ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครือ่ งมือวัดและประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ เลม่ ที่ 3 การสร้างข้อสอบแบบเลอื กตอบ นางสาวนชุ จิรา แดงวันสี สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาสรุ าษฎรธ์ านี เขต 2 สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ เลม่ ที่ 3 การสร้างข้อสอบแบบเลอื กตอบ เอกสาร ศน.ท่ี 48/2562 นางสาวนุชจิรา แดงวนั สี สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสรุ าษฎร์ธานี เขต 2 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครอื่ งมอื วดั และประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ คำนำ การประเมินคุณภาพทางการศึกษาถือเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการศึกษา เคร่ืองมือท่ีใช้เป็นส่วนหน่ึงในการวดั ผลประเมินการศึกษาน่ันคือข้อสอบซึ่งต้องมี ความหลากหลาย สามารถวัดได้ ทงั้ ด้านพุทธิพิสยั ด้านทักษะพิสยั และด้านจิตพสิ ัย ดังน้ัน การสร้าง ข้อสอบท่ีดีจะต้องอาศัยทั้งความรู้ความเข้าใจและการฝึกฝนการสร้างข้อสอบ ซ่ึงชุดฝึกอบรมฉบับนี้ กล่าวถึงคุณสมบัติของข้อสอบแบบเลือกตอบ ข้ันตอนและแนวทางการสร้างข้อสอบ การสร้าง เครื่องมือวัดความรู้ความสามารถของผู้เรียนตามมาตรฐานและตัวช้ีวัดของหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ไปสูการพัฒนาคุณภาพนักเรียน จงึ ได้จัดทำชดุ ฝึกอบรมการสร้าง เคร่ืองมือวัดและประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างขอ้ สอบแบบเลือกตอบ ให้ ครูผู้สอนได้ใช้เป็นชุดฝึกอบรมในการฝึกสร้างข้อสอบ เพื่อนำข้อสอบไปให้นักเรียนฝึกปฏิบัติใน ห้องเรียน ซึ่งจะทำให้นักเรียนมีความคุ้นเคยในการทำข้อสอบ อันจะส่งผลให้นักเรียนสามารถทำ ขอ้ สอบ ONET ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาทักษะการคดิ ต่อไป ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้าง เคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปที ี่ 6 มที ั้งหมด 5 เล่ม ไดแ้ ก่ คูม่ อื การใชช้ ดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครื่องมอื วัดและประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ เล่มท่ี 1 แนวทางการจดั การเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เล่มที่ 2 ความรู้พนื้ ฐานเก่ยี วกบั การวัดและประเมินผล เล่มท่ี 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลือกตอบ เล่มที่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเขียนตอบ เลม่ ที่ 5 การหาคุณภาพของเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผล เอกสารเลม่ นี้ เป็นเอกสารเล่มท่ี 3 ผูจ้ ัดทำหวังว่าชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเองเลม่ นี้ จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพฒั นาครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ สามารถสรา้ งข้อสอบเลือกตอบ สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตัวชีว้ ัด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ขอใหผ้ ู้ศกึ ษาได้ศึกษาใบความรู้และใบกิจกรรมใหค้ รบทกุ ใบกจิ กรรม เพ่ือนำ ความรู้ไปใช้พัฒนาผเู้ รียนใหเ้ กิดประโยชนส์ งู สุดต่อไป เล่มท่ี 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ ก
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครือ่ งมือวัดและประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข คำช้แี จง 1 คำแนะนำในการศึกษา 2 วัตถปุ ระสงค์ 3 ขอบขา่ ยเนือ้ หา 3 แนวคิด 3 สาระสำคญั 4 แบบทดสอบก่อนศกึ ษาชุดฝึกอบรม 5 ใบความรทู้ ี่ 1 ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ 7 ใบกจิ กรรมท่ี 1 12 ใบความรทู้ ่ี 2 แนวคิดทฤษฎคี วามรูข้ องบลูม 13 ใบกิจกรรมท่ี 2 24 ใบความรทู้ ี่ 3 โครงสร้างมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้ีวดั ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 28 ใบกจิ กรรมที่ 3 35 ใบความรู้ที่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ 36 ใบกิจกรรมท่ี 4 40 ใบความรทู้ ่ี 5 การวเิ คราะห์ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ัด ของหลกั สตู ร 41 ใบกิจกรรมท่ี 5 44 ใบความรู้ที่ 6 การวิเคราะห์หลักการเขยี นขอ้ สอบ 51 ใบกิจกรรมที่ 6 56 ใบความรทู้ ่ี 7 ประเภทของข้อสอบแบบเลือกตอบ 57 ใบกจิ กรรมที่ 7 67 ใบความร้ทู ่ี 8 ตวั อย่าง ขอ้ สอบแบบเลือกตอบ 75 แบบทดสอบหลังศึกษาชุดฝกึ อบรม 83 บรรณานุกรม 86 คณะทำงาน 88 เล่มท่ี 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลือกตอบ ข
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 1 คำช้แี จง ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 เลม่ ท่ี 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลือกตอบ เปน็ เอกสารฝึกอบรมใหค้ รูได้ศกึ ษาด้วยตนเอง เพ่ือให้เกดิ ความรู้ ความขา้ ใจและเกดิ แนวคิดในการจัดประสบการณใ์ นห้องเรยี นใหแ้ ก่ผู้เรียน ได้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 2551 อนั จะส่งผล ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เพื่อนำไปสู่แนวทางการปฏิบัติจริง ทุกชุดฝึกอบรมมีเนื้อหาท่ี เกี่ยวข้องกันและต่อเนื่องกัน ผู้ศึกษาควรทำความเข้าใจศึกษาเอกสารโดยละเอียด พร้อมทั้งปฏิบัติตาม คำแนะนำการใช้ชดุ ฝึกด้วยตนเอง ตามขัน้ ตอนดงั ตอ่ ไปนี้ ศกึ ษาภาพรวมเอกสาร/คำแนะนำ ศกึ ษาวัตถุประสงค์ ขอบข่ายเนอื้ หา และสาระสำคญั ศึกษารายละเอยี ดการดำเนินใช้ชดุ ฝึกอบรม ประเมินตนเองดว้ ยการทดสอบกอ่ นใชช้ ุดฝึกอบรม ศกึ ษาใบความรูแ้ ละทำใบกิจกรรม สรุปองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเองดว้ ยผังความคิด ไม่ผา่ น ประเมินตนเองดว้ ยการทดสอบหลงั ฝกึ อบรม ผา่ น ศึกษาเอกสารเลม่ ท่ี 4 แผนภาพ ขน้ั ตอนการศกึ ษาดว้ ยตนเอง เลม่ ที่ 3 การสร้างขอ้ สอบแบบเลือกตอบ
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมอื วดั และประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ 2 คำแนะนำในการศึกษา การศกึ ษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง เร่อื งการสรา้ งข้อสอบแบบเลือกตอบเลม่ นี้ พฒั นาขน้ึ สำหรับครูวิทยาศาสตร์ เพ่ือเป็นแนวทางการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ ผศู้ กึ ษาควรปฏบิ ัติดงั นี้ 1. การเตรยี มตัวเพื่อศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง 1.1 กำหนดเวลาในการศึกษาชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเอง แนวทางการจัดการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ 1.2 ศกึ ษาเอกสารเพ่มิ เตมิ ท่รี ะบุในชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง จะทำใหผ้ ู้ศกึ ษามีความรู้และเข้าใจเรว็ ขนึ้ 2. การศึกษาชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง 2.1 ทำแบบทดสอบก่อนศึกษา และตรวจคำตอบด้วยตนเองจากเฉลยแบบทดสอบโดยให้ คะแนน 1 คะแนน สำหรับคำตอบที่ถกู ตอ้ งและให้ 0 คะแนนสำหรับคำตอบทผี่ ดิ 2.2 ควรอ่านเนือ้ หาสาระในใบความรู้ในแต่ละเล่มอยา่ งน้อย 1 จบ แลว้ สรุปความคิดรวบยอด 2.3 ทำกิจกรรมในใบงานแต่ละตอนและตรวจคำตอบด้วยตนเองจากแนวคำตอบในใบความรู้ โดยใหค้ ะแนน 1 คะแนนสำหรบั คำตอบท่ถี ูกตอ้ ง ให้ 0 คะแนนสำหรบั คำตอบท่ผี ิด 2.4 ทำแบบทดสอบหลังศึกษาชุดฝึกอบรมด้วยตนเองและตรวจคำตอบด้วยตนเองจาก แบบทดสอบโดยให้คะแนน 1 คะแนนสำหรบั คำตอบทถี่ ูกตอ้ ง ให้คะแนน 0 คะแนน สำหรับคำตอบท่ผี ิด 2.5 ใหศ้ ึกษาชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเองตอ่ เนื่องให้จบเลม่ 2.6 ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเองนี้ เปน็ ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเองที่ศึกษาด้วยตนเองได้ทกุ สถานที่ ทุก เวลา 3 การประเมินผล 3.1 ในตอนท้ายของชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง จะมีการประเมินผลเพอื่ วัดความรู้ความเขา้ ใจแล้ว ตรวจสอบคำตอบด้วยตนเองจากเฉลย ใหค้ ะแนน 1 คะแนน สำหรับคำตอบทถ่ี กู และ 0 คะแนน สำหรับ คำตอบทผ่ี ดิ โดยตอ้ งผา่ นเกณฑ์ 80% ขึ้นไป 3.2 เปรยี บเทยี บความแตกต่างของคา่ เฉลีย่ คะแนนกอ่ นศึกษาและหลงั ศกึ ษาชดุ ฝกึ อบรม เล่มท่ี 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครอื่ งมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ 3 วัตถปุ ระสงค์ เมอื่ ศกึ ษาชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเองชดุ นแี้ ลว้ ผู้ศึกษาสามารถ มีความรู้ความเข้าใจและสามารถสร้างขอ้ สอบแบบเลือกตอบ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ได้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา 1. ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ 2. แนวคดิ ทฤษฎีความรูข้ องบลมู 3. โครงสร้างมาตรฐานการเรียนรูแ้ ละตวั ชวี้ ดั ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 4. การสร้างข้อสอบแบบเลอื กตอบ 5. การวิเคราะหม์ าตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั 6. การวิเคราะห์หลกั การเขียนขอ้ สอบ 7. ประเภทของขอ้ สอบแบบเลือกตอบ 8. ตวั อย่างขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ แนวคิด การพัฒนาครูโดยชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง ใช้แนวคิดการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Construction Knowledge) ครูเป็นผู้ศึกษาเรียนรู้และลงมือทำกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Learning by Doing) ไม่มีวทิ ยากรบรรยายให้ความรู้ การปฏิบัติกิจกรรมเป็นไปตามข้ันตอนท่ีออกแบบ ไว้ เป็นขั้นตอนหลักของการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ตามกระบวนการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA MODEL) เริ่มจากการทบทวนความรู้เดมิ ในเรอื่ งที่จะเรยี นรู้ การศกึ ษาหาความรู้เพิ่มเติมจากชุดฝึกอบรม แล้วนำความรู้เดิม ไปเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ก่อนที่จะสรุปความรู้ ความเข้าใจของ ตนเอง เป็นทฤษฎีการเรยี นร้ทู ีเ่ น้นผู้ศึกษาเปน็ ผ้สู รา้ งองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง เลม่ ที่ 3 การสร้างขอ้ สอบแบบเลือกตอบ
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเคร่ืองมอื วดั และประเมินผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 4 ประสบการณ์ใหม่ / ความรใู้ หม่ + ประสบการณเ์ ดมิ / ความรู้เดมิ = องค์ความรูใ้ หม่ โดยเริ่มจากการทบทวนความรู้เดิมในเรื่องที่จะเรียนรู้การศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่ง เรียนรู้ต่างๆนำความเข้าใจข้อมูลเชื่อมโยงความรูเ้ ดิมกับความรู้ใหม่แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ก่อนที่จะสรุปองค์ ความรู้และทำความเข้าใจดว้ ยตนเอง สาระสำคญั การสร้างเครื่องมือวัดผลและประเมินผลนั้นสร้างให้ตรงกับสิ่งที่ต้องการจะวัด ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 ซึ่งข้อคำถาม แบบทดสอบเลือกตอบ ประกอบด้วย 3 สว่ น ไดแ้ ก่ สถานการณ์ คำถาม และตวั เลือก การพฒั นาข้อสอบ ยึดระดับการเรยี นรู้ทางสติปัญญาตามทฤษฎที างความรู้ของบลูม (Bloom Taxonomy) ซึ่งมลี ำดบั ขั้น 6 ขั้น ได้แก่ การจำ การเขา้ ใจ การประยุกตใ์ ช้ การวเิ คราะห์ การประเมนิ ค่า การคดิ สรา้ งสรรค์ เล่มที่ 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเคร่อื งมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ 5 แบบทดสอบกอ่ นศกึ ษาชุดฝึกอบรม คำช้ีแจง ให้ทา่ นเลอื กคำตอบท่ีถกู ตอ้ งท่ีสดุ เพียงคำตอบเดยี ว 1. ขอ้ ดีของขอ้ สอบแบบเลือกตอบ คือสรา้ งขอ้ สอบได้ครอบคลมุ ทกุ เนือ้ หาและพฤตกิ รรมทางสมอง 1. ถูกต้อง 2. ผิด 2. ขอ้ สอบเลอื กตอบมี 4 ประเภท ได้แก่ แบบเลอื กตอบแบบคำตอบเดียว แบบหลายคำตอบ แบบเชิงซอ้ น แบบกลุ่มคำตอบสัมพนั ธ์ 1. ถกู ตอ้ ง 2. ผดิ 3. พฤติกรรมการเรยี นรู้ดา้ นความรู้ ตามแนวคดิ ของบลมู มี 6 ระดับ ไดแ้ ก่ การจำ การเขา้ ใจ การประยุกต์ใช้ การวเิ คราะห์ การสงั เคราะห์ การสรา้ งสรรค์ 1. ถกู ต้อง 2. ผิด 4. การเขียนขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 สว่ น ไดแ้ ก่ สถานการณ์ คำถาม และตวั เลือก 1. ถูกต้อง 2. ผิด 5. ตวั ชีว้ ัดที่วา่ “สำรวจและอภิปรายความสมั พันธ์ของกลุ่มส่ิงมีชีวิตในแหลง่ ท่ีอยตู่ ่าง ๆ” พฤติกรรมท่ี ตอ้ งการวัดและประเมินผลคือ การสำรวจและการอภปิ ราย 1. ถูกตอ้ ง 2. ผิด 6. ข้อใดเปน็ พฤติกรรมทางสติปญั ญาด้านความรู้ ของทฤษฎี Bloom Taxonomy ในระดับการวเิ คราะห์ 1. การจดั ระบบ 2. การวพิ ากษว์ ิจารณ์ 3. การปรบั ปรุง 4. การเปรียบเทยี บ 7. ข้อใดต่อไปน้ี กล่าว ไม่ถูกต้อง เกีย่ วกบั ตวั ชี้วัด ว3.1 ป.6/1 ทดลองและอธบิ ายสมบัติของสารเม่ือ สารเกิดการละลายและเปล่ียนสถานะ 1. พฤติกรรมทีต่ อ้ งการวดั คอื การทดลอง และการอธบิ าย 2. พฤติกรรมที่ตอ้ งการวดั คือสารเกิดการละลายและเปล่ียนสถานะ 3. องค์ประกอบของตัวชว้ี ดั ประกอบดว้ ยพฤตกิ รรมและสถานการณ์ 4. ระดับพฤติกรรมท่ตี ้องการวัดอยู่ในลำดับขั้นการวิเคราะห์ 8. ข้อใด ไม่ใช่ หลกั การสร้างขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ 1. คำถามควรเปน็ สถานการณ์ รูปภาพ หรือกราฟ 2. คำถามควรหลกี เลย่ี งคำถามปฏเิ สธ 3. คำถามตอ้ งถามในระดบั การคิดวเิ คราะหข์ ้นึ ไป 4. ควรใช้คำถามให้เกดิ ความคดิ ทางปญั ญาขั้นสูง เล่มที่ 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลือกตอบ
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครื่องมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 6 9. ตารางสมบตั ิของหนิ ชนิดตา่ ง ๆ สมบตั ิ เนือ้ หนิ มีผลึก เกิด มกี ลิน่ ของหนิ ละเอียด มีรูพรนุ แร่ ปฏกิ ริ ยิ า โคลน ชนิด เม่อื หยด เม่อื หยด ของหิน เกลอื นำ้ A✓ ✓ ✓ ✓ B✓ C✓ D✓ จากข้อมูลในตาราง ควรเลอื กใชห้ นิ ชนิดใดปพู น้ื หอ้ งปฏิบตั กิ ารวิทยาศาสตร์ ก. A ข. B ค. D ง. C คำถามดงั กลา่ วเปน็ ข้อสอบระดบั พฤติกรรมทางสตปิ ัญญาของบลูมขน้ั ใด 1. ความเขา้ ใจ 2. การวิเคราะห์ 3. การประเมนิ 4. การคิดสร้างสรรค์ 10. ขอ้ คำถาม “จากข้อมูลกราฟเส้นตรงของผลการขายรถยนตย์ หี่ ้อหนง่ึ ในประเทศไทย 60000 ยอดขายของรถยนตใ์ นแตล่ ะปี 40000 20000 ปี ยอดรถท่ีจำหนำ่ ย 0 นกั เรยี นคดิ วา่ แนวโนม้ ยอดขายของรถยนต์ในปตี ่อไปจะเปน็ อย่างไร” จากคำถามเป็นพฤติกรรม ขน้ั ใดของบลูม 1. การเขา้ ใจ 2. การประยุกตใ์ ช้ 3. การวิเคราะห์ 4. การประเมินค่า เลม่ ที่ 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเคร่ืองมอื วดั และประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 7 ใบความรทู้ ่ี 1 ความรูท้ างวทิ ยาศาสตร์ 1.ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ( Science) มาจากภาษาลาติน “Scientia” ซึ่งหมายถึงความรู้ (Knowledge) เม่อื นกั วิทยาศาสตร์พบปรากฏการณธ์ รรมชาตอิ ยา่ งใด อย่างหน่ึงในการค้นหาคำตอบ เขาจะตัง้ คำถาม 3 ขอ้ คอื เม่อื นักวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการทาง ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ พบปรากฏการณธ์ รรมชาติ (Science knowledge) (Natural phenomena) วิทยาศาสตร์คน้ หาคำตอบ (Scientific process) จะใชค้ ำถาม มีกระบวนการดงั นี้ ความร้มู ีดงั นี้ -มีอะไรเกิดขนึ้ What question - การสังเกต - ขอ้ เท็จจริง -เกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งไร How question - การวดั - มโนมติ -ทำไมจงึ เกิดขึน้ Why question - การจดั ประเภท - หลกั การ - การคำนวณ - สมมตุ ิฐาน - การควบคมุ ตวั แปร - ทฤษฎี - การตัง้ สมมติฐาน - กฎ - การกำหนดนยิ าม เชงิ ปฏิบตั ิการ - การทดลอง ฯลฯ ดงั น้นั ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ การแสวงหาความรู้จากธรรมชาติ เป็นการศกึ ษาเรอื่ งราว ของปรากฏการณ์ธรรมชาติทั้งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การคิดอย่างมี ระเบียบวิธี (ธีระชัย ปูรณโชติ, 2540) ทำความเข้าใจสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ โดยการสังเกตหรอื การทดลอง เปน็ พ้นื ฐาน การวเิ คราะห์อยา่ งมเี หตผุ ล มีจติ วทิ ยาศาสตร์หรือเจตคติวิทยาศาสตร์ โดยสืบเสาะหาความรู้ เล่มที่ 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลือกตอบ
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครื่องมอื วัดและประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ 8 อย่างไม่หยุดยั้ง (สุวัฒน์ นิยมค้า, 2531; ภพ เลาหไพบูลย์, 2537 ) ความรู้ทางวิทยาศาสตร์จะเกิดขึ้น หลังจากที่ได้มีการใช้กระบวนการแสวงหาความรู้ การสืบค้นตรวจสอบจนน่าเชื่อถือได้ เป็นทฤษฎีทาง วิทยาศาสตร์ในวิทยาศาสตร์แขนงต่าง ๆ ทั้งสาขาวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ ได้แก่ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และ สาขาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เชน่ วทิ ยาศาสตร์สิง่ แวดล้อม วิทยาศาสตร์สุขภาพ รวมทัง้ สาขาวิทยาศาสตร์ อื่น ๆ เช่น สังคมวิทยา จติ วทิ ยา ที่สามารถนำมาใชอ้ ธบิ ายหลกั การได้ 2. ประเภทของวิทยาศาสตร์ ได้มีนกั วชิ าการใหป้ ระเภทของวิทยาศาสตรไ์ วด้ งั น้ี Carin (1993:6-8) ได้จำแนกประเภทความรทู้ างวิทยาศาสตรอ์ อกเปน็ 5 ประเภทคอื ขอ้ เท็จจริง มโนทัศน์ หลกั การ กฎ และทฤษฎี บัญญัติ ชำนาญกิจ (2553) กล่าวว่าความรู้ทางวิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็น ข้อเท็จจริง มโนทัศน์ หลักการ กฎ สมมติฐาน พนั ธุ์ ทองชมุ นมุ (2547: 6-8) ไดก้ ลา่ วถงึ ความรูท้ างวิทยาศาสตรไ์ ว้วา่ มี 4 ประเภทดังนี้ 1. ข้อเท็จจริง เป็นข้อมูลพื้นฐานและถือว่าเป็นความรู้ที่จะนำไปประกอบขึ้นเป็นความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ประเภทอื่น ข้อเท็จจริงได้มาจากการสังเกต การวัด การทดลอง การบรรยาย อย่างมี หลักเกณฑ์ทน่ี ่าเช่อื ถือต่อสถานการณ์หรอื ปรากฏการณ์ธรรมชาติหนึ่งๆ อยา่ งตรงไปตรงมา 2. มโนมติ เป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คือ มโนมติที่มีความถูกตอ้ งต่อสิ่งเร้า เช่น วัตถุสิ่งของ หรือปรากฏการณท์ างธรรมชาตินัน้ ๆ และเป็นรปู แบบของความรู้ที่ถกู จัดกลุ่มขน้ึ เพอื่ อธิบายสิ่งของหรือ ปรากฏการณซ์ งึ่ รปู แบบของมโนมตดิ งั กล่าว จะมีลกั ษณะเป็นมติท่ใี ชส้ ำหรับเรียกชอื่ หรือสำหรบั ใช้เปน็ คำ จำกดั ความ นอกจากนี้ ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ทางธรรมชาติรอบตัวเรา กถ็ ือเปน็ มโนมตทิ ใ่ี ชส้ ำหรับเรียกช่ือ เชน่ ปรากฏการณน์ ้ำขน้ึ น้ำลง ปรากฏการณฝ์ นดาวตก เป็นตน้ 3. หลักการหรอื กฎ เปน็ ความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ทเี่ กดิ จากการผสมผสานกนั ระหว่างความรู้ทีไ่ ด้ จากข้อเท็จจริง และมโนมติ หลักการเป็นคำที่ใช้เรียกความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นใน ธรรมชาติ แต่ถ้าหลักการนั้นได้กล่าวถึงความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ในธรรมชาติเชิงเหตุ จะเรียก ความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์นัน้ ว่า กฎ โดยเฉพาะความสัมพันธใ์ นเชิงเหตุผล และผลที่สามารถเขียน ออกมาในรูปของสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ได้ เช่น จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร์พบว่า สสารทุก ชนิดมแี รงดึงดูดระหว่างมวลซึง่ กันและกัน ปรากฏการณ์ชนดิ นส้ี ามารถเขียนเปน็ กฎและหลักการไดด้ ังนี้ เล่มที่ 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครื่องมอื วัดและประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 9 หลกั การ : สสารจะมแี รงดึงดูดระหวา่ งมวลกระทำซึ่งกนั และกัน กฎ : แรงดงึ ดดู ระหวา่ งมวลของสสารจะมีคา่ แปรผันโดยตรง กบั ผลคูณระหวา่ งมวลท้งั สองและมี ความสมั พันธ์ กับ ระยะทางระหวา่ งวตั ถุกำลงั สอง ซ่งึ แสดงได้ความสมั พนั ธด์ ังนี้ F ∞ m1m2 R2 4. ทฤษฎี ความรู้ที่ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างกฎต่าง ๆ ที่มีอยู่ เช่น ถ้าจะอธิบายต่อไปว่า แรงดึงดูดระหว่างมวลเกิดอะไรขึน้ เกิดจากส่วนใด การจะอธิบายคำถามดังกล่าวนี้ จะต้องอาศัยความรู้ ระดับทฤษฎีจึงจะสามารถอธบิ ายได้ ภาณุเดช หงษาวงศ์ (2548 : 16-24) แบ่งประเภทของความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ออกเป็น 5 ประเภทดงั นี้ 1. ความรู้ทเ่ี ปน็ ขอ้ เท็จจรงิ เป็นความรูจ้ รงิ ทเ่ี กดิ ขึ้นจากการสังเกต การพสิ ูจน์ การทดลอง เป็น ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเหมือนเดิมทุกครั้ง เช่น เมื่อเหล็กได้รับความร้อน ก็จะขยายตัวการที่เป็นสารท่ี สามารถละลายน้ำได้ ชมิ ดจู ะมรี สเค็ม เป็นตน้ 2. ความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอด ในทางวิทยาศาสตร์นั้นมองในแง่ของความสัมพันธ์ของ ข้อเท็จจริงเมื่อนำมาผสมผสานเข้าเป็นรูปแบบใหม่ ก็จะเกิดความคิดรวบยอดต่อสิ่งนั้นได้ หรือเป็น ความคิดโดยสรุป ที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง หรือปรากฏการณ์ใด ๆ ในบางครั้งความคิดรวบยอดก็อาจเกิดขึ้น จากสิ่งทม่ี องไมเ่ ห็นก็ได้ แตต่ ้องมหี ลกั ฐานสนบั สนุนวา่ เป็นจริง 3. ความรทู้ เี่ ป็นความจรงิ เป็นความคิดรวบยอดทีไ่ ดก้ ลนั่ กรองมาแลว้ และเป็นความคิดรวบยอด ทีท่ ุกคนเขา้ ใจตรงกัน และทดสอบแล้วใหไ้ ด้ผลอย่างเดยี วกนั 4. ความรู้ที่เป็นทฤษฎี เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากการใช้ขอ้ ความอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ เช่น กฎ หลักการ ซึ่งตอ้ งอาศยั ทฤษฎีช่วยในอธิบายกฎ และหลกั การอธิบายตวั มันเองไมไ่ ด้ ฉะนั้นในการอธบิ ายกฎหรือ หลักการ วา่ ทำไมถงึ เป็นอย่างน้ันอย่างนี้ ต้องอาศัยทฤษฎีเข้ามาอธิบาย 5. ความรทู้ ี่เป็นกฎ เปน็ หลกั การทเ่ี กี่ยวขอ้ งหรือสัมพันธร์ ะหว่างเหตกุ บั ผล กฎ จะมีความจริงใน ตัวของมันเอง ซึ่งสามารถทดสอบที่ให้ผลตรงกันทุกครั้ง หากกฎใดเมื่อทดสอบได้ว่าผลไม่ตรงกันหรือไม่ เปน็ ความจรงิ กฎน้ันจะถูกล้มเลกิ ไปเชน่ กฎอารคมิ ีดิส เลม่ ท่ี 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมือวัดและประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 10 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกล้าธนบุรี (2562) สามารถจดั ไว้เปน็ หมวดหมู่ เปน็ ความรู้ เกี่ยวกบั ขอ้ เทจ็ จริง แนวคดิ และทฤษฎี ตามหลักของธรรมชาตสิ าขาวทิ ยาศาสตร์ ได้แก่ ความรู้ด้าน เนื้อหาระบบทางกายภาพ (Psychical System) ระบบสิง่ มชี วี ิต (Living System) ระบบของโลกและ อวกาศ (Earth and Space System) แสดงรายละเอยี ดดงั น้ี 1. ระบบทางกายภาพ (physical System) ใช้ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของสสาร เช่น แบบจำลองอนุภาค และพันธะสมบัติของสสาร เช่น การเปลี่ยนสถานะการนำความร้อนและการนำไฟฟา้ การเปล่ยี นแปลงทางเคมี เชน่ ปฏิกริ ยิ าเคมี การถ่ายโอนพลงั งาน และกรด-เบส การเคลอ่ื นทแี่ ละแรง เช่น ความเร็วและความเสียดทานแรงที่เกิดขึ้น เมื่อวัตถุอยู่ห่างกัน เช่น แรงแม่เหล็ก แรงโน้มถ่วง และแรง ไฟฟา้ สถติ พลังงานและการเปล่ียนรปู พลงั งาน เชน่ การอนรุ กั ษ์พลงั งาน การสญู เสียพลังงานและปฏกิ ริ ิยา เคมี การปฏสิ ัมพันธร์ ะหว่างพลังงานและสสาร เช่น คลืน่ แสง คล่ืนวิทยุ คลื่นเสยี ง คลน่ื แผ่นดนิ ไหว 2. ระบบสง่ิ มีชีวิต (Living System) ใชค้ วามรู้เกีย่ วกบั เซลล์ เชน่ โครงสรา้ งและหนา้ ที่ DNA ของพชื และสตั ว์ แนวความคดิ ของสิง่ มีชวี ิต เชน่ ส่งิ มีชีวิตเซลล์เดียว และส่งิ มีชีวิตหลายเซลล์ มนุษย์ เช่น สขุ ภาพโภชนาการระบบต่าง