึกษาว่า ปัญหาคืออะไร มีความสําคัญในแง่มุมไหน หรือประเด็นไหนบ้าง ผู้อ่าน สามารถเห็นความตอ่ เนอื่ งหรอื ความรนุ แรงของปัญหาทีเ่ กิดขึ้นในอดีต ปจั จุบันหรือจะเกิดใน อนาคต สมควรที่จะตอ้ งศึกษา เพ่อื หาแนวทางในการแกไ้ ขปญั หานน้ั วตั ถุประสงค์ เป็นส่วนที่บอกเป้าหมายหรือความต้องการของงานวิจัย(ผู้วิจัย) ว่า อยากทราบ อะไร วธิ กี ารเขยี นวตั ถปุ ระสงค์ ควรใช้คํา เช่น เพ่ือศึกษา เพื่อวิเคราะห์หรือสังเคราะห์ เพ่ือ เปรียบเทียบ เพ่ือหาความสัมพันธ์ เพื่อสํารวจ เพ่ือประเมิน เป็นต้น ห้ามเอาประโยชน์ท่ี คาดว่าจะได้รบั มาเขยี นเป็นวัตถุประสงค์การวจิ ยั เพราะวัตถุประสงค์เป็นเร่ืองท่ีผู้วิจัยจะต้อง ทาํ แต่ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ บั เป็นผลทค่ี าดว่า จะเกิดขึ้นหลงั จากสิ้นสุดการวิจยั แล้ว ขอบเขตของการศกึ ษา • เปน็ การตกี รอบของงานวจิ ยั ท่จี ะทําในเร่ืองตอ่ ไปน้ี o ขอบเขตของสถานท่ที ําวิจยั (Place) o ขอบเขตของประชากรท่ีจะศึกษา (People) o ขอบเขตของตัวแปรทีจ่ ะศกึ ษา (Variables)

-๒๕- o ขอบเขตของเวลา (Time) • เหตผุ ลท่กี ําหนดขอบเขตเชน่ นน้ั (อธิบายเหตผุ ล) นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รับ ระบุถึงประโยชน์ของการวิจัยที่จะได้รับ แสดงคุณค่าหรือประโยชน์ของข้อค้นพบ โดยเขียนอยู่ในขอบเขตของวัตถุประสงค์ อย่าให้เกินความจริง และให้เขียนถึงประโยชน์ที่ จะเกดิ ขึ้นหากมผี ลการวจิ ัยแล้ว ไมใ่ ช่เขียนว่า ได้ทราบตามวตั ถุประสงค์ กรอบแนวคดิ เป็นการนําตัวแปรท่ีจะศึกษามาเชื่อมโยงกับแนวคิด ทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องในรูปของคํา บรรยาย หรอื แบบจาํ ลองแผนงาน หรือรูปแบบที่ผสมกัน ๒.๒ บทท่ี ๒ แนวคดิ ทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ที่เกย่ี วขอ้ ง แนวคิด ทฤษฎหี ลกั ตามประเดน็ ให้ครอบคลมุ เร่อื งที่วิจัย งานวจิ ยั ท่เี กี่ยวขอ้ ง โดยเฉพาะการศึกษาวิจัยของหนว่ ยงานอื่นในเร่อื งที่ศกึ ษาโดยตรง (ถา้ ม)ี ๒.๓. บทท่ี ๓ วธิ ดี าํ เนินการวจิ ัย รปู แบบการวจิ ยั (Research Design) ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง ประชากร กล่มุ ตวั อยา่ ง (เปน็ ใคร) ขนาดตวั อยา่ ง (มวี ธิ กี ารเลือกอย่างไร) เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง (มวี ธิ ีการส่มุ อย่างไร) เครอ่ื งมอื ทใ่ี ช้ (การศึกษาครั้งนี้ใช้เครื่องมืออะไรบ้างในการเก็บข้อมูล บรรยายให้เข้าใจเป็นราย เครื่องมือ เช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ เป็นต้น มีการทดสอบความเที่ยง ความตรงของแบบสอบถามอย่างไรหรอื ไม่) วธิ เี กบ็ รวบรวมข้อมลู เขยี นให้ละเอยี ด การวเิ คราะหข์ ้อมลู และสถติ ิทใ่ี ช้ (ใช้วธิ ีการใด ทดสอบสมมุตฐิ านด้วยวิธีใด ใชส้ ถติ อิ ะไร) ๒.