ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่อื งมือวัดและประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ เลม่ ที่ 5 การตรวจสอบคณุ ภาพของข้อสอบ นางสาวนุชจิรา แดงวันสี สำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครอื่ งมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ เลม่ ที่ 5 การตรวจสอบคุณภาพของขอ้ สอบ เอกสาร ศน.ท่ี 50/2562 นางสาวนชุ จริ า แดงวนั สี สำนกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสุราษฎร์ธานี เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ คำนำ การวดั และประเมนิ มเี ครอ่ื งมือวดั ผลทใ่ี ช้เปน็ สงิ่ สำคัญในการวดั ผลประเมนิ การจัดการเรียนรู้ว่าบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่เพียงใด ซึ่งเคร่ืองมือวัดผลท่ีดีจะต้องเป็นเครื่องมือที่มี คุณภาพจึงจะช่วยให้การวัดผลมีความถูกต้องเชื่อถือได้ และผลการประเมินท่ีได้ย่อมเช่ือถือได้ด้วย ดังน้ันเครื่องมือที่ครูสรา้ งขึ้นเอง ก่อนจะนำไปใช้จริงจึงควรตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือก่อนทุกคร้ัง การตรวจสอบคุณภาพ เคร่ืองมือเป็นการตรวจสอบคุณสมบัติของเครื่องมือในเรื่องความเที่ยงตรง ความเช่ือมั่น ความยาก อำนาจจำแนก และความเปน็ ปรนยั เป็นต้น จงึ ได้จัดทำชุดเอกสารการสร้าง เครื่องมือวัดและประเมินผลข้ึน สำหรับครูวิทยาศาสตร์เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินการวัดและ ประเมินผล โดยเฉพาะการหาคุณภาพและการตรวจสอบคุณของเครื่องมือวัดและประเมินผล ใน ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่ืองมือวัดและประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน 2551 เปน็ เอกสารให้ครูศึกษาด้วยตนเอง ชุดฝกึ อบรมมี ทงั้ หมด 5 เล่ม ไดแ้ ก่ คู่มอื การใชช้ ุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผล เล่มท่ี 1 แนวทางการจดั การเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ เล่มท่ี 2 ความรูพ้ ื้นฐานเกีย่ วกับการวดั และประเมนิ ผล เลม่ ท่ี 3 การสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ เล่มที่ 4 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเขียนตอบ เลม่ ที่ 5 การหาคณุ ภาพของเคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผล เอกสารเล่มนี้ เป็นเอกสารเล่มที่ 5 ผู้จัดทำหวังว่าชุดฝกึ อบรมด้วยตนเองเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ ตอ่ การพฒั นาครูผู้สอนวทิ ยาศาสตร์ ในด้านการหาคุณภาพและการตรวจสอบคุณของเครื่องมือวัดและ ประเมินผล นำไปส่เู ปา้ หมายคือการประเมินผูเ้ รียนด้วยความถูกต้อง พัฒนาผเู้ รียนได้ตรงจดุ ยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ให้สูงข้ึนได้ ขอให้ผู้ศึกษาได้ศึกษาใบความรู้และใบกิจกรรมให้ ครบทุกใบกิจกรรม เพอ่ื นำความรไู้ ปใชพ้ ัฒนาผเู้ รยี นให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ ต่อไป ก เล่มท่ี 5 การหาคุณภาพของเครือ่ งมอื วดั และประเมนิ ผล
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครื่องมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ สารบญั หน้า ก คำนำ ข สารบญั 1 คำชีแ้ จง 2 คำแนะนำในการศกึ ษา 3 วัตถุประสงค์ 3 ขอบข่ายเน้ือหา 3 สาระสำคัญ 4 แนวคิด 5 แบบทดสอบก่อนศกึ ษาชุดฝกึ อบรม 7 ตอนท่ี 1 ลักษณะของแบบทดสอบที่ดี 8 ใบความรู้ท่ี 1.1 ความเทย่ี งตรง หรอื ความตรง 10 ใบกจิ กรรมที่ 1.1 11 ใบความรทู้ ี่ 1.2 ความเชื่อมนั่ 12 ใบกิจกรรมที่ 1.2 13 ใบความรทู้ ่ี 1.3 ความยากง่าย 14 ใบกจิ กรรมที่ 1.3 15 ใบความรทู้ ี่ 1.4 อำนาจจำแนก 16 ใบกจิ กรรมที่ 1.4 17 ใบความรทู้ ี่ 1.5 ความเป็นปรนัย 18 ใบกิจกรรมท่ี 1.5 19 ตอนท่ี 2 การตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมอื 20 ใบความรู้ที่ 2.1 การตรวจสอบความเทีย่ ง 23 ใบกจิ กรรมที่ 2.1 ข เลม่ ที่ 5 การหาคุณภาพของเครอ่ื งมอื วดั และประเมินผล
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ สารบญั (ตอ่ ) หนา้ ใบความรู้ท่ี 2.2 การตรวจสอบค่าความยากงา่ ย 25 ใบกิจกรรมที่ 2.2 32 ใบความรู้ท่ี 2.3 การตรวจสอบค่าอำนาจจำแนก 33 ใบกจิ กรรมที่ 2.3 37 ใบความรู้ที่ 2.4 สรุปสูตรที่ใชใ้ นการตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมอื 42 แบบทดสอบหลงั ศึกษาชุดฝกึ อบรม 44 บรรณานกุ รม 47 คณะทำงาน 48 ค เลม่ ที่ 5 การหาคุณภาพของเคร่อื งมือวดั และประเมนิ ผล
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครื่องมือวัดและประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ คำชี้แจง ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครือ่ งมือวัดและประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ เล่มที่ 5 การหาคุณภาพ ของเครื่องมือวดั และประเมนิ ผล ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน 2551 เป็นเอกสารฝกึ อบรม ใหค้ รไู ดศ้ ึกษาด้วยตนเอง มีเนอ้ื หาท่เี กีย่ วขอ้ งและต่อเน่ืองกัน ผ้ศู ึกษาควรทำความเข้าใจศึกษาเอกสารโดย ละเอียด พร้อมทั้งปฏิบัติตามคำแนะนำการใช้ชุดฝึกด้วยตนเองทุกขั้นตอน ผู้รับการฝึกอบรบควรศึกษา ตามขนั้ ตอนดงั ตอ่ ไปนี้ ศึกษาภาพรวมเอกสาร/คำแนะนำ ศกึ ษาวัตถปุ ระสงค์ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา และสาระสำคัญ ศึกษารายละเอียดการดำเนนิ ใช้ชดุ ฝึกอบรม ประเมนิ ตนเองด้วยการทดสอบก่อนใช้ชดุ ฝึกอบรม ศกึ ษาใบความรแู้ ละทำใบกิจกรรม สรุปองคค์ วามรู้ด้วยตนเองดว้ ยผังความคดิ ไม่ผ่าน ประเมนิ ตนเองด้วยการทดสอบหลงั ฝึกอบรม ผา่ น เปรียบเทยี บคะแนนกอ่ นและหลงั ของทุกชุดฝึกอบรมเพือ่ ดูความก้าวหนา้ ของการพัฒนา แผนภาพ ขน้ั ตอนการศึกษาชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง 1 เล่มท่ี 5 การหาคุณภาพของเครอื่ งมือวดั และประเมนิ ผล
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่อื งมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ คำแนะนำในการศกึ ษา การศึกษาชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง เร่อื งการหาคุณภาพของเครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ เล่มน้ีพฒั นาขึ้นสำหรับครูวิทยาศาสตร์ เพ่ือเป็นแนวทางการออกแบบการจดั การเรียนรู้ ผ้ศู กึ ษาควรปฏบิ ัตดิ ังนี้ 1. การเตรยี มตวั เพ่ือศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง 1.1 กำหนดเวลาในการศึกษาชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง แนวทางการจัดการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ 1.2 ศกึ ษาเอกสารเพมิ่ เติมทีร่ ะบุในชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง จะทำให้ผู้ศึกษามคี วามรู้และเข้าใจ เร็วขึ้น 2. การศึกษาชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง 2.1 ทำแบบทดสอบก่อนศึกษา และตรวจคำตอบด้วยตนเองจากเฉลยแบบทดสอบโดยให้ คะแนน 1 คะแนน สำหรบั คำตอบที่ถกู ตอ้ งและให้ 0 คะแนนสำหรับคำตอบท่ีผิด 2.2 ควรอ่านเนื้อหาสาระในใบความรใู้ นแต่ละเล่มอย่างนอ้ ย 1 จบ แลว้ สรปุ ความคิดรวบยอด 2.3 ทำกจิ กรรมในใบงานแต่ละตอนและตรวจคำตอบดว้ ยตนเองจากแนวคำตอบในใบความรู้ โดยใหค้ ะแนน 1 คะแนนสำหรับคำตอบทถ่ี ูกตอ้ ง ให้ 0 คะแนนสำหรบั คำตอบทีผ่ ิด 2.4 ทำแบบทดสอบหลังศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองและตรวจคำตอบด้วยตนเองจาก แบบทดสอบโดยใหค้ ะแนน 1 คะแนนสำหรับคำตอบทถี่ กู ต้อง ให้คะแนน 0 คะแนน สำหรบั คำตอบทผี่ ิด 2.5 ใหศ้ กึ ษาชุดฝกึ อบรมด้วยตนเองตอ่ เน่ืองให้จบเลม่ 2.6 ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเองน้ี เปน็ ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเองที่ศึกษาดว้ ยตนเองได้ทุกสถานท่ี ทกุ เวลา 3 การประเมนิ ผล 3.1 ในตอนท้ายของชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง จะมีการประเมินผลเพื่อวดั ความรคู้ วามเขา้ ใจแลว้ ตรวจสอบคำตอบด้วยตนเองจากเฉลย ใหค้ ะแนน 1 คะแนน สำหรับคำตอบทถี่ กู และ 0 คะแนน สำหรบั คำตอบทีผ่ ดิ โดยต้องผา่ นเกณฑ์ 80% ขนึ้ ไป 3.2 เปรยี บเทยี บความแตกต่างของคา่ เฉลย่ี คะแนนกอ่ นศกึ ษาและหลังศกึ ษาชดุ ฝึกอบรม 2 เล่มที่ 5 การหาคณุ ภาพของเคร่ืองมอื วดั และประเมินผล
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครื่องมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ วัตถปุ ระสงค์ มีความร้คู วามเข้าใจและความสามารถตรวจสอบคณุ ภาพของข้อสอบได้ ขอบข่ายเน้อื หา 1. ลักษณะของแบบทดสอบท่ดี ี 1.1 ความเทีย่ งตรง หรอื ความตรง 1.2 ความเช่ือมน่ั 1.3 ความยากง่าย 1.4 อำนาจจำแนก 1.5 ความเปน็ ปรนัย 2. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมอื 2.1 การตรวจสอบความเท่ียงตรง หรอื ความตรง 2.2 การตรวจสอบค่าความยากง่ายของขอ้ สอบ 2.3 การตรวจสอบค่าอำนาจจำแนก 2.4 สรปุ สตู รทใ่ี ช้ในการตรวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมอื สาระสำคญั การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเป็นสิ่งสำคัญในการพัฒนา เครื่องมือให้มีประสิทธิภาพก่อนนำไปใช้ โดยในลำดับแรกผู้ออกข้อสอบต้องประเมินว่าผู้สอบมีความรูใ้ น เนอ้ื หาและทักษะเพียงพอในการตอบคำถามข้อน้ันหรือไม่ รวมทงั้ การใช้ภาษาในการส่ือความหมาย แล้ว จึงดำเนินการตรวจสอบคา่ ความเที่ยงตรง (Validity) โดยการพิจารณาความสอดคล้องของข้อคำถามกบั ตัวชว้ี ดั โดยผู้เชีย่ วชาญ (IOC) หาคุณภาพของขอ้ คำถามรายข้อ ไดแ้ ก่ คา่ ความยาก (Difficulty) ค่าอำนาจ จำแนก (Discrimination) และหาคณุ ภาพรายฉบบั ได้แก่ ค่าความเชือ่ ม่ัน (Reliability) 3 เล่มท่ี 5 การหาคณุ ภาพของเครื่องมือวดั และประเมนิ ผล
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ แนวคดิ การพัฒนาครูโดยชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง ใช้แนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Construction Knowledge) ครูเป็นผู้ศึกษาเรียนรู้และลงมือทำกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Learning by Doing) ไม่มีวทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรู้ การปฏิบัติกิจกรรมเป็นไปตามขั้นตอนท่ีออกแบบ ไว้ เป็นขั้นตอนหลักของการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ตามกระบวนการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA MODEL) เรม่ิ จากการทบทวนความรู้เดิมในเรอ่ื งท่ีจะเรยี นรู้ การศกึ ษาหาความรู้เพิ่มเติมจากชุดฝึกอบรม แล้วนำความรู้เดิม ไปเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อนที่จะสรุปความรู้ ความเข้าใจของ ตนเอง เปน็ ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ทเ่ี นน้ ผู้ศกึ ษาเปน็ ผ้สู ร้างองคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง ประสบการณ์ใหม่ / ความรใู้ หม่ + ประสบการณเ์ ดิม / ความรเู้ ดมิ = องคค์ วามรใู้ หม่ โดยเริ่มจากการทบทวนความรู้เดิมในเรื่องที่จะเรียนรู้การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่ง เรียนรู้ตา่ ง ๆนำความเข้าใจข้อมลู เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่และเปลีย่ นเรียนรู้ก่อนที่จะสรุปองค์ ความรูแ้ ละทำความเข้าใจดว้ ยตนเอง 4 เล่มที่ 5 การหาคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมินผล
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ แบบทดสอบก่อนศึกษาชุดฝึกอบรม คำช้ีแจง ให้ท่านเลือกคำตอบท่ีท่านเหน็ วา่ ถกู ต้องทส่ี ดุ เพียงคำตอบเดียว จงใช้ตวั เลือกต่อไปนต้ี อบคำถามขอ้ 1-5 ก. คุณสมบัติความคงทีข่ องคะแนนทีไ่ ด้จากการสอบนักเรยี นคนเดยี วกันหลายๆครงั้ ข. คุณสมบัติท่ีแสดงถึงความสามารถของคนเกง่ ทำได้ คนอ่อนทำไมไ่ ด้ ค. คุณสมบัตขิ องการวัดได้ตรงตามลักษณะหรอื จุดประสงคท์ ตี ้องการวัด ง. คณุ สมบัตขิ องเคร่อื งมอื ทส่ี ามารถแยกคนเกง่ กบั คนออ่ นได้ จ. คุณสมบตั ิของเครอ่ื งมือท่ีแสดงถึงความชดั เจนของคำถาม และการตรวจให้คะแนน 1. ความเท่ยี งตรง (Validity) คือข้อใด (ตอบข้อ ………….) 2. อำนาจจำแนก (Discrimination) คอื ข้อใด (ตอบขอ้ ………….) 3. ความเช่ือมั่น (Reliability) คือขอ้ ใด (ตอบขอ้ ………….) 4. ความยากง่าย (Difficulty) คือขอ้ ใด (ตอบข้อ ………….) 5. ความเปน็ ปรนัย คือข้อใด (Objectivity) (ตอบขอ้ ………….) 6. คณุ สมบัติของเครอื่ งมอื วัดผลในขอ้ ใดทม่ี คี วามสำคญั และจำเป็นท่ีสดุ 1. ความเช่อื มนั่ (Reliability) 2. ความเทีย่ งตรง (Validity) 3. ความยากง่าย (Difficulty) 4. อำนาจจำแนก (Discrimination) 5 เลม่ ท่ี 5 การหาคุณภาพของเครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผล
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอื่ งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ คำชี้แจง พิจารณาข้อมูลทีก่ ำหนดให้ตอ่ ไปนี้แลว้ ตอบคำถามขอ้ 7 ตาราง ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของขอ้ คำถามกบั จุดประสงค์ จุดประสงค์ ข้อสอบข้อที่ คะแนนความคดิ เห็นของผ้เู ชีย่ วชาญ /มาตรฐาน/ตวั ชวี้ ัด 1 23 4 5 1 +1 +1 0 0 +1 -1 +1 1 2 0 -1 -1 0 +1 0 +1 3 +1 0 -1 +1 -1 2 4 +1 +1 +1 4. ใชไ้ ดท้ กุ ขอ้ 5 +1 -1 0 7. ข้อสอบขอ้ ใดใช้ได้ 1. ข้อ 1 และ 3 2. ขอ้ 2 และ 3 3. ข้อ 1, 4 คำชีแ้ จง พจิ ารณาขอ้ มูลท่ีกำหนดใหต้ อ่ ไปนีแ้ ลว้ ตอบคำถาม ข้อ 8 -10 ผลการสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ผู้สอบจำนวน 40 คน ขอ้ ท่ี จำนวนคนที่ตอบถกู ค่าความยากง่าย คา่ อำนาจจำแนก กลุ่มสูง กล่มุ ต่ำ ……………. 1 22 14 ……………. ……………. ……………. 2 14 12 ……………. ……………. 3 5 4 ……………. 4 16 8 ……………. 8. ขอ้ สอบทมี่ ีคุณภาพ คอื ข้อใด 1. ข้อ 1 2. ข้อ 2 3. ขอ้ 3 4. ข้อ 4 9. ข้อสอบท่ีต้องปรบั ปรุงในเร่ืองของความยากงา่ ย คือข้อใด 1. ขอ้ 1 2. ขอ้ 2 3. ข้อ 3 4. ข้อ 4 10. ข้อสอบที่ต้องปรับปรงุ ในเรื่องของอำนาจจำแนก คือข้อใด 1. ข้อ 1 และ ข้อ 2 2. ขอ้ 1 และ ข้อ 3 3. ขอ้ 2 และ ข้อ 3 4. ขอ้ 3 และ ขอ้ 4 6 เลม่ ท่ี 5 การหาคุณภาพของเครอื่ งมือวดั และประเมนิ ผล
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ ตอนที่ 1 ลักษณะของแบบทดสอบท่ดี ี แบบทดสอบเปน็ เคร่อื งมือที่ใช้วดั ความรู้ความสามารถของผู้เรยี น ผลทไี่ ด้จากการวัดนำมาใช้เพ่ือ ตดั สนิ คณุ ค่าหรือความสามารถของผู้เรียน ผลการวัดจะเชื่อถือได้มากนอ้ ยเพียงใด ขน้ึ อยู่กับความเช่ือถือ ไดข้ องผลการทดสอบซึง่ เปน็ ผลมาจากคุณภาพและแบบทดสอบเป็นสำคญั (เยาวดี วบิ ลู ยศ์ รี, 2545 : 31- 36) ลกั ษณะของเครื่องมือวัดผลที่ดี เครื่องมอื วดั ผลทดี่ ีจะต้องเป็นเครื่องมือท่ีมคี ุณภาพจึงจะช่วยให้การวัดผล มีความถูกตอ้ งเชื่อถอื ไดแ้ ละผลการประเมนิ ที่ได้ย่อมเชอ่ื ถือไดด้ ้วย ดังนัน้ เครอื่ งมือท่ีครูสรา้ งขึ้นเองกอ่ นจะ นำไปใชจ้ รงิ จงึ ควรตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือกอ่ นทุกคร้ัง การตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือเป็นการตรวจสอบ คณุ สมบัติของเคร่ืองมือ ในเรือ่ งของความเท่ยี งตรง ความเชอื่ มั่น ความยากอำนาจจำแนก และความเป็น ปรนยั เครื่องมือวัดบางชนิดจำเป็นต้องตรวจสอบคุณภาพให้ครบท้งั 5 ประการ แต่เครอ่ื งมอื บางชนิดอาจ ตรวจสอบเพียงบางประการ แบบทดสอบที่ดีมีคุณภาพเพื่อให้ได้ข้อมูลที่นา่ เชื่อถือ นั้น สามารถศึกษาได้ จากใบความรดู้ ังนี้ ลักษณะของแบบทดสอบที่ดนี นั้ สามารถศึกษาได้จากใบความรู้ ดงั น…้ี … 7 เล่มท่ี 5 การหาคณุ ภาพของเครื่องมือวัดและประเมนิ ผล
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครือ่ งมือวดั และประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ใบความรู้ท่ี 1.1 ความเทีย่ งตรงหรอื ความตรง ความเท่ียงตรงหรือความตรง (Validity) เป็นคุณสมบตั ิของแบบทดสอบ ท่ีสามารถวดั ได้ตรงตามลกั ษณะหรือจดุ ประสงคท์ ่ีต้องการวดั ซ่ึงเป็นคุณสมบัติ ที่สำคัญของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิ แบบทดสอบทุกฉบับจะต้องมีคุณภาพด้านความ เที่ยงตรง จึงจะเชื่อได้ว่าเป็นแบบทดสอบที่ดีและผลที่ได้จากการวัดจะถูกต้องตรงตามที่ต้องการความ เที่ยงตรงในการวัดจำแนกคุณลักษณะหรือจุดประสงค์ที่ต้องการวัด (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543) ความเที่ยงตรงแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภท (พิชิต ฤทธ์ิจรูญ (2556) ดังน้ี 1. ความตรงตามเนอื้ หา (Content Validity) เป็นคุณสมบัติของคำถามท่ีสามารถ วัดได้ สอดคล้องกับเนื้อหาที่ต้องการวัดและพฤติกรรมที่ต้องการวัด สามารถวัดได้ครอบคลุมเนื้อหา ทงั้ หมด ความเท่ียงตรงเชงิ เน้ือหา เปน็ คณุ สมบัติที่สำคัญท่ีสุดโดยเฉพาะแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิเพราะ แบบทดสอบที่มคี วามเที่ยงตรงเชิงเนือ้ หาต่ำ นักเรยี นไม่สามารถแสดงความรู้หรอื พฤติกรรมที่เขามอี ยูไ่ ด้ เพราะความร้หู รอื พฤตกิ รรมที่เขามีอยู่ไม่ได้ถูกวัด ขอ้ สอบวดั ในส่ิงที่ครไู มไ่ ด้สอนหรือครสู อนแต่ไม่ได้วัดผล ที่ตามมาคือผู้สอบตอบข้อสอบไม่ถูกเป็นส่วนใหญ่ ส่งผลให้คะแนนที่ได้จากการวัดครั้งนั้น ๆ ขาดความ เชื่อถือ วัดในสิ่งที่ตอ้ งการจะวัดจรงิ ๆ ไม่ได้ และเมื่อนำผลการวัดครง้ั นั้น ๆ ไปประเมินผล ผลการประเมินครั้ง น้ัน ๆ กข็ าดความเชอ่ื ถือตามไปดว้ ย 2. ความตรงตามโครงสรา้ ง (Construct Validity) เปน็ คุณสมบัตขิ องเคร่อื งมือทส่ี ามารถ วัดไดต้ รงตามทฤษฎี และแนวคิดของโครงสรา้ งที่ต้องการจะวดั หรอื สามารถวัดคณุ ลกั ษณะหรือพฤตกิ รรม ท่ีต้องการจะวัดได้ถกู ต้องตามมิตโิ ครงสร้างหรอื ทฤษฎีทางจิตวิทยา (สำนักทดสอบทางการศกึ ษา, 2557 ) คำว่าโครงสร้างมีความหมายในเชิงนามธรรม ที่ใช้อธิบายตัวแปรท่ีศึกษาและเขียนไว้ในรูปข้อสนั นิษฐาน หรือสมมุตฐิ านสามารถอธิบายและค้นหาข้อเท็จจริงมาสนับสนุนได้ เชน่ ความเสียสละอาจให้ความหมาย ในเชงิ โครงสร้างวา่ หมายถึงการกระทำทีไ่ ม่เอาเปรยี บผอู้ น่ื การเห็นอกเหน็ ใจผอู้ ่นื การชว่ ยเหลอื ผู้อนื่ การเห็นแกป่ ระโยชนส์ ่วนรวม การอดทน เพ่อื ใหค้ นอน่ื มคี วามสุข 3. ความเทีย่ งตรงตามเกณฑ์ท่ีเก่ยี วขอ้ ง (Criteria relative Validity) เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่สามารถวัดได้สอดคล้องกับเกณฑ์ภายนอกบางอย่าง ความเที่ยงตรงตาม เกณฑ์ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง แบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 8 เลม่ ที่ 5 การหาคุณภาพของเครือ่ งมือวัดและประเมนิ ผล
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 3.1 ความตรงตามสภาพ (Concurrent Validity) เป็นคุณสมบัติที่ชี้ให้เห็นว่า เครื่องมือสามารถวัดแล้วได้ผลการวัดสอดคล้องกับสภาพความเป็นจริงของผู้ตอบ เช่นแบบทดสอบวัด ความเสียสละถ้านำไปสอบกับนักเรียนคนหนึ่งซ่ึงเป็นที่รู้จักกันทั่วไปว่าเด็กคนนี้มีความเสียสละมาก ผล การสอบปรากฏว่าได้คะแนนความเสียสละสูงมาก หมายความว่าเป็นคนเสียสละ ซึ่งตรงกับสภาพความ เปน็ จริงของนักเรยี นคนนน้ั จรงิ ๆ แสดงว่าแบบทดสอบวัดความเสียสละฉบับน้ันมคี วามเท่ยี งตรงเชงิ สภาพ 3.2 ความเที่ยงตรงตามพยากรณ์ (Predictive Validity) เป็นคุณสมบัติท่ีชี้ให้เห็นว่า เครื่องมือสามารถวัดได้ถูกต้องตรงตามความเป็นจริง และผลที่ได้นั้นสามารถนำไปใช้ทำนายอนาคตได้ ถูกตอ้ ง (สำนักทดสอบทางการศกึ ษา, 2557) สามารถวัดได้ตรงกบั สภาพที่เป็นจรงิ ที่เกดิ ขึ้นในอนาคต เช่น แบบทดสอบความถนัดทางการเรียน เมื่อนำไปใชส้ อบคดั เลือกเข้าศึกษาต่อในสถาบันแหง่ หนึ่งปรากฏวา่ นกั เรยี น ก สอบคดั เลือกได้และได้คะแนนความถนัดสงู มาก เมื่อนกั เรยี น ก เขา้ ไปเรยี นในสถาบันแห่งน้ัน ปรากฏว่าเรยี นได้ผลการเรียนอยู่ในระดบั ดีเยี่ยม แสดงว่าแบบทดสอบความถนัดทางการเรียนฉบับนั้นมี ความเท่ยี งตรงเชิงพยากรณ์ ความเที่ยงตรงของเครื่องมือวัดผลมีหลายประเภท แต่ความเที่ยงตรงที่ต้องตรวจสอบเปน็ อับดับแรกคือความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ซึ่งการหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนือ้ หาของ แบบทดสอบ ตามวิธีของโรวิแนลลี่ (Rovinelli) และแฮมเบิลตัน (Hambleton) เรียกว่า ดัชนีความ สอดคลอ้ งระหว่างขอ้ สอบกบั จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (IOC: Index of item Objective Congruence) (สำนัก ทดสอบทางการศกึ ษา, 2561 อา้ งถึงใน พวงรตั น์ ทวรี ตั น.์ 2543: 137) ดงั นั้นสรุปไดว้ า่ ความเทย่ี งตรงหรอื ความตรง เป็นคณุ สมบัติของแบบทดสอบ ที่สามารถวัดได้ตรงตามมาตรฐานและตัวช้วี ัดหรือจดุ ประสงคท์ ีต่ อ้ งการวัด 9 เล่มท่ี 5 การหาคุณภาพของเครอ่ื งมอื วดั และประเมินผล
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ ใบกิจกรรมที่ 1.1 จงตอบคำถามต่อไปน้ี 1. ความเท่ียงตรง หมายถึง ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. ความเท่ียงตรง ควรมีลกั ษณะอยา่ งไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. จงระบุปัจจยั ท่สี ่งผลตอ่ ความเท่ียงตรงของเครื่องมือวัดผล มาพอเข้าใจ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ....ไมย่ ากใชไ่ หมคะ..ง้นั ไปศกึ ษา ใบความรู้ที่ 1.2 ตอ่ ไปกันเลยค่ะ.. 10 เล่มท่ี 5 การหาคุณภาพของเคร่ืองมือวดั และประเมินผล
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ใบความรู้ท่ี 1.2 ความเช่ือม่ัน ความเชื่อมั่น (Reliability) เป็นคุณภาพของแบบทดสอบหมายถึง ความคงที่ของคะแนนที่ได้ จากการสอบนกั เรียนคนเดียวกันหลายๆ ครัง้ ในแบบทดสอบชดุ เดิม เชน่ นายมานะ ทำแบบทดสอบวิชา วิทยาศาสตร์ นายมานะสอบครั้งแรก ทำได้คะแนน 25 คะแนน เว้นไปประมาณ 1 สัปดาห์ นำ แบบทดสอบฉบับเดิมมาสอบกับนายมานะอีกครั้งหนึ่ง ก็ยังได้คะแนน 25 คะแนนเหมือนเดิม แสดงว่า แบบทดสอบชุดนั้นมีความเชือ่ ม่ันได้ แตถ่ ้าปรากฏว่านำแบบทดสอบชุดเดมิ ไปทดสอบกับนายมานะซ้ำอีก ครง้ั หนึ่ง และนายมานะได้คะแนนเปลย่ี นไปจากเดมิ แสดงว่าแบบทดสอบขาดความเชอ่ื มัน่ ทำให้ผลการสอบมี ความคลาดเคลือ่ นไปจากการแทนความรู้จริงของนักเรียน ความคลาดเคลื่อนชนิดนี้เรียกว่าความคลาดเคลื่อน ในการวัด (Error of measurement) และในการวดั ผลนัน้ จะตอ้ งสรา้ งเครอ่ื งมือทต่ี ้องการนำไปวัดผลใหม้ ี คุณภาพที่มีความเชื่อมั่นได้ (ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2543) หรือเป็นคุณสมบัติที่ชี้ให้เห็นว่า เครอ่ื งมอื สามารถวัดแล้ว ให้ผลคงเสน้ คงวาหรือการให้ผลการวัดที่คงท่ีแนน่ อน ไม่เปลย่ี นแปลงไม่ว่าจะวัด ซำ้ ก่คี รัง้ เวลาใด (ถา้ สิ่งทถ่ี ูกวดั คงท่ี) (สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา, 2561) การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือด้านความเชื่อมั่น กระทำโดยการคำนวณสัมประสิทธ์ิ สหสัมพันธ์ความเช่ือมั่น ค่าที่คำนวณได้จะมีค่าตั้งแต่ -1 ถึง +1 ค่าความเชื่อมัน่ ที่เหมาะสมควรมีค่าเป็น บวกและมีคา่ สงู โดยแบบทดสอบทีค่ รูสร้างขึน้ เพ่อื ใชใ้ นชน้ั เรียนน้นั ควรมคี ่าสมั ประสทิ ธ์ิความเชอื่ มั่นต้ังแต่ 0.60 ขน้ึ ไป (เยาวดี วิบูลย์ศรี, 2545: 102) ดงั นนั้ สรุปไดว้ ่าความเชอ่ื ม่นั เป็นคณุ สมบัตขิ องเคร่ืองมอื วดั ที่แสดงใหเ้ หน็ วา่ เครอื่ งมอื นั้น วัดกค่ี ร้ังก็ไดผ้ ลเหมือนเดิมกับกลมุ่ เดิมในเวลาที่ต่างกนั 11 เลม่ ท่ี 5 การหาคุณภาพของเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ ใบกิจกรรมท่ี 1.2 ความเชือ่ มนั่ 1. จงบอกความหมายของความเช่อื ม่ัน ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. จากรูปภาพ เป้าการยงิ ธนูเปรียบเสมอื นผลจากการใช้เครื่องมอื วัดและประเมินผล กค ขง จงอธิบายค่าความเช่ือม่ันและความเทย่ี ง ของภาพ ก ข ค และ ง ............................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ....ตอบได้ใช่ไหมคะ..เยยี่ มเลยคะ่ .. ไปศกึ ษาใบความร้ตู อ่ ไปกันเลยนะคะ… 12 เลม่ ที่ 5 การหาคุณภาพของเครื่องมอื วดั และประเมนิ ผล
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ใบความรู้ท่ี 1.3 ความยากง่าย ความยากงา่ ย (Difficulty) เปน็ คุณสมบัติท่ชี ้ีให้เห็นวา่ เคร่อื งมือมีความยากง่าย เหมาะสมกับ ความร้คู วามสามารถของผู้เรยี นหรอื ไม่ (สำนักทดสอบทางการศึกษา, 2557)หรอื เปน็ สัดสว่ นของจำนวน คนทีต่ อบข้อสอบขอ้ นน้ั ถูกต้อง ซ่งึ มคี ่าอยู่ระหว่าง 0 – 1.00 ตัวอย่างเชน่ การสอบคร้งั หนึง่ มคี นสอบ 100 คนข้อสอบข้อท่ี 1 มีคนตอบตอบ ถูก 55 คน แสดงว่าขอ้ สอบขอ้ นี้มรี ะดบั ความยากง่ายเทา่ กับ .55 หรอื ร้อยละ 55 (55%) ดงั นั้นสรุปไดว้ า่ ความยากง่าย เปน็ คุณสมบัตทิ ่ีชใ้ี ห้เห็นบอกไดว้ ่าเครอ่ื งมือนน้ั มีความยากง่ายเพียงใด คนเกง่ ทำได้ คนออ่ นทำไม่ได้ 13 เลม่ ท่ี 5 การหาคุณภาพของเคร่อื งมอื วดั และประเมนิ ผล
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครื่องมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ ใบกิจกรรมท่ี 1.3 ความยากงา่ ย 1. จงบอกความหมายของความยากงา่ ย ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 2. ความยากงา่ ย ควรมีลักษณะอยา่ งไร ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ....ไมย่ ากใช่ไหมคะ..งั้นไปศกึ ษา ใบความรตู้ ่อไป กันเลยค่ะ.. 14 เล่มที่ 5 การหาคณุ ภาพของเคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผล
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ ใบความรูท้ ่ี 1.4 อำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก (Discrimination) เป็นความสามารถของข้อสอบแต่ละข้อ ในการจำแนก คนที่อยู่ในกลุ่มเก่งออกจากคนที่อยู่ในกลุ่มอ่อนได้ ข้อสอบข้อใดมีอำนาจจำแนกดี คนเก่งจะตอบถูก คน อ่อนจะตอบผิด เป็นคุณสมบัติที่ชี้ให้เห็นว่าเครื่องมือสามารถแบ่ง หรือแยกกลุ่ม ผู้ตอบออกจากกันตาม คุณลักษณะที่ถูกวดั จำแนกผู้เรียนได้ตาม ความแตกต่างของบุคคล ว่าใครเก่ง ปานกลาง อ่อน ใครรอบรู้ ไม่รอบรู้ โดยยึดหลักการว่าคนเก่งจะต้องตอบข้อสอบข้อนั้นถูก คนไม่เก่งจะต้องตอบผิด ข้อสอบที่ดี จะต้องแยกคนเก่งกับคนไมเ่ ก่งออกจากกันได้ อำนาจจำแนกมีความสัมพันธ์กับความเท่ียงตรงเชิงสภาพ ถา้ เครอื่ งมอื ใดมีอำนาจจำแนกสงู เครอื่ งมือนั้นกจ็ ะมีความเท่ยี งตรงเชงิ สภาพสูงด้วย ดังนนั้ สรุปได้ว่า อำนาจจำแนก เปน็ เครอ่ื งมอื ทีส่ ามารถแยกคนเก่งกบั คนออ่ นได้ บอกไดว้ า่ ใครเกง่ ใครอ่อนกว่ากนั 15 เลม่ ท่ี 5 การหาคุณภาพของเครื่องมือวดั และประเมนิ ผล
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครื่องมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมท่ี 1.4 ค่าอำนาจจำแนก 1. จงบอกความหมายของ ค่าอำนาจจำแนก ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. อำนาจจำแนกทดี่ คี วรมีลักษณะอย่างไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ .... ไปศึกษาใบความรตู้ ่อไปกนั เลยค่ะ.. 16 เลม่ ท่ี 5 การหาคณุ ภาพของเคร่อื งมอื วัดและประเมินผล
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ ใบความรทู้ ี่ 1.5 ความเปน็ ปรนัย ความเป็นปรนัย (Objectivity) หมายถึง ความชัดเจน ความถูกต้องตามหลักวิชาการและ ความเข้าใจตรงกัน เครอื่ งมือสามารถสื่อความหมายได้ชัดเจนและมีความหมายเดียวกนั เป็นคุณลักษณะ ของเคร่อื งมือวดั ท่แี สดงลักษณะ 3 ประการดังนี้ (พชิ ิต ฤทธจิ์ รูญ, 2556 ) 1) ความชดั เจนของคำถาม ขอ้ คำถามตอ้ งชัดเจน รัดกุม ไมว่ นไมก่ ำกวม ทกุ คนอ่านคำถาม แลว้ เข้าใจตรงกัน วา่ คำถามนั้นถามถงึ อะไร และภาษาท่ีใชต้ อ้ งเหมาะสมกบั วัยของผู้ตอบ 2) ความชดั เจนในการให้คะแนน หมายถึง การตรวจใหค้ ะแนนมีคำเฉลยตรงกนั เชน่ เม่ือตอบถูกได้1 คะแนน และตอบผิดได้ 0 คะแนน ใครเปน็ ผ้ตู รวจก็ตามสามารถตรวจให้คะแนนได้ตรงกัน หรือเฉลยได้ตรงกนั มีเกณฑ์การตรวจให้คะแนนที่ชดั เจนตรงกนั 3) ความชดั เจนในการการแปลความหมายของคะแนน หมายถึง การแปลความหมายของ คะแนนได้ชัดเจนไมว่ า่ ใครจะเปน็ ผแู้ ปลความหมายของคะแนนกใ็ หผ้ ลเป็นอยา่ งเดยี วกัน ดังน้นั สรุปได้ว่า ความเปน็ ปรนยั เป็นคณุ สมบตั ิสำหรบั เครอื่ งมือทุกชนดิ เพอ่ื ตรวจสอบความเทยี่ งตรงและความเช่อื มั่น ความเข้าใจตรงกนั ของผตู้ รวจ ในการแปลความหมายคะแนน 17 เล่มที่ 5 การหาคณุ ภาพของเคร่ืองมอื วดั และประเมินผล
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเคร่อื งมอื วดั และประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ใบกิจกรรมท่ี 1.5 ความเปน็ ปรนัย 1. จงบอกความหมายของ ความเปน็ ปรนัย ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. ความเป็นปรนยั ทด่ี ีควรมลี ักษณะอย่างไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 18 เลม่ ที่ 5 การหาคุณภาพของเคร่ืองมือวดั และประเมินผล
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ ตอนที่ 2 การตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมอื การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือในการวัดและประเมนิ ผลในช้ันเรียนน้ัน สามารถทำได้ 2 ลักษณะ คือ การตรวจสอบคุณภาพโดยไม่ใชว้ ธิ ีการทางสถิติ กบั การตรวจสอบคุณภาพโดยใช้วิธีการทางสถิติโดยการตรวจสอบ คณุ ภาพเครือ่ งมอื โดยไมใ่ ชว้ ธิ กี ารทางสถิติ ครผู สู้ อนสามารถพิจารณาคณุ ภาพของเครอื่ งมือใน 2 ด้าน คือ การตรวจสอบความถูกต้องและครอบคลุมของเนื้อหาวิชาและจุดมุ่งหมาย และการตรวจสอบภาษาและ ความสอดคลอ้ งกบั เทคนิคการเขยี นคำถาม โดยมรี ายละเอียดดังน้ี 1) การตรวจสอบความถูกต้องและครอบคลุมของเน้ือหาวชิ าและจดุ มุ่งหมาย 2) การตรวจสอบภาษาและความสอดคลอ้ งกบั เทคนิคการเขียนคำถาม ประเด็นในการพจิ ารณา - การเขียนขอ้ ความสามารถสือ่ ความหมายไดด้ ีเพยี งไร - การเขยี นข้อคำถามนั้นมคี วามถกู ตอ้ งตามเทคนคิ ในการเขยี นขอ้ คำถามท่ีดีหรือไม่ วธิ ีการพจิ ารณา - ตรวจสอบโดยผเู้ ชยี่ วชาญในเนื้อหาวชิ านั้น ๆ - ตรวจสอบโดยการเปรียบเทียบตารางกำหนดจำนวนขอ้ คำถาม (test Blueprint) และการตรวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือโดยใชว้ ธิ ีการทางสถติ ิ ครูผู้สอนสามารถพจิ ารณาคณุ ภาพ ของเคร่อื งมอื ใน 3 ด้าน คือ การตรวจสอบความสอดคล้องระหว่างข้อสอบกบั จุดประสงค์ การตรวจสอบ ค่าความยากง่ายของขอ้ สอบ และการตรวจสอบค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ ซงึ่ จะไดก้ ล่าวในใบความรู้ ถดั ไป ดงั น้ันสรปุ ได้วา่ การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมอื โดยไม่ใช้วิธีการทางสถิติ เปน็ การตรวจสอบ ทางดา้ นเนอื้ หา การส่ือความหมาย ความถูกต้องของข้อคำถาม และตรวจสอบโดยผู้เชยี่ วชาญดา้ นน้นั ๆ และการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมอื โดยใชว้ ิธีการทางสถิติ เป็นการตรวจสอบคณุ ภาพของเครือ่ งมอื ดา้ นการตรวจสอบความสอดคล้องระหวา่ งขอ้ สอบกบั จดุ ประสงค์ ค่าความยากงา่ ย และค่าอำนาจจำแนก ของข้อสอบ 19 เลม่ ท่ี 5 การหาคณุ ภาพของเครอื่ งมือวัดและประเมินผล
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ใบความรู้ท่ี 2.1 การตรวจสอบความเท่ียงตรง การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือสามารถทำการตรวจสอบโดยใช้วิธีการ ทางสถิติได้ โดยเครื่องมือนั้นต้องมีลักษณะเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบหรือ แบบถกู ผดิ หรอื แบบเติมคำส้นั ๆ แตต่ ้องมรี ูปแบบเดียวกนั ทั้งฉบับ การหาความเที่ยงหรือความตรง (Validity) เป็นการวิเคราะห์คุณภาพ ขอ้ สอบรายขอ้ หมายถึง กระบวนการตรวจสอบคําตอบของผ้สู อบในแต่ละข้อ เพอื่ พจิ ารณาวา่ ข้อสอบแต่ละ ข้อมีระดบั ความยาก และคา่ อำนาจจำแนกเพยี งใด รวมทั้งพิจารณาถึงประสทิ ธิภาพของตัวลวงในตัวเลือก ของข้อสอบข้อนั้นด้วย ข้อสอบที่จะทำการวิเคราะห์คุณภาพในข้อนี้ ต้องเป็นข้อสอบแบบตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน แสดงรายละเอียดดังน้ี การตรวจสอบความสอดคล้องระหวา่ งข้อสอบกับจดุ ประสงค์ (IOC: Index of item Objective Congruence) การหาคา่ ความเทย่ี งตรงเชงิ เนือ้ หาของแบบทดสอบ ตามวิธีของโรวิแนลลี่ (Rovinelli) และแฮมเบิลตัน (Hambleton) เรียกว่า ดัชนีความ สอดคลอ้ งระหวา่ งขอ้ สอบกับจดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม (IOC: Index of item Objective Congruence) (สำนัก ทดสอบทางการศึกษา, 2561 อ้างถึงใน เยาวดี วิบูลย์ศรี, 2545) ดำเนินการโดยให้ผูเ้ ชี่ยวชาญอย่างน้อย จำนวน 3 คน ประเมินความสอดคล้องของข้อสอบแต่ละข้อกับจุดประสงค์หรือตัวชี้วัด และพิจารณาให้ คะแนนแต่ละข้อ ดังนี้ ให้ +1 ถ้าแนใ่ จว่า ข้อคำถามหรือขอ้ ความสอดคลอ้ งกับจุดประสงค์ ให้ 0 ถ้าไม่แน่ใจว่า ข้อคำถามหรือข้อความสอดคล้องกับจุดประสงค์ ให้ -1 ถ้าแนใ่ จว่าขอ้ คำถามหรือขอ้ ความไม่สอดคลอ้ งกับจุดประสงค์ 20 เล่มที่ 5 การหาคณุ ภาพของเคร่ืองมอื วัดและประเมินผล
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ จากนัน้ นำคะแนนของผ้เู ช่ยี วชาญทกุ คน ที่ประเมินมาคำนวณหาค่า IOC ตามสูตรแปล ความหมายค่า IOC ทค่ี ำนวณได้ ดงั นี้ IOC = R N เม่ือ IOC แทน คา่ ดชั นคี วามสอดคล้องระหวา่ งข้อสอบกับจุดประสงค์ (Index of item Objective Congruence) R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผู้เชยี่ วชาญทั้งหมด N แทน จำนวนผูเ้ ชี่ยวชาญทั้งหมด เกณฑ์การแปลความหมายคา่ IOC IOC ≥ 0.5 แสดงวา่ ข้อคำถามหรือข้อความวดั ได้ตรงตามเนอื้ หาและสอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ทต่ี อ้ งการวดั IOC < 0.5 แสดงว่า ข้อคำถามหรือข้อความวัดไม่ตรงตามเนื้อหาและไม่สอดคลอ้ งกับ วตั ถปุ ระสงค์ทีต่ ้องการวดั ตัวอยา่ ง แบบตรวจสอบความสอดคลอ้ งของข้อสอบกับจุดประสงค์ (รายบคุ คล) คำชีแ้ จง โปรดพจิ ารณาขอ้ สอบแต่ละข้อที่แนบมาให้วา่ วัดไดต้ รงกับจุดประสงค์/ตัวชว้ี ดั หรอื ไม่ พร้อมทงั้ แสดงความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะ โดยทำเคร่ืองหมาย ✓ลงในชอ่ งความคิดเห็นของ ผเู้ ชยี่ วชาญ ซ่งึ มคี วามหมายดงั น้ี +1 ถา้ แนใ่ จว่าข้อคำถามหรอื ข้อความสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์หรอื ตัวช้วี ัดท่ตี ้องการวดั 0 ถา้ ไม่แนใ่ จว่าขอ้ คำถามหรือข้อความสอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงคห์ รอื ตัวชวี้ ัดที่ตอ้ งการวัด -1 ถา้ แน่ใจว่าขอ้ คำถามหรอื ขอ้ ความไม่สอดคล้องกบั จดุ ประสงคห์ รอื ตัวช้ีวดั ทต่ี อ้ งการวัด จดุ ประสงค์ ข้อสอบข้อท่ี ความคดิ เห็นของ ความคิดเหน็ / /มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด ผู้เช่ยี วชาญ ขอ้ เสนอแนะ +1 0 -1 21 เลม่ ท่ี 5 การหาคณุ ภาพของเครื่องมือวดั และประเมนิ ผล
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ ตัวอยา่ งแบบสรุปผลการตรวจสอบความสอดคลอ้ งของขอ้ คำถามกบั จดุ ประสงค์ ตวั อยา่ ง แบบสรุปผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อสอบกบั จุดประสงค์ (สรุปรวม) จดุ ประสงค์ ขอ้ สอบขอ้ ที่ คะแนนความคดิ เห็นของผ้เู ช่ยี วชาญ รวม คา่ IOC แปลผล (มาตรฐาน/ ตวั ช้วี ดั ) 1 123 4 5 3 0.60 ใชไ้ ด้ ว1.2 ป 6/1 2 51 ใชไ้ ด้ ว1.2 ป 6/1 3 +1 +1 0 0 +1 4 0.80 ใช้ได้ ว1.2 ป 6/1 4 +1 +1 +1 +1 +1 2 0.20 ใช้ไมไ่ ด้ 5 +1 0 +1 +1 +1 -2 -.40 ใชไ้ มไ่ ด้ ว2.2 ป 6/1 6 +1 0 0 0 0 ว2.2 ป 6/1 0 -1 -1 -1 +1 5 1.0 ใชไ้ ด้ ว2.3 ป 6/2 +1 +1 +1 +1 +1 ข้อสอบท่คี วรคัดเลอื กไว้ได้แก่ขอ้ 1, 2, 3,6 22 เลม่ ที่ 5 การหาคุณภาพของเครอ่ื งมือวัดและประเมินผล
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมท่ี 2.1 1.คา่ ดัชนคี วามสอดคล้องระหวา่ งข้อสอบกบั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ (IOC) ควรมีค่าเทา่ ใดจงึ ใชไ้ ด้ จงอธบิ าย ...................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................... 2. จงหาดัชนีความสอดคล้องระหวา่ งขอ้ สอบกับจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ IOC โดยใหผ้ ู้เชย่ี วชาญ 3 คน ใหค้ ะแนนแต่ละขอ้ ผลการพจิ ารณาของผเู้ ชีย่ วชาญสรปุ ไดด้ ังน้ี กลมุ่ สาระการเรยี นรู้/ ขอ้ สอบขอ้ ที่ ผลการพิจารณา ∑R คา่ ตวั ช้ีวดั คนท่ี คนท่ี คนที่ IOC 12 3 สาระท่ี 2 ชีวติ กบั 1.การกระทำใดชว่ ยรักษาพื้นท่ีปา่ ให้ +1 +1 0 สงิ่ แวดล้อม มาตรฐาน มคี วามอุดมสมบูรณ์เพ่มิ ข้นึ ว 2.2 ก การทำไรเ่ ล่อื นลอย ตัวช้วี ัดที่ 4. อภปิ ราย ข. การตั้งอุทยานแหง่ ชาติ แนวทางในการดแู ลรกั ษา ค การสร้างเขอื่ น ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ง. การขยายเขตอตุ สาหกรรม สง่ิ แวดลอ้ ม คำสั่ง เลือกคำตอบที่ 2.ขอ้ ใดเป็นวธิ กี ารอนรุ กั ษ์ +1 +1 +1 ถูกต้องทีส่ ุด ทรัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งย่ังยนื ก. เพ่ิมโทษแกผ่ กู้ ระทำความผิด ข. ปลูกต้นไม้ทดแทนทสี่ ญู เสยี ไป ค. จดั หน่วยเฝา้ ระวังทรพั ยากร ง. สร้างจติ สำนกึ ในการอนุรักษแ์ ละ หวงแหนทรพั ยากร 3.ข้อใดเป็นการบำรงุ ดูแลรกั ษาดนิ +1 0 +1 ก ฝังขยะทกุ ประเภทลงในดนิ ข ใสป่ ยุ๋ เคมีลงในดินมาก ๆ ค การปลกู พืชตระกลู ถวั่ สลบั กบั พชื ชนดิ อื่น ง เผาหญ้าท่ีขนึ้ ปกคลุมดนิ 23 เลม่ ท่ี 5 การหาคุณภาพของเครื่องมือวัดและประเมนิ ผล
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่อื งมือวัดและประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ กล่มุ สาระการเรยี นร้/ู ขอ้ สอบข้อท่ี ผลการพจิ ารณา ∑R ค่า ตัวชวี้ ดั คนท่ี คนท่ี คนที่ IOC 12 3 4.ข้อใดเปน็ การดูแลรักษาทรัพยากร 0 -1 +1 น้ำ ก ไมท่ ิ้งส่งิ ปฏิกลู ลงแหลง่ น้ำ ข .ใช้น้ำอยา่ งประหยดั ค จดั ระบบบำบัดน้ำเสยี ในชมุ ชน ง ถูกทุกข้อทก่ี ล่าวมา ข้อสอบที่ควรคดั เลือกไวไ้ ดแ้ กข่ อ้ …………………………………………………………………………………… 24 เล่มท่ี 5 การหาคุณภาพของเคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่อื งมอื วดั และประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ ใบความร้ทู ่ี 2.2 การตรวจสอบคา่ ความยากงา่ ย ความยากของขอ้ สอบ หมายถึงกระบวนการตรวจสอบคำตอบของผู้สอบในแต่ละขอ้ เพอื่ พิจารณา ว่าแต่ละข้อมีระดับความยากเพียงใด และรวมถึงประสิทธิภาพของตัวลวงในตัวเลือกของข้อสอบข้อนั้น ด้วย เช่น จำนวนร้อยละหรือสัดส่วนของคนตอบถูกในข้อนัน้ ซึ่งมีค่าอยู่ระหว่าง 0 – 1.00 ตัวอย่าง เช่น การสอบครงั้ หนึ่งมคี นสอบ 100 คน ข้อสอบขอ้ ที่ 1 มคี น ตอบถูก 55 คน แสดงวา่ ข้อสอบข้อนี้มีระดบั ความ ยากงา่ ยเท่ากบั 0.55 หรือรอ้ ยละ 55 (พิชติ ฤทธ์จิ รูญ, 2556) สำนักทดสอบทางการศึกษา, 2557 กลา่ ว่ามีสตู รในการคำนวณคา่ ความยากงา่ ย 2 ลักษณะคอื 1. การคำนวณคา่ ความยากงา่ ยของข้อสอบท่ีใหค้ ะแนนแบบทวภิ าค (คะแนนมี 2 ค่า คือ ตอบถกู ได้ 1 คะแนนและตอบผิดได้ 0 คะแนน ) มขี ้ันตอนดงั นี้ 1) ตรวจใหค้ ะแนนนกั เรียนแลว้ รวมคะแนน และแบง่ กลุ่มนักเรยี นออกเป็น 2 กลมุ่ (กล่มุ สงู กับกลุ่มตำ่ ) 2) พิจารณาผลการเลือกตวั เลือกในแตล่ ะขอ้ ของนกั เรยี นกลุม่ สูงและกลุ่มต่ำ 3) คำนวณหาคา่ ความยากง่ายของข้อสอบแตล่ ะข้อโดยใช้สูตร คำนวณหาคา่ ความยากง่ายของขอ้ สอบรายขอ้ โดยใช้สตู ร Pi = RH + RL NH + NL P คือ คา่ ความยาก RH คอื จำนวนคนทตี่ อบขอ้ สอบถูกในกลมุ่ สูง RL คอื จำนวนคนทีต่ อบข้อสอบถกู ในกลมุ่ ตำ่ NH คือ จำนวนคนทัง้ หมดในกลุ่มสูง NL คือ จำนวนคนทงั้ หมดในกลมุ่ ตำ่ 4) นำคา่ ความยากง่ายของขอ้ สอบทค่ี ำนวณไดไ้ ปเทยี บกบั เกณฑ์ (ลว้ น สายยศและ องั คณา สายยศ, 2543 : 185) 25 เลม่ ที่ 5 การหาคณุ ภาพของเคร่ืองมอื วดั และประเมินผล
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครอื่ งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ 0.80 - 1.00 แสดงวา่ เป็นขอ้ สอบง่ายมาก ควรตดั ทิง้ หรอื ปรับปรุง 0.60 - 0.80 แสดงวา่ เป็นขอ้ สอบงา่ ยพอใชไ้ ด้ (ด)ี 0.40 - 0.60 แสดงว่า เป็นขอ้ สอบยากงา่ ยปานกลาง (ดีมาก) 0.20 - 0.40 แสดงว่า เป็นขอ้ สอบคอ่ นข้างยาก (ดี) 0.00 - 0.20 แสดงว่า เปน็ ข้อสอบยากมาก ควรตดั ท้งิ หรือปรับปรงุ ขอ้ สอบทีม่ ีคา่ P มาก ขอ้ สอบข้อน้นั มคี นตอบถูกมาก แสดงวา่ ข้อสอบง่าย ขอ้ สอบท่มี ีคา่ P น้อย ข้อสอบขอ้ นน้ั มคี นตอบถูกน้อย แสดงว่าข้อสอบยาก นำคา่ ความยากง่ายของข้อสอบท่ีคำนวณไดไ้ ปเทียบกับเกณฑ์ คอื หากค่าท่คี ำนวณได้อยู่ในช่วงที่ 0.2 ถึง 0.8 ถือว่าเป็นข้อสอบที่มีความเหมาะสมต่อการนำไปใช้ ซึ่งหากข้อสอบข้อใดมีค่าความยากง่าย เท่ากับ 0.5 จะถือว่าเป็นข้อสอบมีความยากงา่ ยเหมาะสมท่ีสุด 2. คำนวณค่าความยากง่ายขอ้ สอบที่ใหค้ ะแนนแบบพหภุ าค ( มีมากกวา่ สองค่า คือ มีคะแนนเตม็ ตง้ั แต่ 2 คะแนนขึ้นไป) แสดงรายละเอยี ดดังต่อไปนี้ 1) ตรวจให้คะแนนนักเรียนแล้วรวมคะแนน และแบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม (กล่มุ สูงกับกลุม่ ตำ่ ) 2) คำนวณสัดส่วนของคะแนนรวมรายข้อที่ได้จำแนกของกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ โดยใช้สตู ร สัดสว่ นกลมุ่ สงู (PH) = ∑ ������ สัดส่วนกลมุ่ ตำ่ (PL) = ∑ ������ ∑ ������ ∑ ������ โดย H คือ รวมคะแนนกล่มุ สงู L คือ รวมคะแนนกล่มุ ต่ำ T คอื รวมคะแนนเต็ม (จำนวนคนในกลุ่ม x คะแนนเตม็ ในข้อนนั้ ) 3) คำนวณหาค่าความยากงา่ ยของขอ้ สอบแต่ละขอ้ โดยใชส้ ูตร Pi = PH + PL 2 PH คือ สดั ส่วนกลุ่มสงู PL คือ สัดส่วนกล่มุ ต่ำ 4) นำคา่ ความยากง่ายของขอ้ สอบทีค่ ำนวณไดไ้ ปเทยี บกับเกณฑ์ คอื หากคา่ ท่คี ำนวณไดอ้ ยูใ่ นช่วง 0.2 ถึง 0.8 ถือว่าเป็นข้อสอบที่มีความเหมาะสมต่อการนำไปใช้ ซึ่งหากข้อสอบข้อใดมีค่าความยากง่าย เทา่ กบั 0.5 จะถอื ว่าเป็นขอ้ สอบมีความยากง่ายเหมาะสมทสี่ ุด 26 เลม่ ที่ 5 การหาคณุ ภาพของเคร่ืองมอื วดั และประเมินผล
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบอิงกลุ่ม การวดั ความร้คู วามสามารถของผ้เู รียน โดยมงุ่ เนน้ ที่การเปรียบเทียบความสามารถของผู้เรียนกันเองภายในกลุ่มผู้เรียนแต่ละคนมีความรู้มากน้อยเพียงใด เมื่อเทียบกับกลุ่มใครเก่งกวา่ กัน ดังนั้นการตรวจสอบคุณภาพทำได้โดยการวเิ คราะห์คุณภาพรายขอ้ และ คณุ ภาพทง้ั ฉบับ (พรทพิ ย์ ไชยโส 2535 อา้ งถึงใน สดุ ารัตน์ นนท์คลงั , 2549) ดังน้ี 1. การวเิ คราะห์คุณภาพรายขอ้ ตรวจสอบคณุ ภาพของแบบทดสอบขน้ั ต้นแลว้ นำแบบทดสอบไป ทดลองใช้กบั นกั เรยี นกลุม่ ทดลอง แลว้ ซักถามปัญหาอปุ สรรคของผ้สู อบจากการทำแบบทดสอบ ตลอดจน ความเป็นปรนยั ของขอ้ คำถาม หรอื ความชัดเจนของภาษา กเ็ ป็นการตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบเช่นกัน หลังจากที่นำแบบทดสอบไปทดลองใชก้ ับกลุ่มผู้เรียน แลว้ นำผลการสอบมาวิเคราะหค์ ุณภาพของข้อสอบ เปน็ รายขอ้ (Item analysis) ซงึ่ เป็นการตรวจสอบคุณภาพในด้านความยากงา่ ย อำนาจจาํ แนก และการวิเคราะห์ขอ้ สอบรายข้อ มีขน้ั ตอนการดำเนนิ การดงั น้ี 1. ตรวจกระดาษคำตอบของผเู้ รียนแลว้ รวมคะแนนของแต่ละคนไว้ 2. นำกระดาษคำตอบของผ้เู รียนมาเรยี งลำดับหมายโดยจัดเรียงมากไปนอ้ ย 3. แบ่งกระดาษคำตอบของผเู้ รยี นตอ่ เปน็ 2 กลมุ่ คือ กล่มุ เก่ง กลุม่ อ่อน โดยใชเ้ ทคนิค 25% หรือ 27 % หรือ 33 % หรือ 50 % แล้วแต่ความเหมาะสม จึงพิจารณาจากจำนวนกลุ่มตัวอย่างการกระจายของ คะแนนโดยยึดหลักว่าจะต้องมีความแตกต่างระหว่าง กลุ่มเก่งและกลุ่มอ่อนมากที่สุด โดยทั่วไปจะใช้ เทคนิค 27 % (พิชิต ฤทธิ์จรูญ, 2556) ถ้าผู้เข้าสอบมีจำนวนมาก 300-400 ขึ้นไปเพื่อสะดวกในการวิเคราะห์ สามารถใช้เทคนิค 25 ได้ (พรทิพย์ ไชยโส, 2535) แต่ถ้าการแจกแจงไม่เป็นปกติควรใช้เทคนิค 33% จึง จะให้ค่าที่ใกล้เคียงกับที่ทำการวิเคราะห์ ส่วนเทคนิค 50% ใช้น้อยมากจะใช้ในกรณีที่กลุ่มตัวอย่างมี จำนวนนอ้ ยมากประมาณ 40 คน หรือน้อยกว่า 40 (บญุ เรียง ขจรศิลป,์ 2543 ) การวิเคราะห์ขอ้ สอบราย ขอ้ แบบอิงกล่มุ (พิชิต ฤทธ์จิ รญู , 2556) ซึง่ เป็นวิธีทน่ี ยิ มกนั มากอีกวิธหี นึง่ ก็คือการใช้เทคนคิ 27 % ซึ่ง มวี ธิ วี เิ คราะหด์ ังนี้ 27 เล่มท่ี 5 การหาคุณภาพของเคร่อื งมือวดั และประเมินผล
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 1) นำขอ้ สอบไปสอบตรวจให้คะแนน และเรยี งกระดาษคำตอบตามลำดับคะแนนมากไปถึง นอ้ ย 2) แบ่งกระดาษคำตอบออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกเรยี กวา่ กลมุ่ สงู (PH) โดยนับคะแนนจากสงู ลงมาประมาณ 27% ของกระดาษคำตอบทั้งหมดและกลุ่มหลังเรียกว่ากลุ่มต่ำ (PL) โดยนับจากคะแนน ต่ำสดุ ข้ึนไปประมาณ 27% ของกระดาษคำตอบทั้งหมด การใช้เทคนิค 27% สำหรบั คดั เลอื กกลุ่มสูงและ กลุ่มต่ำนี้ ใช้ในกรณีที่กลุ่มตัวอย่างหรือผู้สอบมีจำนวนมากและคะแนนมีการแจกแจงแบบปกติแต่ถ้า คะแนนไมม่ ีการแจกแจงปกตคิ วรใช้เทคนิค 35% 3) หาจำนวนคนทต่ี อบถูกของแต่ละคนในกลมุ่ สูงกล่มุ ต่ำ 4) หาความยาก (P) ของแตล่ ะข้อ โดยรวมจำนวนทต่ี อบถูกในกลุม่ สงู และกลุ่มตำ่ แลว้ หารดว้ ยจำนวนคนในกล่มุ สงู และกลุ่มต่ำรวมกัน 5) ค่าอำนาจจำแนก (R) ของแต่ละข้อ โดยเอาจำนวนคนที่ตอบถูกในกลุ่มศูนย์ตั้งลบด้วย จำนวนคนท่ตี อบถกู ในกล่มุ ตำ่ แล้วหารดว้ ยจำนวนคนในกลุ่มสงู หรอื ตำ่ ความยากของขอ้ สอบ P = จำนวนคนที่ตอบถูก จำนวนคนทง้ั หมดท่ีทำขอ้ สอบในแตล่ ะข้อ คำนวณหาค่าความยากง่ายของข้อสอบแต่ละขอ้ โดยใช้สตู ร P = PH + PL 2n P คอื คา่ ความยาก PH คอื จำนวนคนทีต่ อบขอ้ สอบถกู ในกลุ่มสงู PL คือ จำนวนคนท่ีตอบขอ้ สอบถูกในกลุม่ ตำ่ n คือ จำนวนคนสูงหรอื กลมุ่ ต่ำ 28 เล่มที่ 5 การหาคุณภาพของเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครื่องมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ การวิเคราะห์ค่าความยากง่ายและอำนาจจำแนกของขอ้ สอบแบบอัตนัย ดำเนนิ การได้ดังน้ี 1. ตรวจให้คะแนนข้อสอบแต่ละข้อ แลว้ รวมคะแนนทุกข้อ 2. เรียงกระดาษคำตอบจากคะแนนสูงสุดลงมาหาต่ำสุด ถ้าใช้เทคนิค 25% ให้คัดเอา เฉพาะผู้ที่ได้คะแนนสูงสุด 25% ของทั้งหมดเป็นกลุ่มสูง และผู้ที่ได้คะแนนต่ำสุด 25% ของทั้งหมดเปน็ กลมุ่ ต่ำ กลมุ่ ที่เหลือเป็นกลุ่มกลางมีจำนวน 50% ของทง้ั หมด ไมน่ ำมาใชใ้ นการวิเคราะห์ 3. บันทึกคะแนนของแต่ละคนในแต่ละข้อลงในตาราง โดยแยกตามกลุ่ม จากนั้นให้รวม คะแนนแต่ละข้อของแต่ละกลุ่ม ทั้งนี้อาจใช้แบบฟอร์มดังตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัยวิชา วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ดังน้ี ตัวอย่าง ตารางการเคราะหข์ ้อสอบแบบอัตนัยวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่ม ผสู้ อบ 1 ขอ้ สอบข้อท่ี 4 5 รวม กล่มุ สูง 23 42 กลมุ่ ตำ่ 1 9 8 7 8 10 38 37 ผลการ 2 8 8 6 7 10 36 วิเคราะหร์ วม 3 8 7 67 9 27 25 4 8 7 66 9 22 16 รวม 33 30 25 28 38 1 5 5 57 5 2 5 5 38 4 3 4 6 36 3 4 2 3 27 2 รวม 16 19 13 28 14 p .61 .61 .47 .70 .65 r .42 .27 .30 .00 .60 สรปุ ใชไ้ ด้ ใชไ้ ด้ ใช้ได้ ใชไ้ มไ่ ด้ ใช้ได้ 4. จากตารางจะเห็นว่าข้อสอบวิชาวิทยาศาสตร์มจี ำนวนทั้งหมด 5 ข้อ คะแนนเตม็ ข้อละ 10 คะแนน นักเรยี นทสี่ อบมีจำนวนท้ังหมด 16 คน จงึ มีกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำกล่มุ ละ 4 คน ซึ่งเท่ากับ 25% ของ 16 คน ผ้ทู ไี่ ดค้ ะแนนสูงสดุ ทำได้ 42 คะแนน ตอบขอ้ 1 ถึง ข้อ 5 ได้คะแนนตามลำดับดังนี้ 9, 8, 7, 8, 10 ผู้ท่ไี ด้คะแนนตำ่ สุดทำได้ 16 คะแนน ตอบขอ้ 1 ถึงขอ้ 5 ไดค้ ะแนนตามลำดับดงั น้ี 2, 3, 2, 7, 2 ข้อ 1 มกี ลุ่มสงู ทำได้คะแนนรวมทง้ั หมด 33 คะแนน กลมุ่ ต่ำทำได้ 16 คะแนน 29 เลม่ ที่ 5 การหาคณุ ภาพของเครื่องมอื วัดและประเมินผล
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ 5. คำนวณคา่ ความยากง่ายและอำนาจจำแนก โดยใชส้ ูตรดังนี้ คา่ ความยากงา่ ยหาจากสตู ร p = H+ L 2NM คา่ อำนาจจำแนกหาจากสูตร r = H−L NM เม่อื p แทน คา่ ความยาก r แทน คา่ อำนาจจำแนก H แทน ผลรวมของคะแนนกล่มุ สงู L แทน ผลรวมของคะแนนกลมุ่ ต่ำ N แทน จำนวนคนในแตล่ ะกลมุ่ M แทน คะแนนเต็มของข้อสอบขอ้ นัน้ หรืออาจเขียนสตู รในรปู ข้อความไดด้ งั น้ี ค่าความยาก = ผลรวมของคะแนนกลมุ่ สงู + ผลรวมของคะแนนกลุ่มต่ำ จำนวนคนท้ังสองกลุ่ม × คะแนนเตม็ ของขอ้ สอบขอ้ น้ัน คา่ อำนาจจำแนก = ผลรวมของคะแนนกลุม่ สงู - ผลรวมของคะแนนกลุ่มตำ่ จำนวนคนในแตล่ ะกลมุ่ × คะแนนเต็มของขอ้ สอบข้อนนั้ ตวั อย่าง การหาค่าความยากของข้อ 1 33 + 16 49 p = 8 x 10 = 80 = .61 ตัวอย่าง การหาคา่ อำนาจจำแนกของข้อ 1 33 − 16 17 r = 4 x 10 = 40 = .42 6. นำค่าความยากและค่าอำนาจจำแนกที่คำนวณได้บันทึกลงในตาราง และสรุปคุณภาพ ขอ้ สอบขอ้ น้ันว่าใช้ไดห้ รือไม่ โดยขอ้ สอบที่ใชไ้ ด้ต้องมคี า่ ที่เหมาะสมทั้งค่าความยากง่ายและอำนาจ 30 เลม่ ที่ 5 การหาคุณภาพของเครอ่ื งมือวัดและประเมินผล
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 7. จากตัวอย่างวิเคราะห์ข้อสอบแบบอตั นัยดังกล่าวข้างต้น แสดงว่าข้อ 1, 2, 3, และ 5 มี คุณภาพเหมาะสม ส่วนขอ้ 4 ถึงแม้ว่าคา่ ความยากจะใช้ได้ แตไ่ มม่ อี ำนาจจำแนก จึงเป็นข้อท่ใี ชไ้ มไ่ ด้ ประโยชนข์ องการวเิ คราะห์ขอ้ สอบคุณภาพข้อสอบรายข้อ 1) ทำใหท้ ราบคุณภาพของขอ้ สอบวา่ ข้อสอบข้อนน้ั มคี วามยากเพียงใดสามารถแยกคนเก่ง ออกจากคนไม่เก่งหรอื แยกคนทร่ี ับรูอ้ อกจากคนทีไ่ ม่รับรู้ไดห้ รือไม่เพ่อื คดั เลือกเอาไปใช้หรือนำไปปรับปรุง ข้อคำถามหรือตวั เลอื กใหม้ ีคณุ ภาพมากขึ้น 2) ทำใหป้ ระหยดั เวลาในการออกข้อสอบระยะเวลายาวระยะยาวเพราะสามารถคัดเลือก ข้อสอบทีด่ แี ตล่ ะข้อนำไปรวมเป็นฉบบั เพื่อเกบ็ ไวใ้ ช้อนาคตได้อกี ในอนาคต 3) เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างข้อสอบมาตรฐานและเป็นแนวทางในการสร้างคลังข้อสอบ 4) ช่วยใหข้ ้อสอบมีคณุ ภาพสามารถนำไปวดั และประเมนิ ผลได้อยา่ งเท่ียงตรงและเชือ่ มนั่ ได้ 5) ใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการวิเคราะห์คณุ ภาพข้อสอบทั้งฉบับตอ่ ไป 6) ช่วยให้ครูเขยี นข้อสอบได้ดีขึ้นเพราะผลการวเิ คราะห์จะย้อนกลับมายังผูอ้ อกขอ้ สอบ อีกครั้งหน่งึ 7) เปน็ ขอ้ มูลในการปรบั ปรุงการเรยี นการสอนเพราะการวิเคราะห์ข้อสอบจะช่วยใหท้ ราบ จุดบกพรอ่ งของการเรยี นการสอน 8) ช่วยให้การสร้างแบบทดสอบได้หลายฉบับในเวลาเดียวกันและในอนาคตสามารถ เลอื กข้อสอบนำไปสรา้ งแบบทดสอบคขู่ นานได้ 31 เล่มที่ 5 การหาคุณภาพของเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครื่องมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ ใบกิจกรรมท่ี 2.2 การตรวจสอบคา่ ความยากง่ายของข้อสอบ 1. จงบอกความหมายของ คา่ ความยากง่ายของข้อสอบ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. ผลการวิเคราะห์ข้อสอบแบบอัตนัยวิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ดงั น้ี ตัวอย่าง ตารางการเคราะห์ขอ้ สอบแบบอัตนัยวิชาวทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 กลุ่ม ผสู้ อบ 1 ข้อสอบข้อท่ี 5 รวม 2 34 กล่มุ สูง 1 9 9 87 9 กลมุ่ ต่ำ ผลการ 2 7 7 7 5 10 วิเคราะห์ รวม 3 7 7 65 9 4 8 5 56 9 รวม 1 4 4 57 5 2 4 4 38 3 3 4 5 36 3 4 2 3 26 2 รวม p r สรปุ ข้อสอบทม่ี ีคุณภาพเหมาะสมได้แก.่ .......................................................................................... ขอ้ สอบไมเ่ หมาะสมได้แก่ ......................................................................................ต....อ่....ไไ.ป.ป..กศ..นั.กึ ..เษ.ล..าย.ใคบ่ะค..วามรู้ 32 เลม่ ท่ี 5 การหาคุณภาพของเครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ ใบความร้ทู ี่ 2.3 การตรวจสอบค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก (Item Difficulty: P) หมายถึง ประสิทธิภาพของข้อสอบ ในการแบง่ ผู้สอบออกเปน็ 2 กลมุ่ คือ กลุ่มทไี่ ด้คะแนนสูงหรือกล่มุ เก่ง กบั กลุ่มท่ไี ด้ คะแนนต่ำหรือกลุ่มอ่อน ค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบ จำแนกให้เห็นถึงความ แตกต่างของผู้สอบที่มีคุณลักษณะทีต่ ้องการวัดต่างกันเพียงไร เช่น การวัดผลสัมฤทธิ์ต้องการจำแนกคน เรยี นเกง่ กบั คนเรียนอ่อนออกจากกนั ซ่งึ มคี ่าอย่รู ะหว่าง -1.00 ถงึ 1.00 สำนักทดสอบทางการศึกษา, 2557 กล่าว่ามสี ตู รในการคำนวณคา่ อำนาจจำแนก 2 ลักษณะคือ 1. การคำนวณค่าอำนาจจำแนกของขอ้ สอบท่ใี ห้คะแนนแบบทวิภาค (คะแนนมี 2 คา่ คือ ตอบถูกได้ 1 คะแนน และตอบผดิ ได้ 0 คะแนน) มขี ้นั ตอนดงั ตอ่ ไปนี้ 1) ตรวจให้คะแนนนักเรยี นแล้วรวมคะแนน และแบ่งกล่มุ นักเรียนออกเป็น 2 กลุ่ม (กลมุ่ สงู กบั กลุ่มตำ่ ) 2) พจิ ารณาผลการเลอื กตวั เลอื กในแตล่ ะข้อของนกั เรียนกลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ 3) คำนวณหาคา่ อำนาจจำแนกของข้อสอบแต่ละข้อ โดยใชส้ ตู ร ri = RH − RL NH orNL RH คอื จำนวนคนทต่ี อบข้อสอบถูกในกล่มุ สูง RL คือ จำนวนคนทต่ี อบขอ้ สอบถกู ในกลุ่มตำ่ NH คือ จำนวนคนท้งั หมดในกลุม่ สงู NL คอื จำนวนคนทง้ั หมดในกลุม่ ต่ำ 33 เล่มที่ 5 การหาคุณภาพของเครือ่ งมอื วัดและประเมนิ ผล
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่อื งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ การคำนวณหาคา่ อำนาจจำแนกของขอ้ สอบแตล่ ะข้อ (พิชติ ฤทธ์ิจรญู , 2556) โดยใชส้ ูตร r = PH − PL n PH คือ จำนวนคนที่ตอบข้อสอบถกู ในกลมุ่ สงู PL คอื จำนวนคนทีต่ อบขอ้ สอบถูกในกลุ่มตำ่ n คอื จำนวนคนท้งั หมดกลุ่มสูงหรอื กลมุ่ ตำ่ 4) นำค่าอำนาจจำแนกของขอ้ สอบที่คำนวณไดไ้ ปเทียบกบั เกณฑ์ คือ หากค่าที่คำนวณ ได้มีค่าตั้งแต่ 0.2 ขึ้นไป ถือว่าเป็นข้อสอบที่มีความเหมาะสมต่อการนำไปใช้ ซึ่งหากข้อสอบข้อใดมีค่า อำนาจจำแนกเทา่ กับ 1.00 จะถือวา่ เปน็ ขอ้ สอบมอี ำนาจจำแนกเหมาะสมที่สุด 2. การคำนวณคา่ อำนาจจำแนกข้อสอบทใ่ี ห้คะแนนแบบพหวุ ภิ าค (คะแนนมีมากกวา่ 2 คา่ คือมีคะแนนเต็มตง้ั แต่ 2 คะแนนข้นึ ไป) มีข้นั ตอนดงั ต่อไปน้ี 1) ตรวจให้คะแนนนักเรยี นแลว้ รวมคะแนน และแบ่งกล่มุ นกั เรียนออกเปน็ 2 กลมุ่ (กลมุ่ สงู กับกลุ่มตำ่ ) 2) คำนวณสัดส่วนของคะแนนรวมรายขอ้ ที่ไดจ้ ำแนกของกลมุ่ สงู และกลุม่ ตำ่ โดยใช้สูตร สัดส่วนกลุม่ สูง (PH) = ∑ ������ สดั สว่ นกลมุ่ ต่ำ (PL) = ∑ ������ ∑ ������ ∑ ������ โดย H คอื รวมคะแนนกลมุ่ สงู L คอื รวมคะแนนกลุ่มต่ำ T คอื รวมคะแนนเต็ม (จำนวนคนในกลมุ่ x คะแนนเต็มในขอ้ น้นั ) 34 เล่มท่ี 5 การหาคุณภาพของเครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 3) คำนวณหาคา่ อำนาจจำแนกของข้อสอบแตล่ ะข้อ โดยใช้สูตร Ri = PH - PL PH คอื สัดสว่ นกลุ่มสงู PL คอื สัดสว่ นกลุม่ ตำ่ 4) นำค่าอำนาจจำแนกของข้อสอบที่คำนวณได้ไปเทยี บกับเกณฑ์ คือ หากคา่ ท่คี ำนวณได้ มคี ่าตง้ั แต่ 0.2 ขึ้นไป ถอื วา่ เป็นข้อสอบท่มี คี วามเหมาะสมตอ่ การนำไปใช้ ซง่ึ หากขอ้ สอบข้อใดมคี ่าอำนาจ จำแนกเท่ากบั 1.00 จะถอื วา่ เปน็ ข้อสอบมอี ำนาจจำแนกเหมาะสมท่สี ุด คา่ อำนาจจำแนกของข้อสอบท่ีคำนวณได้ไปเทียบกบั เกณฑ์มีความหมายดงั น้ี 0.60 - 1.00 แสดงวา่ อำนาจจำแนกได้ดมี าก 0.40 - 0.59 แสดงวา่ อำนาจจำแนกได้ดี 0.20 - 0.39 แสดงวา่ อำนาจจำแนกพอใช้ได้ 0.10 - 0.19 แสดงว่า อำนาจจำแนกได้ค่อนขา้ งตำ่ ควรปรบั ปรุง 0.00 - 0.09 แสดงว่า จำแนกได้ต่ำมากควรปรบั ปรุง ภาพ แสดงการกระจายของขอ้ สอบตามผลการวิเคราะห์ 35 เลม่ ที่ 5 การหาคุณภาพของเคร่ืองมือวดั และประเมินผล
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครือ่ งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ ตวั อยา่ ง ในการสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ข้อสอบเป็นปรนัยชนิดเลอื กตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 5 ข้อมีผู้สอบ จำนวน 50 คน ตรวจให้คะแนนและเรียงคะแนนจากสงู ไปต่ำเรียบร้อยแลว้ และนำมาแบ่งเปน็ กลุ่มสูง 27 เปอรเ์ ซน็ ต์ ประมาณ 14 คนและกลมุ่ ตำ่ 27 ประมาณ 14 คนผลการวเิ คราะหจ์ ำนวนคนท่ีตอบถูกในกลุ่ม สูงกลมุ่ ต่ำ ปรากฏดังตารางดังนี้ ตาราง ผลการวิเคราะห์ขอ้ สอบรายขอ้ วิชาวทิ ยาศาสตร์ ข้อที่ PH PL PH+PL PH-PL P r 18 2 14 8 16 0 0.57 0.00 3 14 46 0 14 14 0.50 1.00 5 12 14 28 0 1.00 0.00 10 16 -4 0.57 -0.28 5 17 7 0.61 0.50 จากตัวอยา่ งข้างตน้ จะเห็นว่า ข้อที่ 1 ผู้สอบทั้งสองกลุ่มตอบถูกเท่ากัน แปลว่าข้อสอบข้อนีไ้ ม่สามารถจำแนกนักเรียนทั้งสอง กลุ่มได้เลย แมว้ ่าความยากจะดีมาก 0.57 เปน็ ข้อสอบที่ตอ้ งปรับปรงุ ข้อท่ี 2 ผู้สอบกลุ่มสูงตอบถูกหมดและกลุ่มต่ำตอบผิดหมด มคี ่าความยากเท่ากับ 0.50 แปลว่ามี ความยากปานกลางและคา่ อำนาจจำแนกเท่ากับ 1 เป็นขอ้ สอบท่ีดมี าก ข้อ 3 ผู้สอบกลุ่มสูงกับกลุ่มต่ำตอบถูกหมด แสดงว่าข้อสอบง่ายมากและไม่สามารถจำแนก นกั เรียนได้เป็นขอ้ สอบทต่ี ัง้ ตัดทิง้ ขอ้ 4 ขอ้ สอบขอ้ น้คี วามยากเท่ากับ 0.57 นา่ จะใชไ้ ด้ แต่คา่ อำนาจจำแนก ติดลบ น่ันคอื คนกลุ่ม สูงตอบไมค่ อ่ ยได้ คนกลุม่ ต่ำตอบไดม้ ากกวา่ เป็นข้อสอบที่ต้องปรบั ปรงุ ข้อที่ 5 ความยากเท่ากับ 0.60 ค่าอำนาจจำแนกเท่า 0.50 มีค่าความยากและค่าอำนาจจำแนก อยใู่ นเกณฑ์ดีเปน็ ขอ้ สอบทดี่ ี ขอ้ สอบทตี่ ้องปรับปรงุ ผู้สรา้ งตอ้ งกลบั มาพิจารณาว่าเกิดจากสาเหตุใด ข้อคำถามไม่มีความเป็น ปรนัยหรือไม่ รวมทัง้ พิจารณาท่ีตัวเลือกว่าเปน็ ไปตามหลักการเขียนข้อสอบท่ดี ีหรือไม่ แลว้ จึงปรับแก้และ นำไปทดลองใชอ้ ีกคร้งั 36 เลม่ ท่ี 5 การหาคุณภาพของเครอื่ งมอื วัดและประเมินผล
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่อื งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ ใบกจิ กรรมที่ 2.3 จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้ 1. จงหาความยากและค่าอำนาจจำแนก ของข้อสอบแบบองิ กลุม่ วิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 5 ข้อ ซ่งึ มี จำนวนผู้เขา้ สอบกลมุ่ สงู และกลุ่มตำ่ ท่ีทำถูก ดังน้ี ขอ้ ที่ กลุ่มสูง (30) กลมุ่ ต่ำ (30) p r 1 23 4 2 22 6 3 20 22 4 25 20 5 26 9 2. แบบทดสอบฉบบั หนงึ่ ทดสอบกบั ผสู้ อบ 20 คน กอ่ นทจี่ ะทำการสอน ปรากฏว่า ข้อสอบข้อ หนงึ่ มีผสู้ อบทำถูก 5 คน และเม่อื ทำการสอนแล้ว นำแบบทดสอบฉบับนี้ มาทดสอบกบั ผสู้ อบอกี คร้ังหนึง่ ปรากฏวา่ มผี ้สู อบทำถกู 18 คนจงหาค่าอำนาจจำแนกของขอ้ สอบข้อนี้ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... 37 เลม่ ที่ 5 การหาคุณภาพของเครื่องมือวดั และประเมินผล
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอื่ งมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 3. จงตอบคำถามต่อไปน้ี ให้ท่านวิเคราะห์คุณภาพของขอ้ สอบแบบเลอื กตอบเป็นรายขอ้ โดยการคำนวณคา่ ความยากงา่ ย และ อำนาจจำแนก และพจิ ารณาค่าสถิตทิ ี่ไดจ้ ากการคำนวณในข้อ 1 และตอบคำถามท้ายแบบบันทกึ กจิ กรรม ตอนท่ี 1 ขอ้ สอบแบบเลือกตอบ (ข้อ 1-5) (กลุม่ สูงและกลุ่มตำ่ กลมุ่ ละ 20 คน) จำนวนคน คา่ ความยากงา่ ย ค่าอำนาจจำแนก แปลผล (ผา่ น/ไมผ่ ่าน) p= H+L r= H−L ขอ้ ตวั เลอื ก จำนวนคนกลมุ่ กลุ่มตำ่ ที่ คา่ ค่า สงู ท่เี ลอื ก(H) เลือก (L) 2N N ความยากงา่ ย อำนาจจำแนก (p) (r) 1ก 4 6 ข* 9 3 ค3 5 ง 4 6 2 ก* 11 9 ข2 4 ค3 5 ง4 2 3ก 1 5 ข2 1 ค9 4 ง* 8 10 4ก 7 4 ข7 9 ค* 2 6 ง4 1 5 ก* 12 3 ข2 5 ค5 8 ง1 4 สรปุ 1) ข้อสอบที่มีคุณภาพ คอื ..................................................................................................... 2) ขอ้ สอบทต่ี อ้ งปรับปรุงในเรื่องของความยากง่าย คือ ......................................................... 3) ขอ้ สอบทต่ี ้องปรับปรุงในเรื่องของอำนาจจำแนก คอื ........................................................ 4) ข้อสอบท่ีไม่มคี ุณภาพ คอื ................................................................................................ 38 เล่มที่ 5 การหาคุณภาพของเครื่องมือวดั และประเมินผล
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครือ่ งมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ แผนภูมิ กราฟแสดงตำแหนง่ ของขอ้ สอบแต่ละข้อตามคา่ ความยากง่ายและค่าอำนาจจำแนกท่ีไดจ้ ากการ คำนวณ ค่าความยากง่าย (p) 1.0 0.9 0.8 0.7 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 -1.0 -0.9 -0.8 -0.7 -0.6 -0.5 -0.4 -0.3 -0.2 -0.1 0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 หมายเหตุ บรเิ วณพน้ื ทข่ี องข้อสอบทมี่ คี ุณภาพ ค่าอำนาจจำแนก (r) สรุป 1) ขอ้ สอบทีไ่ ม่มคี ุณภาพคอื ..................................................................................................... 2) ขอ้ สอบทต่ี ้องปรบั ปรุงในเรอื่ งของอำนาจจำแนก คอื ........................................................ 3) ข้อสอบทีต่ อ้ งปรบั ปรุงในเรื่องของความยากง่าย คือ....................................................... 4) ข้อสอบทีม่ ีคณุ ภาพ คอื ............................................................................................... 39 เล่มที่ 5 การหาคุณภาพของเคร่อื งมอื วัดและประเมนิ ผล
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 4 จงตอบคำถามต่อไปน้ี ให้ท่านวิเคราะห์คุณภาพของข้อสอบแบบเขียนตอบ ข้อมูลจากผลการสอบวิชาวิทยาศาสตร์มี จำนวนทงั้ หมด 5 ข้อ คะแนนเต็ม ขอ้ ละ 10 คะแนน นกั เรยี นที่สอบมจี ำนวนทัง้ หมด 40 คน จึงมีกลุ่มสูง และกลุม่ ตำ่ กล่มุ ละ 10 คน ซึ่งเทา่ กับ 25% ของ 40 ตารางท่ี 1 แสดงผลการวเิ คราะหค์ ่าความยากง่ายและค่าอำนาจจำแนก ผสู้ อบ ข้อ 1 2 3 4 5 รวม กลุม่ สูง 1 9 10 10 7 8 44 2 10 9 9 8 8 44 3 9 10 9 7 8 43 4 89 8 9 9 43 5 89 9 8 8 42 6 9 10 7 8 7 41 7 7 10 7 8 8 40 8 7 10 8 8 7 40 9 88 8 7 8 39 10 7 8 8 7 8 38 รวม 82 93 83 77 79 30 กลมุ่ ตำ่ 1 7 5 7 7 4 29 2 64 7 7 5 26 3 56 6 7 2 26 4 64 5 5 6 26 5 54 7 6 4 25 6 34 6 7 5 24 7 44 6 6 4 23 8 24 5 7 5 22 9 43 6 7 2 22 10 2 5 5 8 2 รวม 44 43 60 67 39 p r สรปุ 40 เลม่ ที่ 5 การหาคณุ ภาพของเครื่องมือวดั และประเมนิ ผล
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครื่องมอื วดั และประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ แผนภมู ิ กราฟแสดงตำแหน่งของข้อสอบแต่ละขอ้ ตามค่าความยากงา่ ยและค่าอำนาจจำแนกท่ีได้ จากการคำนวณ ค่าความยากงา่ ย (p) 1.0 0.9 0.8 0.7 0.6 0.5 0.4 0.3 0.2 0.1 -1.0 -0.9 -0.8 -0.7 -0.6 -0.5 -0.4 -0.3 -0.2 -0.1 0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 คา่ อำนาจจำแนก (r) หมายเหตุ บรเิ วณพนื้ ท่ขี องข้อสอบท่มี ีคณุ ภาพ สรุป 1) ขอ้ สอบทไี่ ม่มคี ุณภาพคอื ..................................................................................................... 2) ขอ้ สอบทีต่ ้องปรับปรงุ ในเรอ่ื งของอำนาจจำแนก คือ ........................................................ 3) ข้อสอบท่ีตอ้ งปรบั ปรงุ ในเรอ่ื งของความยากงา่ ย คือ....................................................... 4) ข้อสอบที่มคี ุณภาพ คือ ............................................................................................... 41 เลม่ ท่ี 5 การหาคณุ ภาพของเครือ่ งมอื วัดและประเมินผล
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ ใบความรทู้ ี่ 2.4 สรุปสูตรที่ใชใ้ นการตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือ 1. ความตรงเชิงเนื้อหา จากสูตร IOC ของ Rovinelli and Hambleton (พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2543: 137) IOC = R N IOC แทน คา่ ดชั นีความสอดคลอ้ งระหว่างขอ้ สอบกับจุดประสงค์ (Index of item Objective Congruence) R แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เห็นของผู้เชีย่ วชาญทั้งหมด N แทน จำนวนผูเ้ ชีย่ วชาญท้ังหมด 2. ค่าสัมประสิทธิ์ความเที่ยง ของผู้ตรวจให้คะแนนกระบวนการและผลงานของ Pearson Product Moment Correlation Coefficient จากสูตร (rxy) (ประภาพร ศรีตระกูล, 2549) rxy = N xy − x y [N x2 − ( x)2 ][N y 2 − ( y)2 ] rxy แทน ค่าสมั ประสิทธิส์ หสัมพนั ธ์ในที่น้คี อื คา่ ความเที่ยง N แทน จำนวนผู้สอบ ∑xy แทน ผลบวกของผลคูณคะแนนคร้ังแรกและคร้ังท่ีสองเป็นคู่ ๆ ∑x แทน ผลบวกของคะแนนการสอบครัง้ แรก ∑Y แทน ผลบวกของคะแนนการสอบครง้ั ที่สอง X2 แทน กำลงั สองของคะแนนครงั้ แรก Y2 แทน กำลังสองของคะแนนครั้งท่ีสอง 42 เล่มท่ี 5 การหาคณุ ภาพของเครือ่ งมอื วัดและประเมนิ ผล
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครื่องมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 3. คา่ ความเที่ยง (Reliability) 3.1 การหาความเที่ยงแบบใช้สูตรของ คเู ดอร์รชิ ารด์ สัน K – R 20 กรณกี ารให้คะแนน ถ้าตอบถกู ให้ 1 คะแนน และตอบผิดให้ 0 คะแนน และข้อสอบมคี วามเป็นเอกพันธ์ (Homogeneous) คอื วดั คุณลกั ษณะเดียวกัน ใชส้ ูตร ดังน้ี rt = n n 1 1 − S2tpq − S2t = N X2N−2( X)2 เมอื่ rt คอื สมั ประสิทธขิ์ องความเชือ่ ม่นั ของแบบทดสอบทงั้ ฉบับ n คอื จำนวนขอ้ ของแบบทดสอบ p คอื สัดส่วนของผเู้ รียนทที่ ำข้อสอบขอ้ นน้ั ถูกกับผู้เรียนทงั้ หมด q คอื สดั ส่วนของผู้เรียนที่ทำขอ้ สอบขอ้ นน้ั ผดิ กบั ผู้เรียนท้งั หมด S2t คือ ความแปรปรวนของคะแนนสอบทัง้ ฉบับ N คอื จำนวนผเู้ รยี น 3.2 การหาความเทย่ี งแบบใช้สตู รสมั ประสิทธ์ิแอลฟา ( - Coefficient) ใชก้ บั เครอ่ื งมอื บางประเภท เช่น แบบทดสอบเลอื กตอบ แบบวัดเจตคติ หรอื เปน็ การใหค้ ะแนนแบบ หลายค่าทีม่ ากว่า 1 การหาคา่ ความเทีย่ งใช้สตู รสัมประสทิ ธ์แิ อลฟาของครอนบาค (Cronbach, อ้างถึงใน ชูศรี วงศ์รัตนะ, 2530: 113) ดงั นี้ s2ts2i n n 1 1 − − = เม่ือ คือ ค่าสมั ประสทิ ธิค์ วามเท่ยี งของแบบทดสอบ n คอื จำนวนขอ้ ของแบบทดสอบ S2i คือ ความแปรปรวนของแบบทดสอบรายข้อ S2t คือ ความแปรปรวนของแบบทดสอบทง้ั ฉบับ 43 เลม่ ที่ 5 การหาคณุ ภาพของเครอ่ื งมือวดั และประเมินผล
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ แบบทดสอบหลงั ศกึ ษาชดุ ฝึกอบรม คำชี้แจง ให้ท่านเลอื กคำตอบที่ทา่ นเหน็ ว่าถกู ตอ้ งที่สุดเพียงคำตอบเดยี ว จงใช้ตัวเลอื กต่อไปนต้ี อบคำถามข้อ 1-5 ก. คุณสมบตั คิ วามคงทข่ี องคะแนนทไี่ ดจ้ ากการสอบนกั เรยี นคนเดยี วกนั หลายๆคร้งั ข. คณุ สมบัติท่แี สดงถึงความสามารถของคนเก่งทำได้ คนอ่อนทำไม่ได้ ค. คุณสมบัติของการวัดไดต้ รงตามลักษณะหรือจุดประสงค์ทตี อ้ งการวดั ง. คณุ สมบัติของเครอื่ งมอื ทีส่ ามารถแยกคนเก่งกบั คนอ่อนได้ จ. คณุ สมบัติของเครือ่ งมือทแ่ี สดงถึงความชัดเจนของคำถาม และการตรวจให้คะแนน 1. ความเที่ยงตรง (Validity) คอื ขอ้ ใด (ตอบข้อ ………….) 2. อำนาจจำแนก (Discrimination) คือข้อใด (ตอบข้อ ………….) 3. ความเชอ่ื มัน่ (Reliability) คือขอ้ ใด (ตอบขอ้ ………….) 4. ความยากง่าย (Difficulty) คอื ขอ้ ใด (ตอบขอ้ ………….) 5. ความเป็นปรนยั คือข้อใด (Objectivity) (ตอบข้อ ………….) 6. คุณสมบตั ขิ องเครอื่ งมอื วัดผลในข้อใดทม่ี ีความสำคัญและจำเป็นท่ีสุด 1. ความเชอ่ื ม่ัน (Reliability) 2. ความเทีย่ งตรง (Validity) 3. ความยากงา่ ย (Difficulty) 4. อำนาจจำแนก (Discrimination) คำชี้แจง พิจารณาข้อมลู ทีก่ ำหนดใหต้ ่อไปนแ้ี ลว้ ตอบคำถามข้อ 7 ตาราง ผลการตรวจสอบความสอดคล้องของข้อคำถามกับจุดประสงค์ จดุ ประสงค์ ขอ้ สอบขอ้ ที่ คะแนนความคิดเหน็ ของผเู้ ช่ียวชาญ /มาตรฐาน/ 123 4 5 ตวั ชวี้ ดั 1 +1 +1 0 0 +1 1 2 0 -1 -1 -1 +1 3 +1 0 -1 0 +1 2 4 +1 +1 +1 0 +1 5 +1 -1 0 +1 -1 44 เล่มท่ี 5 การหาคณุ ภาพของเครอื่ งมอื วดั และประเมนิ ผล
Search