ๆ ของร่างกาย ซง่ึ รวมทั้ง การยอ่ ย การหายใจ การหมุนเวียนเลือด การขับถ่าย การสบื พนั ธุ์ และความสัมพันธ์ของระบบตา่ ง ๆ ประชากร เชน่ สายพนั ธ์ุ การวิวัฒนาการ ความหลากหลายทางชีววิทยา และความแปรผันทางพันธุกรรม ระบบนิเวศ เช่น โซ่ อาหาร การถ่ายทอดพลังงาน ไบโอสเฟียร์ เช่น ประโยชน์ที่ได้รับจากระบบนิเวศ และ ความยั่งยืนของ ระบบนิเวศ 3. ระบบของโลกและอวกาศ (Earth and space systems) ใชค้ วามรเู้ กี่ยวกับโครงสรา้ งของ โลกทั้งระบบพื้นดนิ พื้นน้ำ และบรรยากาศ พลังงานในระบบโลก เชน่ แหลง่ พลงั งาน และภูมิอากาศของ โลก การเปลี่ยนแปลงในระบบโลก เช่น การเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค วัฏจักรธรณี เคมี และแรงดึง ประวัตศิ าสตรข์ องโลก เช่น ฟอสซิล และการกำเนดิ และววิ ัฒนาการของโลก โลกในอวกาศ เชน่ ความโน้มถว่ งระบบสรุ ยิ ะ และกาแล็กซี ประวตั ศิ าสตร์ และขนาดของจกั รวาล เช่น ปีแสง และทฤษฎี บกิ แบง ดังนั้นสรุปได้ว่า ความรู้วิทยาศาสตร์หมายถึง องค์ความรู้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ได้มาโดย อาศัยกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์เพือ่ ใหไ้ ด้มาของความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ อยา่ งมีเหตุผลและมีข้ันตอนที่ สามารถตรวจสอบได้ แบ่งความรวู้ ิทยาศาสตร์เปน็ 6 ประเภท เล่มท่ี 3 การสร้างขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครื่องมอื วัดและประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 11 1. ขอ้ บเทจ็ จรงิ (Fact) 2. ความคดิ รวบยอดหรอื มโนมติ (Concept) 3. หลักการ (Principle) 4. สมมตฐิ าน (Hypothesis) 5. ทฤษฎี (Theory) 6. กฎ (Law) เลม่ ท่ี 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลือกตอบ
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 12 ใบกจิ กรรมท่ี 1 ...จากท่านไดศ้ กึ ษาใบความรแู้ ล้ว ลองตอบคำถามนะคะ........ จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. ความรวู้ ทิ ยาศาสตร์หมายถงึ อะไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ มีก่ีประเภท ไดแ้ กอ่ ะไรบา้ ง จงอธบิ าย ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 3. ใหท้ า่ นชมคลิปวดี โี อ http://gg.gg/jqjsn นี้ ท่านมคี วามคดิ เหน็ อย่างไร เกย่ี วกับวทิ ยาศาสตร์ กบั การดำรงชวี ิตในปัจจุบนั ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ เลม่ ที่ 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมือวดั และประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ 13 ใบความรทู้ ี่ 2 แนวคิดทฤษฎีความรขู้ องบลมู สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้กำหนดกรอบการวิเคราะห์เป็นแนวทาง เชื่อมโยงและความสอดคล้องจากการวิเคราะห์ตัวชี้วัด ตามมาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เพอื่ ระบสุ ดั ส่วนพฤตกิ รรมการเรียนรู้ที่เปน็ เป้าหมายการจัดการเรียนรู้ แบบอิงมาตรฐาน (Standard based learning) โดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้ตามทฤษฎีของบลูม (Bloom’s Taxonomy, 1956) และ Bloom’s Revised Taxonomy, 2001 Anderson & Krathwohl, 2001 อ้างองิ ใน สำนักทดสอบทางการศึกษา, 2561 พฤติกรรมการเรียนรู้ที่ปรากฏในมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แบ่งเป็น 3 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้ (Knowledge: K) ด้านคณุ ลักษณะ (Attribute: A)และด้านกระบวนการและทักษะ (Process and Skill: P) วิธกี ารวดั และประเมินผลผเู้ รียน ความรคู้ วามสามารถทางสมอง องคค์ วามรตู้ ามตัวชี้วดั (Knowledge) ทักษะกระบวนการ ข้นั ตอน/ วธิ ีการ/หลกั การ/ (Process Skill) กระบวนการตามตัวชว้ี ัด คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ พฤติกรรมทแ่ี สดงออก (Attribute) ตามตวั ชว้ี ดั เล่มท่ี 3 การสร้างข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอื่ งมอื วัดและประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 14 1. ดา้ นความรู้ (Knowledge: K) 1.การจำ ความสามารถ (Remembering) ในการระลึกได้ 2.การเข้าใจ ความสามารถใน (Understanding)) การแปลความหมาย 3.การประยุกต์ใช้ ความสามารถใน (Applying) การนำไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่ 4. การวิเคราะห์ (Analyzing) ความสามารถใน การแยกความรูเ้ ปน็ 5) การประเมนิ คา่ ส่วนๆ (Evaluating) ความสามารถใน 6) การคดิ สรา้ งสรรค์ การตดั สนิ ตีค่า (Creating) เปรยี บเทียบผล ความสามารถในการออกแบบ การสร้างผลผลิตทไ่ี ม่เหมือนใคร ภาพ พฤตกิ รรมการเรยี นรดู้ า้ นความรู้ ตามแนวคิดของบลูม เล่มท่ี 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครื่องมอื วดั และประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ 15 2. ด้านกระบวนการและทักษะ ทักษะการสือ่ สาร (Process and Skill: P) ทักษะการฟงั การพดู การอ่านและการเขียน ทักษะและ กระบวนการทำงาน การกำหนดและควบคุมตัวแปร การคำนวณ ทกั ษะและกระบวน ความสมารถในการแก้ปญั หา การจัดทำและสือ่ ความหมายขอ้ มูล การจำแนก การคณิตศาสตร์ การให้เหตุผล การสือ่ สาร การตั้งสมมติฐาน การตีความหมายข้อมูล สอื่ ความหมาย นำเสนอ การทดลอง การกำหนดนยิ ามเชิงปฏบิ ตั ิ กระบวนการทาง การพยากรณ์ การลงความเห็นขอ้ มลู การวัด วิทยาศาสตร์ การตั้งประเด็นทจ่ี ะศึกษา การสังเกต การหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติ สบื ค้นและรวบรวมข้อมูล กบั มิติและมิตกิ บั เวลา กระบวนการวธิ กี าร การวิเคราะหแ์ ละตีความข้อมลู ทางประวัตศิ าสตร์ ทางประวัตศิ าสตร์ การคัดเลือก การทำความเข้าใจปญั หา วางแผน และประเมินข้อมลู การเรยี บเรยี ง ออกแบบแกป้ ัญหา ดำเนินการตาม กระบวนการคดิ แผน สรุปและตรวจสอบการ แก้ปัญหา รายงาน ขอ้ เทจ็ จรงิ แกป้ ญั หา ทางประวตั ศิ าสตร์ ทกั ษะการปฏบิ ตั ิงาน การเขา้ ใจและใชร้ ะบบ เทคโนโลยี เลือกและใชโ้ ปรแกรม ประยุกตอ์ ยา่ งเหมาะสม การวิเคราะหง์ าน การวางแผน ทักษะการใช้ การทำงาน ลงมือทำงาน เทคโนโลยี ประเมินผลการทำงาน ภาพ พฤติกรรมการเรียนรู้ดา้ นกระบวนการและทกั ษะ ตามแนวคดิ ของบลมู เล่มท่ี 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 16 คนดี 3.ด้านคณุ ลกั ษณะ คนมคี วามสขุ (Attribute: A) คนทปี่ ฏิบัติตนอย่บู น คนทีม่ ีสขุ ภาพร่างกาย พืน้ ฐานความถูกตอ้ ง คนเกง่ แข็งแรงและสุขภาพจิตดี เหมาะสม มีคุณภาพ มี คนทม่ี สี มรรถนะและ จติ ใจเข้มแขง็ จติ ใจท่ีดงี าม มี สมรรถภาพสูงใน มมี นษุ ยสัมพนั ธ์ท่ีดี คณุ ธรรมจรยิ ธรรม สามารถดำรงชวี ิตได้ มคี ณุ ลกั ษณะอันพึง การดำเนินชีวิต โดยมี อยา่ งพอเพยี งตาม ประสงค์ทั้งด้าน ความสามารถพิเศษ พฤตกิ รรม และจิตใจ อตั ภาพ รอบด้าน ภาพ พฤติกรรมการเรยี นรู้ด้านคณุ ลกั ษณะ ตามแนวคิดของบลูม 2.1 พฤตกิ รรมการเรยี นร้ตู ามแนวคดิ ทฤษฎคี วามรู้ของบลูม พฤติกรรมการเรียนรู้ด้านความรู้ ตามแนวคิดของบลูม (Bloom Taxonomy’s Revised) เป็น พื้นฐานในการศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ปัจจุบันพฤติกรรมการเรียนรู้ มีการปรับปรุงใหม่ โดย Anderson and Krathwohl และคณะ ปี 2001 ได้ปรบั ปรุงกลมุ่ พฤตกิ รรมข้นึ มาใหม่และสะท้อนผลงาน ในศตวรรษท่ี 21 แสดงรูปภาพที่เป็นตัวแทนของคำกริยาใหม่ที่มีความเกี่ยวเนื่องกับ Bloom’s Taxonomy ทเ่ี ราคนุ้ เคยมานาน โดยการปรบั ปรงุ ลำดบั ขัน้ ทางสตปิ ญั ญาของบลมู ทไ่ี ดเ้ สนอไว้ คอื เปลี่ยน ชื่อที่เรียกในแต่ละระดับความรู้ ความคิด จากคำนามเป็นกิริยาเพื่อสะท้อนความเป็นกระบวนการของสมอง หรือสติปญั ญา ท่ชี ่วยให้มนุษยเ์ กดิ ความรู้ (พศิ ษิ ฐ ตณั ฑวณิช, 2557) แสดงดงั ภาพประกอบดังน้ี เลม่ ท่ี 3 การสร้างขอ้ สอบแบบเลือกตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครอื่ งมือวัดและประเมนิ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 17 ภาพประกอบ: พฤติกรรมทางสมองที่สำคัญต่อการเรียนรู้ตามแนวคิด ทฤษฎี ความรู้ ของบลมู ตามแนวคดิ เดมิ และท่ีปรบั ปรงุ ใหม่ (สำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา, 2561) กระบวนการทางปัญญา เป็นพฤติกรรมที่เกี่ยวกับสติปัญญาด้านความรู้ ความสามารถใน การคิด เรื่องราวต่าง ๆ และการใช้สติปัญญาของมนุษย์โดยผ่านกระบวนการทางสมอง ซ่ึง ประกอบด้วย ความรู้ที่เป็นข้อเท็จจริง ความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอด ความรู้เกี่ยวกับวิธีและ กระบวนการ และความรู้ที่เกี่ยวกับทักษะหรือกระบวนการความคิดของตนเอง (อภิปัญญา) โดย ดา้ นความรสู้ ่วนใหญจ่ ะยึดตามแนวคิดทฤษฎีทางความรู้ของบลมู (Bloom Taxonomy) ซงึ่ สามารถ อธิบายไดด้ งั นี้ เล่มท่ี 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลือกตอบ
ชุดฝึกอบรมดว้ ยตนเชอุดงฝกึกาอรบสรรมา้ งดเว้คยรตือ่ นงมเออื งวดักแารลสะรป้ารงะเคเ การจำ หมายถึง ความสามารถในการระลกึ ได้ การจำได้ถึง ข้อมูลสารสนเทศ เหตุการณ์ ที่เก็บไว้ในสมอง เช่น ความรู้ด้านเน้อื หา ศพั ท์ นยิ าม ความรู้เก่ยี วกับความจริง ข้อเท็จจริง ความรู้เกี่ยวกับวิธีดำเนินการ การจัดระบบ วิธีการแสวงหาความรู้และลำดับขั้นตอน เช่นความรู้ เกี่ยวกับประเพณี วัฒนธรรม ธรรมเนียม ลำดับขั้นตอน เรื่องใดเรื่องหนึ่ง เกณฑ์ต่าง ๆ ความคิดรวบยอด หลัก วิชาการทฤษฎี เป็นตน้ พฤตกิ รรม สัตวน์ ้ำชนดิ รจู้ กั จำได้ นกั เรยี นเข จัดทำรายการ การเปลยี่ น อธบิ าย นักเรียนระ การระบุ สตั วน์ ำ้ แตก บอกความแตกตา่ ง ภาพ ตัวอย่าง 3 การสร้างขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
คเมริน่ือผงมลือววชิ ดั าแวลิทะยปารศะาเสมตนิ รผ์ ล วิชาวิทยาศาสตร์ 18 การจำ (Remembering) พฤติกรรมที่บ่งชี้ ได้แก่ นักเรียนสามารถ ในการจำได้ บอก/ระบุชื่อได้ บงชี้ บรรยาย เลือก การแสดงรายการได้ การบอก ตำแหน่ง การให้สัญลกั ษณ์ ยกตัวอย่าง บอก ความสัมพันธ์ การจัดกลุ่ม คัดเลือก อธิบาย ใต้รูปภาพ เรียงลำดับ จับคู่ บันทึกข้อมูล ทบทวน อ้างองิ เรียงลำดับ เป็นตน้ ตัวอย่างคำถาม ดใดบา้ งออกลกู เปน็ ตวั ขยี นรายการสารทีน่ ำไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน นแปลงสถานะของสารเกิดขนึ้ ไดอ้ ย่างไรจงอธิบาย ะบุประเภทของใบเล้ียงเด่ียวและใบเลี้ยงคมู่ าท้ังหมด กตา่ งกับสัตว์บกอย่างไรบา้ ง งระดับพฤติกรรมทางสติปัญญาของบลูมขน้ั การจำ เล่มที่ 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ เล่มท่ี
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอชงดุ กฝากึรอสบร้ารงมเดคว้ร่อืยตงมนอื เอวงัดแกลาะรปสรร้าะงเ การเข้าใจ หมายถงึ ความสามารถทาง สมองในการแปลความหมาย การสร้าง ความหมาย สรา้ งความรจู้ ากสื่อหรือ เครื่องมอื ทางการศกึ ษาด้วยตนเอง การเข้าใจ (Un พฤติกรรม จากขอ้ ความเร่ืองภัยธรรม การสรปุ ความ จงอธิบายกราฟ ปรมิ าณออ การแปลความหมาย จงวาดรูประบบย่อยอาหาร จงเปรียบเทยี บการเจรญิ เต การเปรียบเทยี บ จงอธบิ ายว่าหวั ใจมีความเห จงอธิบายการเปลย่ี นแปลง อธบิ าย วาดแผนผงั อธบิ ายความดัน จากภาพวงจรชวี ิตของผีเส บรรยาย ภาพ ตวั อย่างระดับพฤติกรรม 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลือกตอบ
งเมเคินรผ่ือลงมวือิชวาัดวแทิ ลยะาปศารสะเตมรนิ ์ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 19 พฤติกรรมที่บ่งช้ี ได้แก่ ผู้เรียนอธิบายความหมาย สารสนเทศ โดยการแปลความหมาย ตีความ และขยาย ความสิ่งที่เคยเรียน ยกตัวอย่าง สรุปอ้างอิง การเรียบเรียง ใหม่ การจำแนกหมวดหมู่ ให้คำจำกัดความ แปล ความหมาย ประมาณค่า เขียนข้อความ ใหม่ อภปิ ราย nderstanding) ตวั อยา่ งคำถาม เลม่ ท่ี มชาติ นกั เรยี นสามารถสรปุ สาระสำคญั ไดอ้ ยา่ งไร อกซเิ จนที่พบในนำ้ กับจำนวนส่ิงมชี ีวติ ทีพ่ บ รของมนุษย์ ติบโตของต้นดาวเรอื ง 2 แหง่ ทไ่ี ด้รับแสงและไมไ่ ดร้ ับแสง หมอื นกบั ปมั๊ น้ำอยา่ งไร งสถานะของสารประกอบต่อไปนี้ นความดันอากาศส่งผลอย่างไรต่ออากาศ ส้ือให้นักเรียนบรรยายรายละเอียด มทางสติปัญญาของบลูมขน้ั การเข้าใจ เล่มท่ี 3 การสร้างขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
ชุดฝกึ อบรมดว้ ยตนเอชงุดกฝากึ รอสบรร้ามงเดคว้ รยอื่ ตงนมเอื อวงดั กแาลระสปรร้าะงเเ การประยุกต์ใช้ หมายถึง การประยุกต์ใช กระบวนการทางสมองในการใช้ กระบวนการท่ีได้เรียนรู้มาใช้ใน สถานการณ์ใหม่หรือคล้ายคลึง กัน ความสามารถในการ นำไปใช้ ประยุกต์ใช้ แก้ไข ปญั หาในสถานการณต์ ่าง ๆ พฤตกิ รรม นักเรียนสามารถใชค้ วามรู้ในการแก้ปญั การนำไปปฏิบตั ิ ถ้านกั เรียนจะขนลงั ทีม่ นี ้ำหนกั มาก ๆ การลงมือทำ จงยกอาหารท่ีมคี ณุ ค่าและราคาถกู ในช ออกแบบการทดลองเก่ียวกบั การศกึ ษ การนำไปใช้ ถา้ นักเรียนตอ้ งการแยกขยะแลว้ สามา จงอธิบายกราฟของผลการทดลองการ การจดั การ การแปลความหมาย ภาพ ตัวอย่างระดับพฤติกรรมทาง 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
เเมคนิรื่อผงลมวือชิวาดั วแิทลยะาปศราะสเตมรนิ ์ ผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 20 พฤติกรรมที่บ่งช้ี ได้แก่ ผู้เรียนใช้ ความรู้และประสบการณ์จากที่เคยเรียนมา ก่อนไปใช้ในการลงมือปฏิบัติหรือแก้ไข ปัญหาการจัดการ การคำนวณ การคาดคะเนเหตกุ ารณ์ ช้ (Applying) ตัวอยา่ งคำถาม ญหาไดอ้ ยา่ งไร จะต้องทำอย่างไร ชีวติ ประจำวันและอธบิ ายดว้ ยว่ามีคณุ ค่าต่อร่างกายอยา่ งไร ษาการสังเคราะห์แสงของพชื ารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ นักเรียนจะจัดการอย่างไร รเกดิ ปฏิกิริยาระหว่างโลหะกบั กรด งสตปิ ญั ญาของบลูมขั้นการประยุกตใ์ ช้ เลม่ ที่ 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ เลม่ ที่
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอชงุดกฝึการอสบรรา้ มงดเคว้ รยอ่ื ตงนมเอือวงดั กแาลระสปรร้าะงเเ การวเิ คราะห์ หมายถงึ ความสามารถในการแยก ความรู้ออกเปน็ ส่วนๆ แตกองคป์ ระกอบเน้อื หาสู่ สว่ นประกอบย่อยและเข้าใจวา่ แตล่ ะส่วนสัมพันธ์ กันอยา่ งไร รวมถึงโครงสรา้ งในการสร้างภาพรวม ดว้ ย การวิเคราะ พฤตกิ รรม จงเรียงลำดับการจดั ร การจัดระบบ นักเรยี นมีวธิ ีการใดบ การสบื เสาะ สบื สวน พชื มีการเจรญิ โต จงใ การให้เหตุผล การอ้างเหตุผล นักเรียนบอกความแต จำแนกความแตกตา่ ง พฤติกรรมใด เปน็ กา การตีคา่ ภาพ ตัวอย่างระดบั พฤตกิ รรมท 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
เเคมรินื่อผงลมวอื ชิวาัดวแทิ ลยะาปศราะสเมตนิร์ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 21 พฤตกิ รรมทีบ่ ่งช้ี ได้แก่ ผูเ้ รียนย่อยความรู้ หรือขอ้ มูลสารสนเทศออกเป็นส่วนยอ่ ย เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ขอ้ มูล สารสนเทศนัน้ อย่างลึกซ้ึง เปรียบเทยี บ แยกแยะเพ่อื หาส่วนยอ่ ย ๆ ของเหตุการณ์ ได้แก่ อธบิ ายลกั ษณะ การจัดการทดลอง แยกกลุ่ม คำนวณ วิพากษ์ วจิ ารณ์ ลำดบั เรอื่ ง ทำแผนผงั หาความสมั พนั ธ์ ะห์ (Analyzing) ตัวอย่างคำถาม เล่มท่ี ระบบในร่างกายจากหน่วยเล็กไปหาหนว่ ยใหญใ่ หถ้ กู ตอ้ ง บ้างในการทำน้ำใหส้ ะอาด ให้เหตผุ ลสนบั สนุน ตกตา่ งระหวา่ งกบกบั ปลามาตามเกณฑ์ทนี่ ักเรียนกำหนด ารอนุรักษส์ ิ่งแวดลอ้ ม ทางสติปญั ญาของบลูมขน้ั การวเิ คราะห์ เลม่ ท่ี 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลือกตอบ
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเชอดุ งฝกกึ าอรบสรรมา้ ดงเว้ คยรตื่อนงเมออื งวกัดาแรลสะรปา้ รงะเคเ การประเมินคา่ หมายถึง ความสามารถ ทางสตปิ ญั ญา เกย่ี วกับการตรวจสอบ และการวพิ ากษต์ ่าง ๆ การตดั สนิ คุณค่าบนพ้ืนฐานของเกณฑ์และ มาตรฐาน การประเมนิ คา่ (Ev พฤติกรรม ภาชนะบรรจุแกงส้ม ภาชน การตรวจสอบ ถ้าทอ้ งฟ้ามดื ครม้ึ แลว้ ฝนจะ ตั้งสมมติฐาน ทำไมจงึ ควรรบั ประทานอาห วพิ ากษว์ จิ ารณ์ ทดลอง นกั เรียนคนหนึง่ ทำการทดล เทา่ ๆกนั เพ่อื ทดลองเรอ่ื งอ ตดั สิน นักเรียนสามารถตดั สินคณุ ค ภาพ ตัวอย่างระดบั พฤติกรรมทางส 3 การสร้างข้อสอบแบบเลอื กตอบ