๔. บทท่ี ๔ ผลการวจิ ัย การเขียนผลการวิจัย เป็นการเขียนเก่ียวกับข้อค้นพบท่ีได้จากการวิจัยด้วยการ นําเสนอข้อมูลและหลักฐานต่างๆท่ีวิเคราะห์แล้ว พร้อมท้ังแปลผล ตีความหมาย เป็นข้อมูล ยุติหรือข้อสรุปของการวิจัยนั้นว่าได้อย่างไรบ้าง เป็นไปตามสมมติฐานท่ีคาดไว้หรือไม่ อย่างไร ถ้าไม่เป็นไปตามสมมติฐานที่คาดไว้ มีเหตุผลหรือหลักฐานอะไรบ้างหรือไม่ให้ชี้ท่ีบ่ง เปน็ เชน่ นนั้

-๒๖- การเขยี นผลการวิจยั อาจแบ่งการพิจารณาได้เป็น ๒ ส่วนคือ สว่ นที่ ๑ การเสนอผล เปน็ การนาํ หลกั ฐาน ข้อมลู ทไ่ี ด้วิเคราะห์แล้วมาเสนอในรูปท่ี เข้าใจไดง้ า่ ยๆและมคี วามหมายมากทส่ี ุด ส่วนท่ี ๒ การแปลผล เป็นการช้ีให้ผู้อ่านทราบว่า การวิจัยน้ันได้ข้อค้นพบหรือ ขอ้ เท็จจริงไรบ้าง การเสนอผลการวิจัย ทําได้หลายอย่าง จะใช้ลักษณะใดลักษณะหน่ึงโดยเฉพาะ หรือจะใช้หลายลักษณะผสมกันก็ได้ จุดสําคัญต้องการความชัดเจนและตรงประเด็นมาก ท่ีสุด การแปลผล ข้อมูลท่ีเสนอน้ัน จะต้องมีการแปลความหมายข้อมูลด้วยการชี้ให้ ผู้อ่านทราบว่า การวิจัยนั้นได้ข้อค้นพบหรือข้อเท็จจริงไรบ้าง การแปลผลและการ ตีความหมายขอ้ มูลมีขอ้ เสนอแนะ ดงั น้ี ๑. พยายามทําความเข้าใจข้อมูลว่า ข้อมูลใดเป็นข้อเท็จจริง ข้อมูลใดเป็นความ คิดเหน็ จะไดไ้ มเ่ อาขอ้ มูลที่เป็นขอ้ คิดเห็นของผ้วู ิจยั มาเปน็ ขอ้ เท็จจรงิ ๒. หลีกเล่ียงข้อมูลไม่สมบูรณ์ ข้อมูลที่ได้มาไม่สมบูรณ์ ไม่ควรแปลความหรือ ตีความข้อมูลน้ัน หากจําเป็นก็แปลหรือตีความเฉพาะข้อมูลที่ได้มา ภายใน ขอบเขตจํากดั น้นั ๓. ต้องแปลความและตีความข้อมูลภายในขอบเขตของข้อมูลที่ได้ และกลุ่ม ตวั อย่างทีเ่ ลอื กมา อย่าแปลความหรือตคี วามเกินข้อมลู ทีม่ ีอยู่ ๔. ระวงั การใหเ้ หตผุ ลผดิ ผิดหลกั ตรรกวทิ ยา ๕. ระวังการคัดลอกหรือการคํานวณตัวเลขผิดพลาด ซึ่งจะทําให้การแปลความ ตคี วามหมายของข้อมลู ผดิ พลาดไปด้วย ๒.๕. บทที่ ๕ สรุปผลการวจิ ยั และขอ้ เสนอแนะ เป็นการกล่าวสรุปการทําวิจัยทั้งหมดตั้งแต่ต้นจนจบ พร้อมทั้งอภิปราย วิจารณ์ ผลการวิจัยที่ได้ เพื่อหาข้อสรุปและลงความเห็นผลการวิจัยท่ีได้นั้น รวมท้ังเสนอแนะการ นําผลการวิจัยไปใช้และการทําวิจัยต่อไป ฉะนั้น การเขียนบทนี้จึงต้องมุ่งบรรยายโดยสรุป ให้ผอู้ ่านทราบอยา่ งนอ้ ย ๓ ประเดน็ คอื ๑. การดําเนนิ การวิจยั กลา่ วถึงความเปน็ มาและความสาํ คัญของปญั หา เพอ่ื นําสู่ ปัญหาหรือวัตถุประสงค์ของการวิจัย และวิธีดําเนินการวิจัย เป็นการกล่าว โดยสังเขปเทา่ นัน้ และไมจ่ ําเป็นต้องมีหัวขอ้ ๒. สรุปผลการวิจัย กล่าวถึง ผลการวิจัยท่ีได้ว่า ได้ข้อค้นพบที่สําคัญอะไรบ้าง อภิปรายและวิจารณ์ผล โดยอาศัยสมมติฐาน ทฤษฎี แนวคิด และการศึกษา หรือข้อค้นพบท่ีมีการศึกษามาก่อนแล้ว มาสนับสนุนเพ่ือสรุปหาข้อยุติหรือ ขอ้ สรุป (Conclusion) ของผลการวิจยั ท่ีได้ ซ่งึ ขอ้ สรุปท่ีไดน้ ้ีจะตอ้ ง • ตอบวัตถปุ ระสงค์ หรือคําถามหรอื ปญั หาในการวจิ ัยท้ังหมดท่ีตง้ั ไว้ • อยู่ภายในขอบเขตของการวจิ ยั น้นั