คเมรื่อินงผมลอื ววชิดั าแวลิทะยปารศะาเสมตินรผ์ ล วิชาวิทยาศาสตร์ 22 พฤติกรรมที่บ่งชี้ ได้แก่ ผู้เรียนสามารถ ตรวจสอบ อภิปราย ตัดสินใจ วิพากษ์วิจารณ์ คัดเลือกหรือประเมินค่า อย่างสมเหตุสมผล และน่าเชื่อถือ ให้ คะแนน เปรียบเทียบผล ตีค่า สรุป แนะนำ ตดั สนิ ใจ คัดเลอื ก valuating) ตวั อย่างคำถาม เล่มท่ี ะควรมีคณุ สมบัติอย่างไร ะตก นกั เรียนคดิ ว่าเป็นเชน่ นน้ั หรอื ไม่เพราะเหตุใด หารท่ีทำเสรจ็ ใหมๆ่ ลอง ใส่หนิ อา่ นชนิ้ เล็กๆในนำ้ บรสิ ุทธแ์ ละนำ้ อดั ลมอย่างละ อะไร ค่าของนำ้ อัดลมและนำ้ บรสิ ทุ ธไิ์ ด้อยา่ งไร งสตปิ ญั ญาของบลูมข้นั การประเมนิ ค่า เล่มที่ 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอชงุดกฝาึกรอสบร้ารงมเดค้วรย่อื ตงมนือเอวงัดแกลาะรสปรร้าะงเ ก า ร ค ิ ด ส ร ้ า ง ส ร ร ค ์ ห ม า ย ถึ ง ความสามารถในการออกแบบ (Design) การสรา้ งผลผลติ ทไ่ี มเ่ หมอื น ใคร การคดิ สร้างสรร พฤตกิ รรม ให้นกั เรยี นออกแบบหอ้ งนอนทนี่ ัก ใหน้ กั เรยี นนำเสนอวธิ กี ารสร้างหนุ่ ออกแบบ ตั้งสมมตฐิ านเพ่ืออธิบายวา่ ทำไมพชื สรา้ งส่งิ ใหม่ นกั เรยี นเขยี นขัน้ ตอนการวางแผนก วางแผน จงบอกวธิ ปี รบั ปรงุ ดินใหเ้ หมาะกบั ก ปรับปรงุ จากขอ้ มลู ของกราฟเสน้ ตรง นักเรยี พยากรณ์ ภาพ ตวั อย่างระดบั พฤตกิ รรมทาง 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลือกตอบ
งเเมคินรผื่อลงมวอื ชิ วาดั วแิทลยะาปศราะสเตมริน์ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 23 รค์ (Creating) พฤติกรรมที่บ่งชี้ ได้แก่ นักเรียน สามารถออกแบบ (Desing) วางแผน ผลิต ประดษิ ฐ์ พยากรณ์ ทำนาย สร้าง สูตร จินตนาการสิ่งใหม่ๆ โดยใช้ ประสบการณ์เดิมเป็นฐานคิด สร้างส่ิง ใหม่ หรือผลิตภัณฑ์ ชิ้นงานที่แปลก ใหม่ ตวั อย่างคำถาม เล่มที่ กเรยี นคิดวา่ เหมาะสมและถูกสขุ ลักษณะ นยนต์ใหมท่ แี่ ตกต่างไปจากหุ่นยนต์เดมิ ชต้องการแสง และนำ้ การแกป้ ัญหา การปลกู ข้าว ยนคดิ ว่าแนวโน้มในปตี อ่ ไปจะเปน็ อย่างไร งสติปญั ญาของบลูมข้ันการสร้างสรรค์ เลม่ ที่ 3 การสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 24 ใบกจิ กรรมที่ 2 คำชีแ้ จง จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี ...จากทา่ นไดศ้ ึกษาใบความรู้ แล้วลองตอบคำถามนะคะ........ 1.จงบอกพฤตกิ รรมที่บง่ ชี้ระดบั พฤตกิ รรมทางสติปัญญาของบลมู ท้งั 6 ขนั้ ระดับการเรียนรู้ พฤตกิ รรมทบ่ี ่งช้ี K1 (การจำ) K2 (การเขา้ ใจ) K3 (การประยุกต์ใช้) K4 (การวเิ คราะห์) K5 (การประเมินค่า) K6 (การสรา้ งสรรค์) เล่มท่ี 3 การสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอื่ งมือวดั และประเมินผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 25 ใบกจิ กรรมที่ 2 (ต่อ) 2.จงตวั อย่างคำถามที่แสดงถึงพฤตกิ รรมระดับตามแนวคดิ ทฤษฎีความรู้ของบลมู 6 ข้ัน 1.การจำ พฤติกรรม คำถาม 1. จำได้ 2. บอก/ระบุช่ือ 3. การบอกตำแหน่ง 4. การให้สัญลักษณ์ 5. ยกตวั อยา่ ง 2.การเข้าใจ คำถาม พฤติกรรม 1. การสรุปความ 2. การเปรยี บเทยี บ 3. อธบิ าย 4. บรรยาย 5. ยกตัวอย่าง เลม่ ที่ 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลือกตอบ
ชุดฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมือวัดและประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 26 3.การประยุกต์ใช้ ใบกิจกรรมที่ 2 (ต่อ) พฤตกิ รรม คำถาม 1. การนำไปปฏิบัติ 2. การลงมอื ทำ 3. การจดั การ 4. การแปลความหมาย 5. แก้ไขปัญหา 4.จงตัวอย่างของคำถามท่แี สดงถึงพฤติกรรมระดับการวิเคราะห์ พฤตกิ รรม คำถาม 1. การจัดระบบ 2. การสบื เสาะ สบื สวน 3. การอา้ งเหตุผล 4. จำแนกความ แตกต่าง 5. การตีคา่ เล่มท่ี 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครอื่ งมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ 27 ใบกิจกรรมที่ 2 (ต่อ) 5. จงตัวอย่างของคำถามทีแ่ สดงถึงพฤติกรรมระดับการประเมนิ คา่ พฤตกิ รรม คำถาม 1. การตรวจสอบ 2. ตั้งสมมตฐิ าน 3. วพิ ากษว์ ิจารณ์ 4. ทดลอง 5. ตดั สิน 6.จงตวั อย่างของคำถามทแ่ี สดงถงึ พฤติกรรมระดับการคิดสรา้ งสรรค์ พฤตกิ รรม คำถาม 1. ออกแบบ 2. สรา้ ง 3. วางแผน 4. ปรบั ปรุง 5. พยากรณ์ ใหท้ ่านศกึ ษาใบความรูถ้ ัดไปเลยค่ะ.... เล่มที่ 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมือวดั และประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 28 ใบความรทู้ ่ี 3 โครงสรา้ งมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด ระดับชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 6 มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้วี ดั มาตรฐานและตัวช้วี ดั ของหลกั สูตร ตวั ชว้ี ดั 1 มาตรฐาน 1 ตัวช้วี ัด 2 ความรู้ (Knowledge) หลกั สตู ร ตัวช้วี ัด 3 ทักษะกระบวนการ(Process & Skill) คุณลกั ษณะ (Attribute) ตัวชวี้ ัด 4 มาตรฐาน 3 มาตรฐาน 2 ภาพ มาตรฐานตวั ชวี้ ัดและหลักสตู ร องคป์ ระกอบของตัวชวี้ ัด ตวั ชวี้ ัด วิเคราะห์ และ อธบิ าย การเปลี่ยนแปลงท่ที ำให้เกดิ สารใหม่และมสี มบัติ เปลี่ยนแปลงไป คำสำคัญ (key word) หรือ พฤติกรรมท่ีตอ้ งการ สถานการณ์ หรือ บริบทเน้อื หา แสดง ภาพ องค์ประกอบของตัวชี้วัด เล่มที่ 3 การสร้างข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมอื วดั และประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ 29 ตวั อยา่ ง ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลยี่ นแปลงและการถา่ ยโอนพลงั งาน ปฏิสมั พันธ์ระหวา่ งสสาร และพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจาวัน ธรรมชาติของคลืน่ ปรากฏการณท์ ี่เก่ยี วข้องกบั เสยี ง แสง และ คล่นื แม่เหลก็ ไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ Process & Skill ตัวขว้ี ัด ว2.3 ป 6/2 เขียน แผนภาพและ ต่อวงจร ไฟฟ้าอย่างง่าย Knowledge ตัวขี้วัด ว2.3 ป 6/1 ระบุ ส่วนประกอบและ บรรยาย หน้าทีข่ องแตล่ ะส่วนประกอบ ของวงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ยจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ตาราง โครงสรา้ งมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ ตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) สาระ มาตรฐาน ตวั ช้วี ัด รายละเอยี ดตัวชว้ี ัด 1. ระบุสารอาหารและบอก 1. วิทยาศาสตร์ ว 1.2 เข้าใจสมบัติของสงิ่ มีชวี ิต ว1.2 ป 6/1 ประโยชน์ของ สารอาหารแต่ละ ชวี ภาพ ประเภทจากอาหารทีต่ นเอง หนว่ ยพ้ืนฐานของส่งิ มชี ีวติ การ รับประทาน ลาเลยี งสารเข้าและออกจาก 2. บอกแนวทางในการเลอื ก รบั ประทาน อาหารใหไ้ ดส้ ารอาหาร เซลล์ ความสมั พนั ธข์ อง ครบถ้วนในสัดส่วนท่ี เหมาะสมกับ เพศและวัย รวมท้งั ความปลอดภยั โครงสร้าง และหน้าทีข่ องระบบ ว1.2 ป 6/2 ต่อสุขภาพ ต่างๆ ของสตั วแ์ ละมนุษย์ท่ีทา งานสมั พันธ์กัน ความสัมพันธ์ ของโครงสร้างและหนา้ ทีข่ อง อวยั วะตา่ งๆ ของพืชท่ีทำงาน เลม่ ท่ี 3 การสร้างขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอื่ งมือวดั และประเมินผล วชิ าวทิ ยาศาสตร์ 30 สาระ มาตรฐาน ตวั ช้วี ัด รายละเอยี ดตัวชว้ี ดั 3. ตระหนักถึงความสำคัญของ สมั พันธก์ ัน รวมทัง้ นาความรู้ไป ว1.2 ป 6/3 สารอาหาร โดยการเลือกรบั ประทาน อาหารท่มี สี ารอาหาร ครบถว้ นใน ใช้ประโยชน์ สดั ส่วนทเี่ หมาะสมกับเพศ และวัย รวมทัง้ ปลอดภัยตอ่ สขุ ภาพ ว1.2 ป 6/4 4. สร้างแบบจำลอง ระบบย่อย อาหาร และบรรยายหน้าท่ีของ ว1.2 ป 6/5 อวยั วะในระบบยอ่ ยอาหาร รวมทงั้ อธบิ ายการย่อย อาหารและการ ดูด 2 วิทยาศาสตร์ ว 2.1 เข้าใจสมบตั ิของสสาร ว2.1 ป 6/1 ซึมสารอาหาร กายภาพ องคป์ ระกอบของสสาร 5. ตระหนกั ถึงความสำคัญของ ระบบยอ่ ยอาหาร โดยการบอก ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมบัตขิ อง แนวทางในการดแู ลรักษาอวยั วะใน สสารกับโครงสรา้ งและแรงยึด ระบบย่อยอาหารใหท้ างานเปน็ ปกติ เหนีย่ วระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาตขิ องการ 1. อธิบายและเปรยี บเทียบการแยก เปล่ียนแปลงสถานะของสสาร สารผสมโดยการหยิบออก การร่อน การเกดิ สารละลาย และการ การใช้แม่เหลก็ ดึงดูด การรนิ ออก เกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี การกรอง และการตกตะกอน โดยใช้ หลกั ฐานเชงิ ประจักษ์ รวมทั้งระบุวธิ ี มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจ ว2.2 ป 6/1 แก้ปัญหาในชีวติ ประจำวันเก่ียวกบั ธรรมชาติของแรงใน การแยกสาร ชีวิตประจำวนั ผลของแรงที่ กระทาต่อวัตถุ ลกั ษณะการ 1. อธบิ ายการเกิดและผลของแรง เคล่อื นท่แี บบตา่ ง ๆ ของวตั ถุ ไฟฟา้ ซึ่งเกิดจากวัตถุทผี่ ่านการ ขัดถู รวมทง้ั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ โดยใช้หลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ ว 2.3 เข้าใจความหมายของ ว2.3 ป 6/1 1. ระบุสว่ นประกอบและบรรยาย พลังงาน การเปล่ยี นแปลงและ หนา้ ทีข่ องแต่ละสว่ นประกอบของ การถา่ ยโอนพลงั งาน วงจรไฟฟ้าอย่างง่ายจากหลักฐานเชงิ ปฏิสัมพนั ธร์ ะหวา่ งสสาร และ ประจกั ษ์ พลงั งาน พลังงานในชีวติ ประจา ว2.3 ป 6/2 วัน ธรรมชาตขิ องคลื่น 2. เขียนแผนภาพและตอ่ วงจรไฟฟา้ อย่างงา่ ย เล่มที่ 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครื่องมอื วดั และประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 31 สาระ มาตรฐาน ตัวช้วี ัด รายละเอียดตวั ชว้ี ดั 3. ออกแบบการทดลองและทดลอง ปรากฏการณ์ทเ่ี กย่ี วข้องกบั ว2.3 ป 6/3 ด้วยวิธีท่เี หมาะสมในการอธิบาย วธิ กี ารและผลของการต่อเซลลไ์ ฟฟ้า เสยี ง แสง และคล่ืน แบบอนุกรม แม่เหล็กไฟฟา้ รวมทั้งนำความรู้ 4. ตระหนกั ถึงประโยชน์ของความรู้ ของการตอ่ เซลล์ไฟฟา้ แบบอนกุ รม ไปใชป้ ระโยชน์ โดยบอกประโยชนแ์ ละการ ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน ว2.3 ป 6/4 5. ออกแบบการทดลองและทดลอง ดว้ ยวธิ ีทเี่ หมาะสมในการอธบิ ายการ ว2.3 ป 6/5 ต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบ ขนาน ว2.3 ป 6/6 6. ตระหนักถงึ ประโยชนข์ องความรู้ ของการตอ่ หลอดไฟฟา้ แบบ ว2.3 ป 6/7 อนกุ รมและแบบขนาน โดยบอก ประโยชน์ ขอ้ จำกัด และการ ว2.3 ป 6/8 ประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำวัน 7. อธิบายการเกดิ เงามดื เงามัวจาก 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก ว 3.1 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ว3.1 ป 6/1 หลกั ฐานเชิงประจักษ์ และอวกาศ ลักษณะ กระบวนการเกดิ และ ว3.1 ป 6/2 8. เขียนแผนภาพรังสขี องแสงแสดง ววิ ัฒนาการของเอกภพ การเกดิ เงามืดเงามัว กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และ ระบบ 1. สร้างแบบจำลองท่ีอธิบายการ สรุ ิยะ รวมทงั้ ปฏิสมั พันธภ์ ายใน เกดิ และเปรียบเทียบ ปรากฏการณ์ สรุ ยิ ุปราคาและ จนั ทรุปราคา ระบบสุรยิ ะท่สี ง่ ผลตอ่ สง่ิ มชี ีวิต และการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี 2. อธบิ ายพัฒนาการ ของเทคโนโลยี อวกาศ อวกาศ และ ยกตัวอยา่ งการนำ เทคโนโลยีอวกาศมาใช้ประโยชน์ใน ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ว3.2 ป 6/1 ชวี ิตประจำวัน จากข้อมูลทีร่ วบรวม ได้ และความสมั พันธ์ของระบบโลก 1. เปรยี บเทยี บกระบวนการเกดิ หิน กระบวนการเปล่ยี นแปลง อคั นี หนิ ตะกอน และหินแปร และ อธบิ าย วฏั จักรหินจากแบบจำลอง ภายในโลก และบนผิวโลก ธรณี ว3.2 ป 6/2 พิบตั ิภยั กระบวนการ 2. บรรยายและยกตัวอย่างการใช้ ประโยชนข์ องหนิ และแรใ่ นชีวติ เปลยี่ นแปลงลมฟ้าอากาศและ ประจำวนั จากข้อมลู ทีร่ วบรวมได้ เลม่ ท่ี 3 การสร้างขอ้ สอบแบบเลือกตอบ
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเครื่องมอื วดั และประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ 32 สาระ มาตรฐาน ตัวชี้วดั รายละเอียดตวั ชวี้ ัด 4 เทคโนโลยี ว3.2 ป 6/3 3. สร้างแบบจำลองทอ่ี ธิบายการเกิด ภมู อิ ากาศโลก รวมทัง้ ผลตอ่ ซากดึกดำบรรพแ์ ละคาดคะเน สง่ิ มีชวี ิตและสิ่งแวดลอ้ ม สภาพแวดล้อมในอดีตของซากดกึ ดำ บรรพ์ ว3.2 ป 6/4 4. เปรียบเทยี บการเกิดลมบก ลม ว3.2 ป 6/5 ทะเล และมรสุม รวมทั้งอธบิ ายผลที่ ว3.2 ป 6/6 มตี อ่ สิง่ มชี วี ติ และสิง่ แวดลอ้ มจาก ว3.2 ป 6/7 แบบจำลอง ว3.2 ป 6/8 5. อธบิ ายผลของมรสมุ ต่อการเกิด ว3.2 ป 6/9 ฤดูของประเทศไทย จากข้อมลู ท่ี รวบรวมได้ ว 4.2 เขา้ ใจและใช้แนวคิดเชิง ว4.2 ป 6/1 6. บรรยายลกั ษณะและผลกระทบ ของนำ้ ทว่ ม การกัดเซาะชายฝัง่ ดิน คำนวณในการแก้ปญั หาท่ีพบใน ถลม่ แผ่นดนิ ไหว สึนามิ ชวี ติ จรงิ อยา่ งเปน็ ขนั้ ตอนและ 7. ตระหนกั ถงึ ผลกระทบของภยั ธรรมชาติและธรณพี บิ ตั ิภยั โดย เป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยี ว4.2 ป 6/2 นำเสนอแนวทางในการเฝ้าระวังและ ปฏิบัตติ นใหป้ ลอดภัยจากภยั ธรรมชาตแิ ละธรณพี บิ ตั ภิ ัยท่อี าจเกิด ในท้องถนิ่ 8. สร้างแบบจำลองทีอ่ ธิบายการเกดิ ปรากฏการณ์เรือนกระจกและผล ของปรากฏการณเ์ รือนกระจกต่อ สงิ่ มชี ีวิต 9. ตระหนักถึงผลกระทบของ ปรากฏการณ์เรอื นกระจกโดย นำเสนอแนวทาง การปฏบิ ตั ติ นเพือ่ ลดกิจกรรมท่ีกอ่ ใหเ้ กิดแก๊สเรอื น กระจก 1. ใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตรรกะในการอธิบาย และ ออกแบบวิธีการ แก้ปัญหาท่พี บ ใน ชวี ติ ประจำวัน 2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรม อยา่ งง่ายเพื่อแก้ปัญหาในชีวิต เล่มที่ 3 การสร้างข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชุดฝึกอบรมด้วยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมอื วดั และประเมินผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 33 สาระ มาตรฐาน ตัวช้วี ดั รายละเอยี ดตวั ชว้ี ดั สารสนเทศและการส่ือสารใน ประจำวนั ตรวจหาข้อผิดพลาดของ การเรยี นรู้ การทำงาน โปรแกรมและแกไ้ ข และการแก้ปญั หาไดอ้ ย่างมี ว4.2 ป 6/3 3. ใชอ้ ินเทอร์เน็ตในการค้นหาขอ้ มูล ประสทิ ธิภาพ รเู้ ทา่ ทนั และมี อย่างมปี ระสิทธิภาพ จรยิ ธรรม ว4.2 ป 6/4 4. ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ ทำงาน รว่ มกนั อยา่ งปลอดภัย เข้าใจสทิ ธิ และหนา้ ทีข่ องตน เคารพในสทิ ธขิ อง ผูอ้ นื่ แจ้งผูเ้ กยี่ วข้องเม่ือพบข้อมูล หรือ บคุ คลที่ไม่เหมาะสม เล่มท่ี 3 การสร้างขอ้ สอบแบบเลือกตอบ
ชดุ ฝึกอบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผล วิชาวิทยาศาสตร์ 34 ตารางวิเคราะห์การออกแบบการสรา้ งแบบทดสอบ (Test Blueprint) การจัดทาํ ตารางวเิ คราะห์การออกแบบการสร้างข้อสอบ (Test Blueprint) ซ่ึงมีขน้ั ตอนดงั น้ี 1. กำหนดเรื่องและตัวช้วี ัดหรอื จดุ ประสงค์ โดยกรอกรายละเอยี ดลงในตารางวิเคราะห์ 2. พิจารณาวา่ แตล่ ะตวั ชว้ี ดั สามารถจดั การเรียนรู้และกำหนดจำนวนขอ้ สอบเพ่อื ทดสอบพฤติกรรม ทางสมองระดบั ใด และพิจารณาลําดับความสําคัญของระดบั พฤติกรรมวา่ ระดับใด มีความสําคญั เปน็ ลําดับที่ 1 และรองลง ไป ตามลาํ ดบั โดยดจู ากคา่ รอ้ ยละของแตล่ ะระดับพฤติกรรม ดังตัวอย่างการวเิ คราะห์ ข้อสอบ รายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 6 ตามพฤติกรรมทตี่ อ้ งการวดั ให้สอดคลอ้ งกบั จดุ ประสงค์ ตามระดับความสามารถของบลูม ตาราง วิเคราะห์การออกแบบการสรา้ งแบบทดสอบ (Test Blueprint) จำนวนขอ้ สอบแตล่ ะระดบั พฤตกิ รรม (ขอ้ ) รวม ขอ้ สอบ ตัวชีว้ ดั รายละเอยี ดตัวชี้วัด การจำ (ขอ้ ) รูปแบบ การเ ้ขาใจ ขอ้ สอบ การประ ุยก ์ตใช้ การ ิวเคราะ ์ห การประเ ิมนค่า การคิดสร้างสรรค์ ว3.1ป.6/1 ทด ลอ ง แ ละ อ ธ ิบาย - 1 3 - 4 เขียนตอบ (1 ข้อ)/ สมบัติของ ของ แข็ง เขียนตอบ ของเหลวและแก๊ส (3 ข้อ) ว3.1ป.6/2 จำแนกสารเป็นกลุ่ม - 1 1 - 2 เขียนตอบ (1 ขอ้ )/ โ ด ย ใ ช ้ ส ถ า น ะ ห รื อ เขียนตอบ เกณฑ์อน่ื ท่ีกำหนดเอง (1 ขอ้ ) ว3.1ป.6/3 ทด ลอ ง แ ละ อ ธ ิ บาย - 2 2 - 4 เขียนตอบ (2 ข้อ)/ วิธีการ แยกสารบางชนิด เขียนตอบ ที่ผสมกันโดย การร่อน (2 ขอ้ ) การตกตะกอน การ กรอง การระเหิด การ ระเหยแหง้ รวมจำนวนข้อ 46 10 รอ้ ยละ 40 60 100 อนั ดบั ความสำคญั 21 เล่มที่ 3 การสร้างข้อสอบแบบเลือกตอบ
ชดุ ฝึกอบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 35 ใบกิจกรรมท่ี 3 ...จากทา่ นไดศ้ กึ ษาใบความรูแ้ ลว้ ลองตอบคำถามนะคะ........ คำช้แี จง จงตอบคำถามต่อไปน้ี 1. ทา่ นมแี นวทางในการสร้างข้อสอบแบบเขยี นตอบ เพื่อวดั ผลและประเมินผล การเรยี นรู้ของผู้เรียนอยา่ งไร .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... 2. องค์ประกอบของตัวชี้วัด มีอะไรบ้าง .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ให้ท่านศกึ ษาใบความรู้ถัดไปเลยค่ะ.... เลม่ ท่ี 3 การสร้างข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครือ่ งมอื วดั และประเมินผล วิชาวทิ ยาศาสตร์ 36 ใบความรูท้ ี่ 4 การสรา้ งข้อสอบแบบเลือกตอบ ข้อสอบแบบเลือกตอบ เป็นข้อสอบที่นิยมใช้กันมากในปัจจุบัน เพราะข้อสอบแบบเลือกตอบ สามารถวัดได้ครอบคลุมจุดประสงค์ ท้ังความรู้ความเข้าใจ การนำไปใช้ สามารถสรา้ งใหว้ ัดได้ครอบคลุมเน้ือ เรื่องตามโครงสร้างอย่างมีประสิทธิภาพ และนำไปพัฒนาแบบสอบมาตรฐานได้ (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2552 :156 -157, กังวล เทียนกัณฑ์เทศน์, 2550: 92) และตรวจให้คะแนนได้แน่นอน ยิ่งเป็นยุค คอมพิวเตอร์การใช้ข้อสอบแบบเลือกตอบ จะอำนวยความสะดวกในการตรวจได้อย่างดี ข้อสอบแบบ เลือกตอบพัฒนามาจากข้อสอบแบบความเรียงและข้อสอบแบบเติมคำ ในข้อสอบดังกล่าวเมื่อมีคำถาม หนึง่ คำถาม จะมผี ลการตอบแตกต่างกันไปตามความคิดเห็นของคนท่ีตอบคำถามถูกจะมีอยู่เพียงคำตอบ เดียวเท่านั้นดังนั้น ผู้ที่ตอบเบี่ยงเบนไปจากคำตอบถูกถือว่าเป็นคำตอบผิด ข้อสอบแบบเลือกตอบ ประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 2 ส่วนคือส่วนข้อคำถาม (Stem) และส่วนตัวเลือก (Alternative หรือ Choice) ตัวเลือกยังแยกออกเป็น 2 ส่วน คือตัวเลือกที่เป็นตัวถูก (Key) กับตัวเลือกที่เป็นตัวลวง (foil หรอื distractors) (ลว้ น สายยศ และอังคณา สายยศ, 2548,นภา หลิมรตั น์ :2546 ) จำนวนตัวเลอื กจะมี กี่ตัวเลือกนั้นขึน้ อยู่กบั เน้ือหาพื้นฐาน ความรู้และระดบั การศึกษาของผูต้ อบ เช่น ในระดับประถมศกึ ษา ควรใช้ข้อสอบ 3 ตัวเลือก ระดับชั้นมัธยมศึกษาและระดับอุดมศกึ ษาควรใช้ 4-5 ตัวเลือก (Hopkin and others, 1990 : 269 อ้างถึง สมศกั ด์ิ ลลิ า, 2549 :17) ในการสอบผู้เขา้ สอบเพียงเลอื ก คำตอบท่ีเห็นว่า ถูกตอ้ งทส่ี ุดและเหมาะสมทสี่ ดุ เพยี งตวั เลือกเดียวเทา่ นั้นมาตอบ (บุญธรรม กิจปรีดาบรสิ ุทธิ์, 2552) 4.1 ขนั้ ตอนการสร้างขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ ไดม้ ีนักวิชาการแสดงขั้นตอนการสร้างข้อสอบ ดงั น้ี สุดารัตน์ นนทค์ ลงั (2549) ไดใ้ ห้แสดงขน้ั ตอนการสร้างแบบทดสอบดังน้ี 1. กำหนดจดุ มุง่ หมายในการสรา้ งแบบทดสอบ 2. ศกึ ษาทฤษฎีเอกสารงานวจิ ัยที่เกี่ยวข้องหลักสูตรและแบบเรยี น 3. วเิ คราะห์เนื้อหาจดุ ประสงค์การเรียนรู้และเขียนจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 4. เขยี นข้อสอบตามจดุ ประสงค์ เลม่ ท่ี 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสร้างเครื่องมอื วดั และประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 37 5. สรา้ งแบบทดสอบฉบบั รา่ งและตรวจสอบความเท่ยี งตรง 6. นำแบบทดสอบไปทดลองใช้ 7. วเิ คราะห์หาคุณภาพของแบบทดสอบและจัดพิมพ์แบบทดสอบฉบบั สมบูรณ์ ฉลอง ชยู ิ้ม (2556) ไดแ้ สดงข้นั ตอนการสรา้ งแบบทดสอบดงั นี้ 1. ศึกษาหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐานพุทธศกั ราช 2551 มาตรฐาน การเรยี นรแู้ ละตัวช้ีวัด แนวทางการวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เทคนคิ การสรา้ งข้อสอบการตรวจสอบ คณุ ภาพขอ้ สอบเอกสารและงานวิจัยที่เกยี่ วขอ้ ง 2. กำหนดจดุ ประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรมและตวั แปรท่ีตอ้ งการศกึ ษา หลักการสร้าง ข้อสอบแบบต่าง ๆสามารถสร้างขอ้ สอบ และสามารถตรวจสอบคุณภาพของข้อสอบไดท้ ัง้ กำหนดนิยาม ศัพท์ 3. จัดทำตารางวเิ คราะหห์ ลกั สตู รให้ครอบคลมุ จุดประสงค์เนื้อหาและพฤติกรรมที่ ตอ้ งการวดั 4. รา่ งขอ้ คำถามและองคป์ ระกอบใหส้ อดคล้องกับจุดประสงคแ์ ละตัวแปรท่ตี ้องการสร้าง เป็นแบบทดสอบเพ่ือใช้วดั ความรู้ความเขา้ ใจ 5. วพิ ากษข์ ้อสอบของแบบทดสอบรว่ มกบั ผู้เชี่ยวชาญและปรับปรงุ แก้ไขขอ้ คำถาม 6. นำแบบทดสอบไปตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาทต่ี อ้ งการวัดโดยผเู้ ชีย่ วชาญ ด้านเนือ้ หา 7. ปรับปรุงข้อเสนอแนะนำผ้เู ชี่ยวชาญ 8. แบบทดสอบไปทดลองใช้ครัง้ ที่ 1 แลว้ นำมาปรับปรุงแก้ไข 9. นำแบบทดสอบไปทดลองใช้ครั้งท่ี 2 แล้วนำกลับมาวเิ คราะหห์ าคา่ ความยากคา่ อำนาจจำแนกและตรวจสอบคุณภาพทางฉบับด้วยการหาความเท่ียง 10.นำแบบทดสอบไปปรับปรงุ แกไ้ ข สาํ นกั ทดสอบทางการศึกษา (2561) ไดแ้ สดงขน้ั ตอนการสร้างแบบทดสอบดงั น้ี 1. วเิ คราะหต์ วั ชีว้ ดั และหาคำสำคญั ทเี่ ป็นเปา้ หมายในการเรยี นรู้ 2. กำหนดพฤติกรรมตามท่ตี ้องการวัดให้ชัดเจน ควรวดั พฤติกรรมทางตั้งแต่ระดับ นำไปใชข้ น้ึ ไป เลม่ ท่ี 3 การสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเคร่ืองมอื วัดและประเมินผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 38 3. เลือกรปู แบบของข้อสอบ 4. เขียนข้อคำถามให้ชัดเจนว่าตอ้ งการใหผ้ ู้ตอบทำอะไรอย่างไร 5. ถามเฉพาะสิง่ ทเ่ี ป็นประเดน็ สำคัญของเร่อื ง 6. กำหนดความซบั ซอ้ นและความยากใหเ้ หมาะกับวยั ของผ้ตู อบ 7. ควรเฉลยคำตอบไปพร้อมกันกับเขียนข้อสอบ 8. ไม่ควรใหม้ กี ารเลือกตอบบางข้อ พชิ ติ ฤทธิ์จำรญู (2556) ไดแ้ สดงขน้ั ตอนการสร้างแบบทดสอบดังนี้ 1. วิเคราะห์หลักสตู รและสร้างตารางวิเคราะห์หลักสูตร 2. กำหนดจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3. กำหนดชนดิ ของข้อสอบและศกึ ษาวิธีสร้าง 4. เขียนข้อสอบ 5. ตรวจทานข้อสอบ 6. จดั พิมพ์ขอ้ สอบฉบบั ทดลอง 7. ทดสอบและวิเคราะห์ขอ้ สอบ 8. จดั ทำขอ้ สอบฉบบั จรงิ เลม่ ท่ี 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลอื กตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมด้วยตนเอง การสร้างเครอ่ื งมือวดั และประเมนิ ผล วชิ าวิทยาศาสตร์ 39 ดังน้ันสามารถสรุป ขนั้ ตอนการสรา้ งข้อสอบแบบเลอื กตอบ มดี ังน้ี ศึกษาวิเคราะห์ มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวดั ของหลักสูตร แบบคำตอบเดียว ระบพุ ฤตกิ รรมที่นกั เรยี นแสดงออก แบบหลายคำตอบ แบบเชิงซ้อน พจิ ารณาพฤตกิ รรมว่าสอดคลอ้ งกบั ลำดับข้นั ใด ตามทฤษฎีความรู้ของบลมู แบบกลุม่ คำตอบสมั พนั ธ์ วเิ คราะห์หลกั การเขยี นข้อสอบ ระบปุ ระเภทของข้อสอบแบบ สร้างข้อสอบแบบเลอื กตอบตามแบบฟอร์ม บัตรข้อสอบ (Item Card) ตรวจทานขอ้ สอบ ผู้เช่ยี วชาญตรวจสอบ (IOC) ปรบั ปรงุ ข้อสอบ/ตรวจสอบคุณภาพข้อสอบ คดั เลอื กข้อสอบทีม่ ีคุณภาพ ภาพ แสดงข้นั ตอนในการสรา้ งและการวิเคราะหข์ ้อสอบ เล่มที่ 3 การสรา้ งขอ้ สอบแบบเลือกตอบ
ชดุ ฝกึ อบรมดว้ ยตนเอง การสรา้ งเครอ่ื งมือวดั และประเมินผล วิชาวิทยาศาสตร์ 40 ใบกจิ กรรมที่ 4 ...จากท่านได้ศกึ ษาใบความรู้แล้ว ลองตอบคำถามนะคะ........ จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1.ข้อสอบแบบเลือกตอบมีลักษณะอยา่ งไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 2. ท่านมีข้ันตอนการสรา้ งข้อสอบแบบเลือกตอบอยา่ งไร ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ให้ท่านศกึ ษาใบความรู้ถัดไปเลยค่ะ.... เลม่ ท่ี 3 การสร้างข้อสอบแบบเลอื กตอบ
Search