-๒๗- • เปน็ ประโยชนต์ อ่ การนาํ ไปใชแ้ ละการวิจัยเพ่มิ เตมิ • ตรงตามข้อเทจ็ จรงิ ของขอ้ มลู • เปน็ ขอ้ สรุปท่ีปราศจากความลําเอียงของผู้วิจยั • เปน็ ขอ้ สรปุ ท่ีได้คิดทบทวนและไตต่ รองอย่างรอบคอบแลว้ ๓. ข้อเสนอแนะ เป็นการเสนอแนะเกย่ี วกบั การนําผลการวิจัยนั้นไปใช้และเกี่ยวกับ การศึกษาวิจัยเพิ่มเติม เพื่อให้การวิจัยนั้นสมบูรณ์ย่ิงข้ึน (เน้นให้เห็น ข้อเสนอแนะในการนําไปพัฒนางานทางด้านเภสัชกรรม) ในการเขียน ขอ้ เสนอแนะมีหลกั ดังนี้ • จะต้องเป็นข้อเสนอแนะที่ได้จากผลการวิจัยเรื่องนั้น มิใช่ได้จากข้อคิดเห็น หรอื จากสามัญสํานึกของตนเอง • จะต้องเป็นเรื่องใหม่ มิใช่เป็นเรื่องที่รู้ๆกันอยู่แล้ว แต่อาจเป็นเรื่องเก่าก็ได้ ถ้าตอ้ งการย้าํ ความสําคัญของประเดน็ • จะต้องปฏิบตั ไิ ดภ้ ายในขอบเขตของกาํ ลงั ความสามารถและเวลา • จะต้องเป็นผลท่ีได้จากความตระหนักถึงข้อจํากัดและความจําเป็นต่างๆ ท่ี เกี่ยวขอ้ งแล้ว • จะต้องมรี ายละเอยี ดมากพอสมควร เพ่อื นาํ ไปปฏบิ ัตไิ ด้เลย • ข้อเสนอแนะใด หากต้องอาศัยการศึกษาเพิ่มเติมในเร่ืองใดอีก ควรระบุให้ ชัดเจน พร้อมทั้งถ้าต้องปรับปรุงแก้ไขวิธีการวิจัยอย่างไรบ้าง ก็ต้องบอก ไวด้ ้วย ๓. ส่วนอ้างอิง ๓.๑ การอ้างอิง เสนอช่ือเอกสารท่ีใช้ค้นคว้าและอ้างอิงอย่างเป็นระบบ รูปแบบของการเขียนเอกสารอ้างอิง มีหลายระบบ เช่น ทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ นิยมใช้ แบบ Vancouver Style กับ APA (American Psychiatric Association) ๓.๒ ภาคผนวก ได้แก่ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล เช่นแบบฟอร์มต่างๆ แบบสอบถาม รายละเอียด เก่ียวกับเคร่ืองมือ ตารางวิเคราะห์เครื่องมือที่นอกเหนือจากทีเขียนไว้ในส่วนเนื้อหา วิธีคํานวณหรือวิธีทาง สถิติ ข้อมลู เพิ่มเติมอน่ื ๆ เกี่ยวกับปัจจยั ต่างๆ ทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั งานวิจัย เป็นต้น

-๒๘- ขอ้ ผิดพลาดทพี่ บบอ่ ยๆ ในการเขียนผลงานท่เี ป็นผลการดาํ เนินงานท่ีผา่ นมาฉบบั สมบรู ณ์ ๑. ใช้แบบ ผลการดาํ เนนิ งานท่ีผ่านมา (ผลงานเดน่ เฉพาะตัว) ฉบบั สมบูรณ์ มาเขยี นเปน็ รายงานการ วิจยั ฉบับสมบรู ณ์ ๒. เขยี นแต่ละสว่ นไมค่ รบองคป์ ระกอบ ๓. เขยี นแลว้ อ่านไม่รู้เรือ่ ง โดยเฉพาะ บทที่ ๓ ของรายงานวจิ ัย ๔. การเสนอผลการดําเนนิ งานหรือผลการวจิ ยั ด้วยตาราง ทาํ ผิดรูปแบบตง้ั แตช่ อ่ื ตารางไปจนถงึ รูปแบบ ของตาราง ๕. ไม่เขา้ ใจความแตกตา่ งระหว่าง บทนํา กบั คาํ นํา ๖. การตั้งวัตถุประสงค์ ส่วนใหญม่ ักเอากจิ กรรมหรอื process มาเขยี นเปน็ วัตถปุ ระสงค์ เช่น เพอ่ื หา ร้อยละของ... เป็นต้น ควรนํา Output มาเขยี นตัง้ เปน็ วัตถปุ ระสงค์ ๗. การศึกษาวิจยั • ไม่มกี ารทบทวนวรรณกรรมหรือผลการศึกษาวิจยั ท่ผี ่านมา • ผลการศึกษาวจิ ยั ไม่ไดต้ อบวัตถุประสงค์ทกุ ข้อ • การวิจารณผ์ ล ไมม่ กี ารเปรยี บเทยี บกับผลการศึกษาทผี่ า่ น ๆ มา • สรุปผลการวิจยั ตามความคิด ความเชือ่ ถอื ของผวู้ ิจัย ไมไ่ ด้สรุปจากขอ้ มลู ทไ่ี ด้

-๒๙- เล่มท่ี ๓ (ปก) ข้อเสนอแนวคิด/วธิ กี ารเพอ่ื พัฒนางานหรือปรบั ปรุงงานให้มีประสทิ ธิภาพมากขึ้น เร่ือง ..........................................................(ชอ่ื เรอื่ ง)........................................................... โดย .......................................................(ช่ือผู้จดั ทํา)........................................................ สว่ นราชการ..................................................................................................... .............................................................................................................................

-๓๐- ข้อเสนอแนวคิด/วธิ กี ารเพอื่ พัฒนางานหรอื ปรบั ปรุงงานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขนึ้ ของ ...................................................... เพ่ือประกอบการแตง่ ต้งั ให้ดาํ รงตําแหน่ง .................................. ตําแหนง่ เลขที่ ........................................ สว่ นราชการ ................................................................................................................................................ เรื่อง ............................................................................................................................................................. หลกั การและเหตผุ ล........................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... บทวิเคราะห์/แนวคดิ /ข้อเสนอ ....................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ผลท่ีคาดวา่ จะได้รับ .......................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ตวั ชวี้ ัดความสาํ เรจ็ ............................................................................................................ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... (ลงช่ือ) ................................................ผู้เสนอแนวคิด/วิธีการ (..............................................) ............/............../..............

-๓๑- แนวทางการเขียน ข้อเสนอแนวคดิ /วิธกี ารเพอื่ พัฒนางานหรือปรบั ปรงุ งานใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากขึน้ ความหมาย หรือ เจตนารมณท์ ก่ี ําหนดใหเ้ ขยี น ข้อเสนอแนวคิด/วิธีการเพื่อพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นแนวคิดวิสัยทัศน์ หรือแผนงานท่ีจะทําในอนาคต เพ่ือพัฒนางานในตําแหน่งที่จะได้รับการแต่งต้ังและสอดคล้องกับแผน ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน ควรเป็นแนวคิดหรือแผนงานที่สามารถนําไปปฏิบัติได้จริงและให้มีการติดตามผล ภายหลังการแต่งต้ังแลว้ ด้วย การเขียนขอ้ เสนอแนวคดิ ฯ เปน็ การตอบคําถามว่า ถ้าหากได้เลื่อนระดับสูงขึ้น แล้วจะมีแนวคดิ ในการท่จี ะพัฒนางานอะไรใหม้ ีประสิทธภิ าพมากขน้ึ กวา่ เดมิ ซ่ึงในอดีตต้องเขียนเม่ือจะเล่ือน ระดบั จากเภสชั กร ระดบั ๕ ไปเปน็ เภสัชกรระดับ ๖ จากเภสัชกรระดบั ๖ ไปเปน็ เภสัชกรระดบั ๗ และจาก เภสัชกรระดับ ๗ ไปเป็นเภสัชกรระดับ ๘ แต่ในปัจจุบันเน่ืองจากระบบ PC เปล่ียนแปลงจากเดิม ข้อเสนอ การพัฒนาดังกล่าว เป็นคําถามที่ถามตอนขอเลื่อนจากเภสัชกรระดับปฏิบัติการไปเป็นเภสัชกรระดับชํานาญ การ เมื่อเภสัชกร ระดับชํานาญการขอรับเงินประจําตําแหน่ง (เดือนละ ๓,๕๐๐ บาท) และเมื่อเลื่อนจาก เภสัชกรระดับชํานาญการเป็นเภสัชกรระดับชํานาญการพิเศษ ทําไมต้องตอบคําถามน้ี การกําหนดให้ผู้ที่จะ เลื่อนระดับเสนอข้อเสนอแนวคิด/วิธีการเพ่ือพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เกิดจาก แนวคิด ๓ แนวคิด แนวคิดแรก คือการเลื่อนระดับสูงข้ึน จะได้รับผลตอบมากขึ้นกว่าเดิม ดังนั้นจึงควรต้องตอบแทน หรือแลกเปล่ียนกับการท่ีจะต้องมีสมรรถนะที่สูงข้ึนโดยประเมินจากแนวคิดการพัฒนางานที่ทําอยู่ให้มี ประสิทธภิ าพสูงขึน้ แนวคิดท่ี ๒ ข้าราชการท่ีมีระดับสูงขึ้นจะต้องทํางานท่ียากขึ้นหรืองานท่ีมีคุณค่าสูงกว่าเดิม ดังนั้น เมื่อส่งผลงานให้ประเมินซ่ึงประกอบด้วยผลงานเด่นหรืองานวิชาการซ่ึงว่า ที่จริงแล้วผลงานเหล่านั้นเป็น เคร่ืองสะท้อนให้เห็นว่า ท่ีผ่านมาเป็นผู้ท่ีมีคุณภาพเชิงวิชาการเพียงใดเหมาะที่จะเลื่อนไปสู่ระดับสูงกว่าเดิม หรือไม่ แต่ยังบอกไม่ได้ว่า เมื่อเลื่อนระดับแล้วจะทํางานท่ียากหรือมีคุณค่ากว่าเดิมหรือไม่ ข้อเสนอแนวคิด/ วิธีการเพ่ือพัฒนางานหรือปรับปรุงงานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นหลักฐานที่ยืนยันว่า เมื่อได้รับการเลื่อน ระดบั แล้วจะทาํ งานที่มีคณุ คา่ สูงขึ้น แนวคิดที่ ๓ เป็นแนวคิดเกี่ยวกับการทํางานของนักวิชาการ ซึ่งหมายความว่า เป็นการทํางานท่ีต้อง ใช้วิชาการเข้าไปกําหนดวิธีปฏิบัติและเมื่อปฏิบัติงานเสร็จแล้ว จะเกิดการเรียนรู้และปรับเป็นนวัตกรรมที่ นาํ ไปใชใ้ นการปรบั ประสทิ ธภิ าพการทํางานใหด้ ีขึ้นเร่อื ย เร่ืองท่ไี ม่ควรนํามาเขียนเป็นข้อเสนอ ๑. นาํ เอาเร่ืองทที่ ําเสร็จเรยี บร้อยแล้ว โดยเฉพาะทเ่ี ป็นผลงานวิชาการทเี่ สนอใหป้ ระเมนิ ๒. เอาข้อเสนอแนะในการทําวิจัยคร้ังต่อไปมาทําเป็นข้อเสนอ ฯ เว้นเสียแต่ว่า เป็นข้อเสนอให้มีการ พัฒนางาน แต่ในการเขียนเป็นข้อเสนอฯ จะต้องมีการวิเคราะห์อย่างละเอียด โดยใช้ข้อมูลใหม่เพิ่มเติมจาก งานวิจัยอย่างมากเพราะข้อเสนอจากงานวิจัยเสนอให้เห็น ส่ิงที่ต้องทําเพียงเลาๆ เท่านั้น แต่ข้อเสนอฯ ตอ้ งการส่งิ ทเี่ ป็นรปู ธรรมกวา่ ๓. ไม่ควรเป็นชื่อเดียวกับเอกสารวชิ าการทีเ่ สนอใหป้ ระเมนิ ๔. ไม่ควรเสนอว่า จะทําวิจัย เว้นเสียแต่ว่าเป็นวิจัยประเภท R&D หรือ Model development เพราะการวจิ ัยโดยทั่วไปเป็นการศึกษาเพอ่ื รู้ ยงั ไม่ใช่เพ่อื พัฒนา

-๓๒- องคป์ ระกอบในการเขียน เขียนอย่างน้อย ๔ หวั ข้อ คอื ๑. หลักการและเหตผุ ล ๒. บทวเิ คราะห์/ แนวคิด /ข้อเสนอ ๓. ผลท่คี าดว่าจะไดร้ ับ ๔. ตวั ชี้วดั ความสาํ เรจ็ หลกั การและเหตุผล เป็นการเขียนที่บรรยายให้เห็นความจําเป็นที่ต้องทําการพัฒนาเรื่องน้ัน ๆ ซึ่งความจําเป็นสามารถ แสดงได้ ๓ ประเด็น คือ ๑. มปี ัญหาจําเปน็ ตอ้ งแกไ้ ข ๒. ยังไมม่ ีปัญหาแต่มีแนวโน้มจะเกดิ ปญั หาจําเปน็ ต้องดาํ เนนิ การเพือ่ ป้องกัน และ ๓. ไม่มีปัญหาไม่มีแนวโน้มแต่อยากจะปรับปรุงให้ดีขึ้นให้ทัดเทียมกับท่ีที่ทันสมัยกว่าจึงจําเป็นต้อง พฒั นาใหด้ ีขึ้น การเขียนบรรยายจะต้องมีข้อมูลแสดงให้เห็นชัดเจนอย่างน้อย ๒ ประการ ประการแรกเป็นข้อมูลท่ี แสดงถึงปัญหาและแนวโน้ม ซ่ึงอาจเป็นข้อมูลท่ีมีลักษณะเป็นช่วงเวลา (Longitudinal) ซ่ึงจะเห็นแนวโน้ม หรอื ข้อมลู ณ จดุ เวลา (Cross sectional) แต่ถ้าหากเปน็ ขอ้ มลู ณ จุดเวลาจะตอ้ งมีขอ้ มลู เปรียบเทียบเพื่อให้ เห็นปัญหา ซ่ึงอาจจะเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานทางทฤษฎีท่ีควรจะเป็น หรือ ค่าท่ีสมาคมวิชาชีพกําหนด หรือ ค่าของประเทศ หรอื คา่ ขององค์กรที่เปน็ Benchmark เมอื่ มีขอ้ มลู แสดงปัญหาแล้ว สว่ นท่ีต้องบรรยาย ต่อก็คอื ตอ้ งหาข้อมูลทางวชิ าการมาสนับสนุนให้เห็นวา่ หากปล่อยให้ปญั หาดาํ รงอยู่จะเกิดผลกระทบทางลบ อย่างไรบ้าง (ทั้งหมดนี้เป็นส่วนของเหตุผล) และหากจะแก้ปัญหาต้องทําอะไร ( ต้องพัฒนาอะไร ไม่ใช่ต้อง ศึกษาวิจัย เพราะการศึกษาวิจัยอย่างเดียวไม่ก่อให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพ หากจะเสนอว่า จะทําวิจัย จะต้องเป็นการวิจัยชนิด Model Development หรือ R&D ) มีหลักการใดบ้างท่ีมารองรับข้อเสนอ (ส่วนนี้ เป็นส่วนของหลักการหลักการ (Principle) ตามความหมายในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หมายถึง สาระสําคัญที่ยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ ) สรุปคือ เขียนให้เห็นว่า ทําไมต้องทําเร่ืองน้ี ทําไมต้อง ทําวิธนี ้ี รวมทง้ั ทําไมตอ้ งทาํ เวลานี้ โดยมขี อ้ มูลยนื ยนั ตามหลักของการจดั การโดยใชข้ อ้ มลู จริง บทวเิ คราะห์ แนวคดิ และขอ้ เสนอ หัวข้อน้ีเป็นเร่ืองค่อนข้างยุ่งยาก เพราะมี ๓ ประเด็นหลักที่ต้องเขียน ประเด็นแรกคือ บทวิเคราะห์ ประเด็นที่ ๒ คือ แนวคิด และประเด็นท่ี ๓ คือข้อเสนอ ความยุ่งยาก คือ ต้องตอบให้ได้ก่อนว่า ท้ัง ๓ ประเดน็ นีต้ า่ งกนั อย่างไรและสมั พันธก์ ันอยา่ งไร เร่ิมจาก บทวเิ คราะห์ สามารถเขียนได้ ๒ วธิ ี วิธีแรก คือการจําแนกแยกแยะปัญหาที่พบ (ในหัวข้อก่อนหน้านี้) ให้ละเอียดตามตัวแปรต่างๆ จน เห็นสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา คล้ายๆ กับการทํา Root Cause Analysis ขณะเดียวกันก็ต้องวิเคราะห์ บริบทของงานท่ีทําในปัจจุบัน ต้ังแต่กระบวนงาน ทรัพยากรท่ีมี การสนับสนุนต่าง ๆ เพื่อนําเอาทุกอย่างท่ีมี มาพิจารณาไตร่ตรองให้ได้ว่า ภายใต้สถานการณ์ปัจจุบันน้ี เราจะต้องทําอะไรเพ่ือแก้ปัญหาโดยการขจัด สาเหตุ ซึง่ วิธกี ารกวา้ งๆ ทไี่ ดค้ อื แนวคิดในการพฒั นาที่ต้องการ

-๓๓- วิธีท่ี ๒ เป็นการวิเคราะห์ตามแนวทางการทํา SWOT Analysis คือ เอาปัญหาท่ีได้จากหัวข้อก่อน เป็นตัวต้ัง และเอาสภาพการหมดปัญหาหรือการพัฒนาที่แล้วเสร็จหรือเป้าหมายในการแก้ปัญหาเป็น จุดหมายในลักษณะของเป้าประสงค์ จากนั้น รวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยท้ังภายในและภายนอก เพือ่ ให้เหน็ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสการพัฒนา และภาวะคุกคามหรือขวางก้นั การพัฒนา จากนนั้ จงึ ทาํ SWOT MATRIX เพ่ือกําหนดกลยุทธ์ ในการพัฒนา หรือการแก้ไขปัญหา กลยุทธ์ท่ีได้ก็คือ แนวคิดในการพัฒนา จากน้ันนําแนวคิดที่ได้มาตบแต่งให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ในปัจจุบันของเรา แล้วกําหนดเป็นแนวคิดท่ีมี แนวทางปฏิบัติ ตามนิยามของแนวคิด คือ แนวคิด (Concept) ตามความหมายในพจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ หมายถึง ความคิดท่ีมีแนวทางปฏิบัติ หรือหมายถึงความคิดสําคัญซ่ึงเป็น แนวในการผูกเรอื่ งหรอื ความคิดอน่ื ๆ ที่สอดแทรกอยใู่ นเรื่องก็ได้ เชน่ แนวคิดเก่ียวกับเรื่องบุญกรรม แนวคิด เกยี่ วกบั ความรกั ...เป็นต้น ส่วน ข้อเสนอ คือ การนําแนวคิดมาแปลงเป็นกิจกรรมที่เป็นรูปธรรมซึ่งอาจจะเสนอออกมาเป็น ขอบเขตของกระบวนงาน ถ้าหาก แปลงจากกลยุทธ์ ก็คือ ส่วนที่เป็น Initiatives (โครงการท่ีขับเคล่ือน กลยุทธ์นั่นแหละ) โดยให้นําเสนอว่า จะดําเนินการอย่างไร ในลักษณะของแผนงานและแผนปฏิบัติการ และรายละเอยี ดขน้ั ตอนการดําเนนิ งาน เพื่อให้เกดิ โครงการดังกลา่ ว ประโยชน์ที่คาดวา่ จะไดร้ บั ในความหมายน้ีจะหมายถึง วัตถุประสงค์ระดับ Outcome ขึ้นไป ซ่ึงเราจะต้องเขียนให้สอดคล้อง กับ ปญั หา และผลกระทบท่ีเกิดจากปัญหา ตัวชวี้ ัดความสาํ เรจ็ คือตวั ท่ีวัดวา่ Outcome และ Impact ท่เี กดิ ข้ึนนนั้ จะวดั ได้ด้วยอะไร เมื่อเขียนเสร็จจะตอ้ งทนทวนตรรกะเพอ่ื ให้เหน็ ความสอดคล้องและความเป็นไปได้ของข้อเสนอ ดงั นี้ หลกั การและเหตุผล บทวเิ คราะหฯ์ ข้อเสนอ ผลที่คาดวา่ จะได้รับ/ ตัวชี้วัด ปั ญ ห า ห รื อ ค ว า ม สาเหต/ุ แนวทางการขจัด แนวทางปฏบิ ัติ ตอ้ งการการพัฒนา สาเหตุ วัตถุประสงค์/วิธีการ วดั วัตถุประสงค์

-๓๔- สอบถามข้อมลู เพิ่มเต่มิ ไดท้ ่ี กลุม่ งานเทคนคิ บรกิ ารและงานคุ้มครองผ้บู รโิ ภค กลมุ่ ภารกิจเทคนิคบรกิ าร สํานักบรหิ ารการสาธารณสุข สาํ นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสุข ถนนตวิ านนท์ นนทบุรี ๑๑๐๐๐ โทร. ๐-๒๕๙๐-๑๖๒๘ หรอื ติดต่อ Õ รศ.(พเิ ศษ) ภก.กติ ติ พิทักษ์นิตนิ นั ท์ ( มือถือ ๐๘-๑๙๑๙-๙๑๖๖ ) ( [email protected] ) Õ ภญ.ภัทรอ์ นงค์ จองศิรเิ ลศิ ( มอื ถือ ๐๘-๑๔๓๘-๔๒๐๗ ) ( [email protected] ) และสามารถ download รายละเอยี ดแบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ ดังกลา่ ว ได้ จากเวบ็ ไซด์ของสํานกั บรหิ ารการสาธารณสขุ สํานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ ª http:/ /www.phdb.moph.go.th ª กลุ่มภารกจิ เทคนิคบรกิ าร ªกลมุ่ งานเทคนคิ บริการและงานค้มุ ครองผบู้ ริโภค


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook