Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการCocktail stick

โครงการCocktail stick

Published by warinthon25571, 2021-03-13 10:37:56

Description: โครงการCocktail stick

Search

Read the Text Version

ก Cocktail Stick สบื สานภูมปิ ญั ญา COCKTAIL STICK INHERIT WISDOM วรนิ ทร ฐติ ิชญากุล โครงการนีเ้ ป็นส่วนหนงึ่ ของการศกึ ษาตามหลักสตู ร ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ช้ันสูง สาขาวิชาการโรงแรม ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมทอ่ งเทย่ี ว วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเชียงใหม่ ปกี ารศึกษา 2564

ข Cocktail stick สบื สานภมู ิปญั ญา COCKTAIL STICK INHERIT WISDOM วรนิ ทร ฐติ ิชญากลุ โครงการนีเ้ ป็นส่วนหนึ่งของการศกึ ษาตามหลักสตู ร ประกาศนยี บัตรวิชาชพี ชั้นสูง สาขาวิชาการโรงแรม ประเภทวชิ าอุตสาหกรรมท่องเทย่ี ว วทิ ยาลัยอาชวี ศึกษาเชียงใหม่ ปกี ารศึกษา 2564

ก ใบรับรองโครงการ วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาเชียงใหม่ เร่ือง Cocktail stick สืบสานภมู ปิ ัญญา โดย นางสาววรินทร ฐติ ชิ ญากุล ได้รับการรับรองให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชา การโรงแรม ทวิภาคี ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรมทอ่ งเที่ยว …………………………หัวหน้าแผนกวิชาการโรงแรม …………………………รองผูอ้ ำนวยการฝา่ ยวชิ าการ (นางอัปสร คอนราด) (นายณรงคศ์ กั ดิ์ ฟองสินธ)ุ์ วันที่……..เดอื น……………พ.ศ………… วันที่……..เดอื น……………พ.ศ………… คณะกรรมการสอบโครงการ ……………………………………………………. ประธานกรรมการ (นายทนิ กร ต๊ิบอินถา) ……………………………………………………. กรรมการ (นางสาวนพรรณพ ดวงแกว้ กลู ) ……………………………………………………. กรรมการ (นางสาวนชั พร สาครธำรง)

ข กติ ติกรรมประกาศ โครงการ Cocktail stick สืบสานภูมิปัญญา ของนักศึกษาแผนกวิชาการโรงแรม วิทยาลัย อาชวี ศึกษาเชียงใหม่ ฉบับนี้สำเรจ็ ลุล่วงไปได้ดว้ ยดีเน่ืองจากได้รับความกรุณา ความอนเุ คราะห์ การ สนับสนุน และการใหค้ ำแนะนำแนวทางในการดำเนนิ งานจากหลายทา่ น ขอขอบพระคุณ นายทินกร ติ๊บอินถา ครูที่ปรึกษาวิชาโครงการ และคณะครูที่ให้คำปรึกษา โครงการ แนะนำและให้ข้อคิดต่างๆ ในการทำโครงการ ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่อง จนทำรายงาน โครงการฉบบั นีเ้ สร็จสมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูง ขอกราบขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ ที่ให้กำเนิดเลี้ยงดูอบรมสั่งสอนตลอดจนการให้ คำแนะนำคำปรึกษาในเร่อื งต่างๆ ทีท่ ำใหโ้ ครงการฉบับนี้ลุล่วงไปได้ดว้ ยดรี วมท้ังเป็นกำลังใจท่ีดีเสมอ มา และขอขอบคุณผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ทุกท่านที่สละเวลาอันมีค่าช่วยเหลือและ อนุเคราะห์ในการตอบแบบสอบถาม จนทำให้โครงการฉบับนี้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี รวมถึงผู้มีส่วน เกี่ยวข้องทุกท่านที่เป็นกำลังสำคัญในการให้คำปรึกษา เป็นกำลังใจและให้ความช่วยเหลือตลอดมา จนทำรายงานเลม่ นส้ี ำเรจ็ ลุล่วงไปดว้ ยดี วรนิ ทร ฐิตชิ ญากลุ

ค ช่ือ : นางสาววรินทร ฐิติชญากลุ ชื่อโครงการ : Cocktail stick สืบสานภูมิปญั ญา สาขาวิชา : การโรงแรม ประเภทวชิ า : อุตสาหกรรมท่องเทย่ี ว อาจารย์ท่ีประจำวชิ าโครงการ : นายทนิ กร ตบิ๊ อนิ ถา อาจารยท์ ป่ี รึกษาวิชาโครงการ : นายทินกร ตบิ๊ อินถา ปีการศึกษา : 2563 บทคดั ย่อ โครงการเรื่อง Cocktail stick สืบสานภูมิปัญญา สรุปผลการศึกษาดังนี้ ผลการ วิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลดา้ นเพศ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คดิ เปน็ ร้อยละ 52.00 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 15-20 ปี คิดเป็นร้อยละ 52.00 และผลการ วิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้ใช้ Cocktail stick พบว่าผลสรุปภาพรวมของความพึงพอใจของผู้ใช้ Cocktail stick อยู่ในระดบั มากท่สี ุด 4.53 เมือ่ สรปุ ผลออกมาเป็นรายขอ้ พบว่า นำวัสดุธรรมชาติมา ใช้ให้เกิดประโยชน์ผลการประเมินอยู่ในระดับมากที่สุด 4.70 รองลงมาคือ อนุรักษณ์วัฒนธรรม ล้านนา (จักสานจากตอก) อยู่ในระดับมากทีส่ ุด 4.70 ความคิดสร้างสรรค์ในการทำผลิตภัณฑ์ อยู่ใน ระดบั มากท่สี ุด 4.60 Cocktail stick มีสีสนั ท่ีเป็นธรรมชาตไิ ม่ก่อผลเสียตอ่ ผใู้ ช้ อยู่ในระดับมากที่สุด 4.60 Cocktail stick มลี วดลายท่ีเปน็ เอกลักษณ์ อยู่ในระดับมากท่ีสุด 4.54 Cocktail stick มีความ ประณีต อยู่ในระดับมากที่สุด 4.54 Cocktail stick มีประโยชน์ต่องานโรงแรม อยู่ในระดับมากท่สี ดุ 4.54 Cocktail stick มีลวดลายที่เป็นเอกลักษณ์ อยู่ในระดับมากที่สุด 4.50 Cocktail stickมีขนาด และลวดลายที่เหมาะสมอยู่ในระดับมาก 4.44 Cocktail stick เหมาะสมต่อการใช้งาน อยู่ในระดับ มาก 4.14 ตามลำดบั

สารบัญ ง เรือ่ ง หน้า ใบรบั รองโครงการ ก กติ ติกรรมประกาศ ข บทคดั ย่อ ค สารบัญ ง สารบญั (ต่อ) จ สารบญั ตาราง ฉ สารบญั รปู ภาพ ช สารบญั รปู ภาพ (ตอ่ ) ซ บทที่ 1 บทนำ 1 1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของโครงการ 2 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 2 1.3 ขอบเขตโครงการ 2 1.4 ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 2 1.5 นิยามศพั ท์ บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎแี ละงานวจิ ยั ท่ีเก่ยี วขอ้ ง 4 2.1 ที่มาและความสำคญั 5 11 2.2 ชนดิ ของไผท่ ่ีนยิ มนำมาสาน 12 21 2.3 ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของงานจกั สาน 25 2.4 งานหตั ถกรรมจากไผล่ วดลายตา่ งๆ 2.5 แนวคิดและทฤษฎีความพงึ พอใจ 28 2.6 งานวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้อง 28 บทที่ 3 วธิ ีดำเนนิ การวิจัย 29 3.1 การคดั เลอื กกล่มุ ตัวอย่าง 30 3.2 เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการดำเนินโครงการ 3.3 ข้ันตอนการดำเนนิ โครงการ 3.4 การวิเคราะห์และสรปุ ผล

จ สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ เรอื่ ง 32 บทที่ 4 ผลการศึกษา 40 40 4.1 สรปุ ขน้ั ตอนการทำ Cocktail stick 41 4.2 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลส่วนบคุ คล 43 4.3 ผลการวเิ คราะหค์ วามพึงพอใจของผ้ใู ช้ Cocktail stick 4.4 การจัดลำดบั ผลการวเิ คราะห์ความพึงพอใจของผ้ใู ช้ Cocktail stick 44 4.5 ผลสรุปขอ้ เสนอแนะ 45 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ ปรายและขอ้ เสนอแนะ 45 5.1 สรปุ ผลการศกึ ษา 5.2 อภิปรายผล 5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ภาคผนวก ก แบบนำเสนอขออนุมตั โิ ครงการวิชาชีพ ภาคผนวก ข แบบบันทึกผลการทดลอง ภาคผนวก ค แบบประเมินความพงึ พอใจ ภาคผนวก ง การคำนวณค่าแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ ภาคผนวก จ รปู ภาพประกอบโครงการ ภาพผนวก ฉ แบบรายงานผลการนำไปใชป้ ระโยชน์ ประวตั ิผู้จัดทำ

ฉ สารบัญตาราง หน้า 40 ตารางที่ 40 1 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมลู ส่วนบุคคลดา้ นเพศ 40 2 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู สว่ นบคุ คลดา้ นอายุ 42 3 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจของผู้ใช้ Cocktail stick 4 ตารางการจดั ลำดบั ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผู้ใช้ Cocktail stick

สารบญั ภาพ ช ภาพที่ หน้า 2.1 Cocktail stick 5 6 2.2 ไผบ่ งบา้ น 6 2.3 ไผบ่ งป่า 7 2.4 ไผซ่ างบ้าน 7 2.5 ไผ่ซางปา่ 8 2.6 ไผไ่ ร่ 8 2.7 ไผเ่ ฮียะ 9 2.8 ไผข่ ้าวหลาม 9 2.9 ไผ่สีสุก 10 2.10 ไผ่รวก 13 2.11 ลายสามข้นึ ลง 13 2.12 ลายดีหล่ม 14 2.13 ลายครุ 14 2.14 ลายครบุ 15 2.15 ลายกน้ ลงิ 15 2.16 ลายสาม 16 2.17 ลายกระด้งฝดั 16 2.18 ลายตาแหลวมดื 17 2.19 ลายสองข้ึนลง 17 2.20 ลายขา้ งกระแต 18 2.21 ลายตาแหลว 18 2.22 ลายสอง 19 2.23 ลายหนว่ ย 19 2.24 ลายดอกผัดแว่น 20 2.25 ลายขอ 20 2.26 ลายขิต 21 2.27 ลายปลา 32 4.1 การทำตอก 33 4.2 ตอกพับครง่ึ 33 4.3 เป็น 4 มุม 34 4.4 พบั เป็น 8 แฉ

4.5 เสียบไม้ สารบญั ภาพ (ต่อ) ซ ภาพที่ 34 4.6 พาดไปชอ่ งที่ 4 4.7 พาดใหค้ รบทุกชอ่ ง หน้า 4.8 ดงึ ตอกใหแ้ นน่ 35 4.9 กลบั ดา้ นมาทำอกี ด้านหนึ่ง 35 4.10 พาดชอ่ งที่ 3 36 4.11 เสยี บลอกชอ่ งทพี่ าด 36 4.12 ดึงตอกใหต้ งึ 37 4.13 ตัดสว่ นที่ไมต่ ้องการ 37 4.14 เสียบไม้ 38 4.15 ติดกาว 38 39 39

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา ธุรกจิ โรงแรมเป็นธุรกจิ ทีม่ อี ตั ราการเจริญเตบิ โตสงู สามารถสร้างรายได้ใหก้ ับประเทศได้เป็น อยา่ งมากจากการบริการทน่ี ักให้แก่นักท่องเท่ียวจากทุกมมุ โลกที่เข้ามาเท่ียวในประเทศไทย จึงทำให้ ธุรกิจโรงแรมเติบโตขึ้นมากในแต่ละปีเนื่องจากผู้คนนิยมมาเที่ยวและพกั ผ่อนในประเทศของเราเป็น อย่างมาก และปี 2563 ที่ผ่านมาธุรกิจโรงแรมสามารถสร้างรายได้ให้แก่ประเทศได้เป็นจำนวนมาก และนอกจากนีธ้ ุรกิจโรงแรมยงั สามารถสร้างงานและอาชีพใหแ้ ก่คนในชมุ ชน นำรายได้เข้าสู่ประเทศ และสรา้ งเม็ดเงินหมนุ เวยี นในระบบเศรษฐกิจ เปน็ แหล่งรบั ซ้อื สินค้าและผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรม อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิอาหารและ เครื่องดื่ม ของที่ระลึก เฟอร์นิเจอร์ของประดับตกแต่ง ฯลฯ สนบั สนุนกิจกรรมทางการท่องเท่ยี วและส่งเสริมการลงทนุ ในภูมภิ าคและยงั มีอกี หลายอยา่ งท่เี ป็นผลที่ เกดิ จากการประกอบธุรกิจนำเที่ยวทง้ั ยังเปน็ การชักนำเศรษฐกิจไทยให้มกี ารพฒั นาไปข้างหน้า ทั้งยัง สร้างรากฐานคนในปนะเทศทุกคนให้ดีขึ้นให้ทุกคนในประเทศได้มีงานทำ และลดภาวการณ์ตกงาน เนื่องจากมีอาชีพหลากหลายอาชีพในสายอาชพี ที่เป็นธุรกิจท่องเท่ียวที่พักแรม คอยรองรับนักศึกษา ทุกคนท่ีจบมา ธุรกิจโกรงแรมจึงมีความสำคัญมากในการ สร้างรายได้ให้แก่ประเทศเพราะประเทศ ไทยเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีผู้คนมากมายหลากหลายเชื้อชาติต่างพากันมาเที่ยวชมความงามของ ธรรมชาติในประเทศไทยการสร้างรายได้แก่ประเทศจึงเป็นหน้าที่สำคัญของธุรกิจท่องเที่ยวโ รงแรม ของไทย จงั หวัดชยี งใหม่ จังหวดั ทมี่ เี อกลกั ษณ์ที่โดดเดน่ ในเรือ่ งศิลปะ วัฒนธรรม พธิ ีกรรม ความเชื่อ ศาสนา ซงึ่ มีการนำเอา วสั ดทุ ีพ่ บเหน็ ในธรรมชาตมิ าปรับใช้ ในการดำรงชีวติ ประจำวนั ซ่งึ ภมู ิปญั ญาท่ี น่ากล่าวขานและน่าอนุรักษ์อีก 1 อย่างนั่นก็คือภูมิปัญญาทางด้านจากจักสานที่เป็นการนำไผ่จาก ธรรมชาตทิ ห่ี าได้ง่ายนน้ั มาทำเปน็ เสน้ ๆ ทช่ี าวเหนือเรียกกนั ว่า”ตอก” หลงั จากนำไผ่มาทำเป็นตอก แลว้ น้ันจงึ จะสานออกมาเปน็ ภาชนะหรอื ส่ิงของเครอ่ื งใช้ต่างๆ ท่มี ีลวดลายท่ีสวยงามประณีตและเป็น เอกลักษณ์เฉพาะในชิ้นงานแต่ละชิ้นเพราะแต่ละอย่างที่สานออกมานั้นจะมีลวดลายที่แตกต่างกัน ออกไป ส่งิ ของทสี่ านขึ้นมานัน้ เชน่ ตะกร้า กระตบิ พัด ซงึ้ นึงข้าว และอกี มากมายทีท่ ำจากไผ่นอกจาก สิ่งของเครื่องใช้แลว้ สมัยก่อนยังมีการนำไผ่นี้ไปสร้างเป็นบ้านพักทีอ่ ยู่อาศัยดังนั้นจงึ จะเห็นได้ว่าไผ่ เป็นวัสดุที่สำคัญมากของชาวเชียงใหม่มาอย่างยาวนาน และเป็นวัสดุที่หาได้ง่าย ไผ่จึงเป็นอีก 1 เอกลกั ษณท์ ี่โดดเด่นสวยงาม น่าศกึ ษา และควรคา่ แก่การรกั ษาไว้ซ่งึ ความเป็นกลนิ่ อายของเมืองเหนือ

2 นำเอกลักษณ์ที่โดดเด่นนี้ทำเป็นของที่ระลึกขายแก่นักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบในศิลปะ ที่เป็นงาน หัตถกรรม หรือเปิดเป็นชุมชนงานฝีมือให้นักท่องเที่ยวได้มาเที่ยวชม ได้มาศึกษาและได้ซึมซับ วฒั นธรรมลา้ นนา ผู้จดั ทำโครงการจึงมองเหน็ โอกาศและความสำคัญท่ีจะอนุรักษ์ภมู ิปญั ญาท้องถ่ินในเร่ืองของ การจักตอกที่ได้จากวัสดุธรรมชาติที่มีอยู่มากในทางภาคเหนือนั้นและอยากให้สามารถใช้ได้อย่าง แพร่หลายในงานโรงแรมทางผู้จัดทำจึงคิดที่จะทำ Cocktail stick ขึ้นสืบสานและอนุรักษ์ไว้ซึ่งภูมิ ปญั ญาลา้ นนาของเองเหนอื เราและอยากใหศ้ ิลปะลา้ นนาที่สวยงามนแ้ี พรห่ ลายไปยงั นักท่องเที่ยวท่ีมา เที่ยวได้เห็นถงึ ความสวยงามของงานฝีมือที่มีความประณีตและทำให้วัฒนธรรมท่ีเป็นเอกลักษณ์ของ เมอื งเหนอื นย้ี ังคงอยตู่ ่อไปอีกยาวนาน 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ 1) เพือ่ การใช้ประโยชนจ์ ากไผโ่ ดยการทำเปน็ Cocktail Stick ลวดลายต่าง ๆ 2) เพ่ือสร้างความสวยงามใหแ้ กแ่ ก้ว Cocktail 1.3 ขอบเขตโครงการ เปา้ หมายของโครงการ 6.1 เชงิ ปรมิ าณ - จำนวน Cocktail Stick จำนวน 200 ชิ้น - กลุม่ ตวั อยา่ งผู้ใช้ Cocktail Stick จำนวน 50 คน 6.2 เชิงคณุ ภาพ - Cocktail Stick มีลวดลายสวยงามเหมาะแก่การตกแต่งแก้ว 6.3 ระยะเวลาและสถานทใี่ นการดำเนินงาน ผลติ Cocktail Stick สามารถใช้ประโยชนไ์ ดห้ ลายทาง พร้อมท้ังมคี วามสวยงาม ระยะเวลาดำเนนิ งาน ต้งั แตว่ นั ท่ี 26 พฤศจกิ ายน ถงึ วันที่ 12 มนี าคม 2563 สถานทดี่ ำเนินงาน วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชียงใหม่ และ 85 ตำบลแม่สาบ อำเภอสเมิง จังหวดั เชียงใหม่ 1.4 ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ 1) ผู้ใช้ Cocktail Stick พงึ พอใจต่อช้นิ งานทป่ี ระดิษฐ์ 2) Cocktail Stick สามารถสร้างรายได้แก่ชมุ ชนได้ 1.5 นิยามศัพท์ 1) Cocktail คือ ค็อกเทล cocktail เป็นเครื่องดื่มชนิดหนึ่ง ใช้เหล้าชนิดต่าง ๆ ผสมกัน ใส่ น้ำแข็ง แล้วเขย่า และอาจใส่น้ำผลไม้หรือชิน้ ผลไม้เพอื่ เพิ่มสีหรือรสใหแ้ ปลก ๆ ออกไป นิยมด่ืมก่อน อาหาร เพิ่อดมื่ เปน็ เครือ่ งด่มื เรยี กน้ำย่อยที่กินกอ่ นอาหารจานหลักมีรสชาติหวานอร่อยมีกลิ่นและรส

3 สัมผัสของเหล้า Cocktail มีผลวิจัยพบว่าเมื่อผลไม้กระทบเข้ากับเหล้า มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ แรง หนักคอ็ กเทลซ่ึงเปน็ เหล้าผสม หากใส่ผลสตรอเบอร์ร่ลี งไปด้วย นอกจากจะด่มื อร่อยแลว้ ยังกลายเป็น เครื่องดื่มบำรุงสขุ ภาพด้วย อาจช่วยป้องกันมะเร็ง โรคหัวใจ และข้ออักเสบ ผลไม้ที่ใส่ลงในค็อกเทล เมื่อโดนเขา้ กบั แอลกอฮอล์ในเหล้าท่ีผสมชนดิ ต่าง ๆ จะย่งิ ขับคุณสมบัติในการตอ่ ตา้ นอนมุ ูลอิสระของ มันให้ สูงย่งิ ข้ึนอกี 1 ใน 3 สารอนุมลู อสิ ระอีกด้วย 2) Cocktail Stick คือ สิ่งที่ช่วยเพื่มความสวยง่ามให้แก่เครื่องดื่ม ให้มีสีสันสดใสสวยงาม นา่ สนใจโดย Cocktail Stick นัน้ นิยมแตง่ ปากแก้วท่ีเป็นเคร่ืองดื่มสำหรับสภุ าพสตรีเป็นส่วนมาก แต่ อย่างไรกต็ ามการตกแต่งปากแก้วกย้ งั เปน็ ส่วนชาวยในการสรา้ งมลู ค่าเพม่ื ให้แก่เคร่อื งดื่มหรือเป็นช่วย ในการตัดสินใจเน่ืองจากความสวยงามความโดดเด่นและความนา่ สนใจท้งั หมดของมนั

4 บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎีและงานวจิ ยั ที่เกีย่ วขอ้ ง ในการศกึ ษา เร่อื ง Cocktail stick ผู้จดั ทำได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลกั การต่าง ๆ จาก เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมากำหนดเป็นกรอบแนวคิดและใช้ในเป็นแนวทางในการ ดำเนินศึกษา โดยแยกเป็นสาระสำคญั ดงั นี้ 2.1 ที่มาและความสำคญั 2.2 เพ่ือศกึ ษาชนดิ ของไผ่ท่นี ิยมนำมาสาน 2.3 ประโยชนแ์ ละคณุ คา่ ของงานจักสาน 2.4 งานหตั ถกรรมจากไผล่ วดลายตา่ งๆ 2.5 แนวคดิ และทฤษฎคี วามพึงพอใจ 2.6 งานวจิ ยั ทีเ่ กีย่ วข้อง 2.1 ทม่ี าและความสำคญั ธรุ กจิ โรงแรมเป็นธรุ กิจทม่ี อี ัตราการเจรญิ เติบโตสงู สามารถสรา้ งรายได้ให้กับประเทศได้เป็น อย่างมากจากการบรกิ ารที่นักให้แก่นกั ท่องเที่ยวจากทุกมมุ โลกท่ีเข้ามาเท่ียวในประเทศไทย จึงทำให้ ธุรกิจโรงแรมเติบโตขึ้นมากในแต่ละปีเนื่องจากผู้คนนิยมมาเที่ยวและพักผ่อนในประเทศของเราเปน็ อย่างมาก และปี 2563 ที่ผ่านมาธุรกิจโรงแรมสามารถสร้างรายได้ให้แก่ประเทศได้เป็นจำนวนมาก และนอกจากนี้ธุรกิจโรงแรมยังสามารถสรา้ งงานและอาชีพให้แก่คนในชุมชน นำรายได้เข้าสูป่ ระเทศ และสรา้ งเม็ดเงินหมนุ เวียนในระบบเศรษฐกิจ เปน็ แหล่งรับซื้อสนิ คา้ และผลิตภัณฑ์จากอุตสาหกรรม อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง อาทิอาหารและ เครื่องดื่ม ของที่ระลึก เฟอร์นิเจอร์ของประดับตกแต่ง ฯลฯ สนบั สนนุ กิจกรรมทางการทอ่ งเทีย่ วและสง่ เสรมิ การลงทนุ ในภมู ิภาคและยงั มีอีกหลายอย่างทเ่ี ป็นผลที่ เกิดจากการประกอบธุรกิจนำเที่ยวทั้งยงั เป็นการชักนำเศรษฐกิจไทยให้มีการพฒั นาไปข้างหน้า ทั้งยัง สร้างรากฐานคนในปนะเทศทุกคนให้ดีขึ้นให้ทุกคนในประเทศได้มีงานทำ และลดภาวการณ์ตกงาน เนื่องจากมีอาชีพหลากหลายอาชีพในสายอาชีพที่เป็นธุรกิจท่องเท่ียวที่พักแรม คอยรองรบั นักศึกษา ทุกคนที่จบมา ธุรกิจโกรงแรมจึงมีความสำคัญมากในการ สร้างรายได้ให้แก่ประเทศเพราะประเทศ ไทยเป็นเมืองท่องเที่ยวที่มีผู้คนมากมายหลากหลายเชื้อชาติต่างพากันมาเที่ยวชมความงามของ ธรรมชาติในประเทศไทยการสร้างรายได้แก่ประเทศจึงเป็นหน้าที่สำคัญของธุรกิจท่องเที่ยวโรงแรม ของไทย จังหวัดชยี งใหม่ จงั หวัดทม่ี ีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นในเรื่องศิลปะ วัฒนธรรม พิธกี รรม ความเช่ือ ศาสนา ซงึ่ มีการนำเอา วสั ดุท่ีพบเห็นในธรรมชาติมาปรับใช้ ในการดำรงชีวติ ประจำวนั ซึ่งภูมิปัญญาท่ี น่ากล่าวขานและน่าอนุรักษ์อีก 1 อย่างนั่นก็คือภูมิปัญญาทางด้านจากจักสานที่เป็นการนำไผ่จาก ธรรมชาติท่ีหาได้ง่ายนน้ั มาทำเป็นเส้น ๆ ท่ชี าวเหนือเรยี กกันว่า”ตอก” หลงั จากนำไผม่ าทำเป็นตอก

5 แล้วน้ันจงึ จะสานออกมาเป็นภาชนะหรือสงิ่ ของเครอ่ื งใชต้ ่างๆ ท่มี ีลวดลายท่สี วยงามประณีตและเป็น เอกลักษณ์เฉพาะในชิ้นงานแต่ละชิ้นเพราะแต่ละอย่างที่สานออกมานั้นจะมีลวดลายที่แตกต่างกัน ออกไป ส่งิ ของท่ีสานข้นึ มาน้นั เชน่ ตะกรา้ กระติบ พัด ซึ้งนงึ ข้าว และอกี มากมายที่ทำจากไผ่นอกจาก สิ่งของเครื่องใช้แล้ว สมัยก่อนยังมีการนำไผ่นี้ไปสร้างเป็นบา้ นพักท่ีอยู่อาศัยดังนั้นจึงจะเหน็ ได้ว่าไผ่ เป็นวัสดุที่สำคัญมากของชาวเชียงใหม่มาอย่างยาวนาน และเป็นวัสดุที่หาได้ง่าย ไผ่จึงเป็นอีก 1 เอกลักษณ์ทโ่ี ดดเด่นสวยงาม น่าศกึ ษา และควรคา่ แก่การรกั ษาไว้ซง่ึ ความเป็นกล่ินอายของเมอื งเหนือ อย่างแท้จริง นอกเหนือจากการอนุรักษณ์ไว้ซึ่งวัฒนธรรมทีส่ วยงามแล้วน้ัน ยังสามารถนำมาต่อยอก และพัฒนาไปเป็นธุรกิจได้อีกเช่นกัน ด้วยการนำเอกลักษณ์ท่ีโดดเด่นนี้ทำเป็นของที่ระลึกขายแก่ นักท่องเทีย่ วที่ชื่นชอบในศลิ ปะ ทเี่ ป็นงานหัตถกรรม หรือเปิดเปน็ ชมุ ชนงานฝีมือให้นักท่องเท่ียวได้มา เทยี่ วชม ไดม้ าศึกษาและไดซ้ มึ ซบั วัฒนธรรมล้านนา ผูจ้ ดั ทำโครงการจึงมองเห็นโอกาศและความสำคัญท่ีจะอนรุ กั ษภ์ ูมิปัญญาท้องถ่ินในเรื่องของ การจักตอกที่ได้จากวัสดุธรรมชาติที่มีอยู่มากในทางภาคเหนือนั้นและอยากให้สามารถใช้ได้อย่าง แพร่หลายในงานโรงแรมทางผู้จัดทำจึงคิดที่จะทำ Cocktail stick ขึ้นสืบสานและอนุรักษ์ไว้ซึ่งภูมิ ปญั ญาลา้ นนาของเองเหนือเราและอยากให้ศิลปะลา้ นนาที่สวยงามนแี้ พร่หลายไปยงั นกั ท่องเท่ียวท่ีมา เที่ยวได้เหน็ ถึงความสวยงามของงานฝีมอื ท่ีมคี วามประณีตและทำให้วฒั นธรรมที่เปน็ เอกลักษณ์ของ เมอื งเหนอื นี้ยงั คงอย่ตู ่อไปอกี ยาวนาน 2.1 Cocktail stick จากไผ่ 2.2 ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั ชนดิ หรอื ประเภทของไผท่ น่ี ยิ มนำมาสาน ไม้ไผ่ (Bamboo) เป็นวัตถุดิบจากธรรมชาติทีน่ ยิ มนำมาทำเครือ่ งจักสานกันแพร่หลายที่สดุ เพราะมีทั่วไปแทบทุกภาคของประเทศ ไม้ไผ่ในประเทศไทยมีหลายชนิด แต่ละชนิดมีคุณสมบัติที่ สามารถนำมาใช้ทำเครื่องจักสานได้ดแี ตกต่างกนั ไป โดยไผ่ที่นิยมนำมาใช้ในการจักสานหลักๆก็มอี ยู่ ไม่กชี่ นิดจากไผ่ท้ังหมด เพราะไผ่ท่นี ำมาผลิตเปน็ งานจักสานน้ัน จะตอ้ งมีลักษณะหรือคุณสมบัติที่ตง ตามความตอ้ งการของผ้ผู ลิต ดังนั้นไผ่ทน่ี ยิ มนำมาทำเครื่องจกั สานทัง้ หมดมีดงั น้ี

6 1) ไผ่บง ไผบ่ งแบ่งออกเป็น 2 ชนดิ คอื ไผ่บงปา่ และไผ่บงบา้ น ไผ่บงบ้าน ลำไผโ่ ตปานกลาง ปล้องยาวประมาณ 15 น้ิว แต่มาเกนิ 18 นิว้ ผิวคายหม่นเห็น ได้ชัด สันข้อและเนื้อไผ่หนา กไผ่ข้อนข้างหนาไม่อัดกันแน่นเกินไป เส้นผาศูนย์กลางลำต้น โดยประมาณ 4-5 น้ิว มักจะพบเห็นในหมู่บ้านชนบทท่ัวไป รปู ที่ 2.2 ไผบ่ งบา้ น https://www.google.com/search? ไผ่บงป่า ลำไผ่ค่อนข้างเล็กกว่าไผ่บงบ้าน แต่ปล้องไผ่จะยาวกว่าไผ่บงบ้าน ผิวคายหม่น เหมอื นกนั สนั ข้อจะตนื่ ไม่หนามากเหมือนไผ่บงบ้าน และมเี น้อื ไผ่ทห่ี นากวา่ ไผ่บงบ้าน ไผ่บงบ้านและ ไผ่บงป่า นั้นนิยมนำมาทำเครื่องจักสานหลายชนิด เพราะเส้นตอกเหนยี วและจักตอกได้ทีละหลายๆ ปล้อง โดยทั้วไปจะนำมาจักตอกแนวตะแคงเพราะจะได้เส้นตอกมากสามารถใช้สานตะกร้า กระบงุ กระดง้ รูปที่ 2.3 ไผ่บงปา่ https://www.google.com/search?

7 2) ไผซ่ าง ไผซ่ างแบง่ ออกเปน็ 2 ชนิด คือ ไผ่ซางบ้าน และ ไผซ่ างป่า ไผซ่ างบ้าน ลำไผ่โตปานกลาง ปลอ้ งไผย่ าวประมาณ 12 ถึง 16 นวิ้ ผิวไผ่ซางจะเขียวเป็นมัน สันข้อตน้ื เล็ก กอไผจ่ ะไม่อัดกันแน่นนกั เสน้ ผ่าศูนย์กลางประมาณ 4-5 นิ้ว เนือ้ ไผไ่ มห่ นาเท่าไผ่บงบ้าน พบเหน็ ได้ตามชนบทท่วั ไป รปู ท่ี 2.4 ไผซ่ างบา้ น https://www.google.com/search? ไผ่ซางปา่ ผาซางปา่ พบเหน็ ไดม้ ากในเขตป่าภาคเหนอื ตอนบน ใขเขตปา่ เขามีมากกว่าไผ่ชนิด อื่นๆ ขึ้นเป็นผืนป่าบรเิ วณกวา้ ง ผิวไผซ่ างป่าจะเขยี วเป็นมัน สันขอ้ ต้ืนเล็ก แต่เน้ือไผ่จะบางกว่าไผ่ซาง บ้าน รูปท่ี 2.5 ไผซ่ างป่า https://www.google.com/search? 3) ไผ่ไร่ เป็นไผ่ที่ขึ้นตามชายป่าเชิงเขา จะพบมากในเขตป่าเขาภาคเหนือตอนบน ลำต้นไม่ คอ่ ยโต เส้นผา่ ศูนย์กลางไม่เกนิ 2 น้ิว ผวิ ไผค่ ายไมเ่ ปน็ มัน ลำตน้ ไม่สูงมากนกั กอไผ่ทรงพุม่ แน่น ปล้อง ระหว่างขอ้ ไผค่ อ้ นขา้ งยาว จากโคนต้นข้ึนมาประมาณ 2 ฟตุ ลำต้นจะตนั หน่อไผ่ไรถ่ ือว่าเป็นหน่อไม้

8 เศษฐกิจ เพราะเป็นหนอ่ ไม้ที่มีคุณภาพและมีจำนวนมาก ไผ่ไร่ มกั นยิ มนำมาจักสาน ท่คี อ่ นข้างเน้นไป ทางงานละเอยี ด เพราะเส้นตอกนม่ิ และเหนยี วมาก เช่น กระตบิ ใสข่ ้าวเหนียว กระเป๋าไมไ้ ผส่ าน และ สามารถนำไปทำเครื่องเรือนได้ เช่น โตะ๊ เกา้ อี้ ชน้ั วางของ ลักษณะพิเศษของไผ่ไร่คือ ลำต้นจากโคน ต้นขน้ึ มาประมาณ 2 ฟุต สามารถดัดโค้งงอได้โดยการใชค้ วามรอ้ นในการดัดงอ รปู ที่ 2.6 ไผ่ไร่ https://www.google.com/search? 4) ไผเ่ ฮียะ เปน็ ไผ่ทีช่ อบขนึ้ ตามปา่ ชื้นเชิงเขาใกล้แหล่งน้ำ เป็นไผท่ ลี่ ำปล้องยาวมาก บางต้น มีลำปลอ้ งยาวถึง 4 ฟตุ กอไผ่ห่าง ผิวไผจ่ ะออกคายเหลอื ง หรือเขียวหม่นๆ ผิวไผไ่ มม่ นั เน้ือไผเ่ ฮียะจะ บาง สันข้อตื้น ลำต้นตั้งตรง ยาวประมาณ 6-8 เมตร สังเกตได้ว่าจะไม่มีแขนงไผ่ยื่นออกมาไผ่เฮียะ เปน้ ไผท่ ี่ใหเ้ นอ้ื ไผ่ไมม่ าก ลำตน้ กลวง นิยมนำมาสานเป็นฝากระท่อมในชนบท ไผเ่ อยี ะเป้นตวั ประกอบ ของงานจักสานไดเ้ ปน็ บางส่วน เพราะเนื้อไผเ่ มอ่ื แหง้ จะกรอบและหกั ง่าย รูปท่ี 2.7 ไผ่เฮียะ https://www.google.com/search? 5) ไผ่ขา้ วหลาม เป็นไผ่ท่ชี อบขึน้ ตามเชงิ เขาใกลแ้ หลง่ น้ำเหมอื นไผ่เฮียะ ผิวเปน้ คายออกเขียว จัด ไม้ข้าวหลามบางปล้องออกเขียวจัด ไม้ข้าวหลามบางปล้องยาวประมาณ 2 ฟุต แต่เนื้อไผ่ข้าว

9 หลามนั้นหนากว่าไผ่เฮียะ ไผ่ข้าวหลามนิยมนำมาทำเป็นกระบอกข้าวหลามในบางฤดู เส้นตอกจะ เหนียวและได้เส้นตอกที่กว้าง สามารถนำมาสานเป็น กระด้ง ตะแกรง ตอกมัดข้าว ถักเป้นเส้นเปีย นำมาเย็บเปน็ หมวก รปู ภาพที่ 2.8 ไผ่ขา้ วหลาม https://www.google.com/search? 6) ไผ่สสี กุ ไผส่ สี กุ เปน็ ไผท่ ก่ี อคอ้ นข้างใหญ่ ทรงแผ่ออกกวา้ ง มีแขนงหนามโดยรอบกอ จะพบ ใกล้แหล่งนำ้ ในชนบท ขึน้ ไม่ไกลจากหมบู่ า้ นมากนกั มกั จะเปน็ ไผ่ทีช่ าวบ้านนำไปปลกู แพร่ขยายพันธ์ุ ลำตน้ สงู ใหญ่ ผิวไผ่เปน็ มัน เส้นผ่าศูนยก์ ลางไม่เกิน 7 นิ้ว ปลอ้ งแตล่ ะปล้องยาวประมาณ 1-2 ฟุต ลำ ต้นต้ังตรง แขนงไผ่มาก เนื้อไผ่สีสุกมีความหนากว่าไผท่ ั้งหมดทก่ี ลา่ วมาขา้ งตน้ ทงั้ หมด ไผส่ สี ุกเป็นไผ่ท่ี คุณค่าในการจกั สานได้ทุกชนิดทั้งหมด นอกจากนีย้ ังสามารถนำไผส่ ีสุกมาทำเปน็ เครื่องเรือนไม่ไผ่ได้ อีกด้วย เปน็ ไผท่ ส่ี ามารถสรา้ งสรรค์งานได้ทง้ั งานหยาบและงานละเอียด เพราะเน้อื ไผ่ค่อยข้างเหนียว และทนทาน รปู ท่ี 2.9 ไผ่สีสุก https://www.google.com/search?

10 7) ไผ่รวก เป้นไผ่ที่พบเห็นได้ทั่วๆไป ทั้งไผ่รวกบ้านและไผ่รวกป่า ไผ่รวกบ้านจะนิยมปลูก ขยายพันธใ์ุ นเชิงธุรกิจได้ เพราะลำไผร่ วกบ้านนั้นลำใหญก่ ว่าไผ่รวกปา่ ไผร่ วกกอไมใ่ หญ่นกั ลำตน้ ตรง แขนงไผ่มีไม่มาก ลำต้นยาวถึง 12 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลางของลำต้นไม่เกิน 3-4 นิ้ว ไผ่รวกเป็นไผ่ เอนกประสงคส์ ามรถใช้งานได้หลายประเภท รูปท่ี 2.10 ไผร่ วก https://www.google.com/search? การนำไม้ไผ่มาจกั สานจะต้องคัดเลือกไม้ผาทีม่ ีลำตน้ ตรง ปลอ้ งยาว ไม่มีแมลงเจาะ อายุของ ไมไ้ ผป่ ระมาณ 2-3 ปี จงึ เหมาะกบั การนำมาจกั สานและควรนำไมไ้ ผ่ที่ตดั แล้วมาทงิ้ ไว้ประมาณ 5-10 วัน หากตัดไมไ้ ผ่ออกมาแลว้ นำมาผ่าและจักเป็นเสน้ ตอก เส้นตอกจะฉีกขาดง่ายเพราะมีน้ำในไผ่มาก จะต้องให้นำ้ ในไผร่ ะเหยออกไปบางส่วนก่อน จงึ จะจักตอกได้อยา่ งมีคณุ ภาพ อายขุ องไผ่ทจ่ี ะนำมาจัก สานไม้ไผ่ จะต้องมีอายุ 2-3 ปี จึงจะเหมาะสม ต้องคดั เลอื กไมไ้ ผ่ที่มีลำต้นตรง ปลอ้ งแต่ละปล้องของ ไม้ไผ่จะต้องยาว เป็นไม้ไผ่ที่สมบูรณ์ไมม่ ีแมลงเจาะ เมื่อนำมาจักสานแล้ว ต้องมีความเป็นมัน เส้นใย ของไผ่จะต้องมีความแน่นและเหนียว จะต้องจดจำไว้ว่าตัดไผ่มาจากแหลง่ ใด กอไผ่ใดที่มีคุณสมบัติ พิเศษดังทีก่ ล่าวมาแล้วหากต้องการไม้ไผช่ นิดนั้นๆแล้ว ควรไปตัดไผจ่ ากแหล่งเดมิ ควรจะมีการดแู ล รกั ษาพอควร เพราะจะเปน็ ประโยชน์ในการจักสานภายหนา้ การจักตอก เม่ือตัดไม้ไผแ่ ลว้ จะต้องท้ิงไว้ 10 วนั ข้ึนไปควรเก็บไวใ้ นที่รม่ อากาศถ่านเทได้สะดวกเพอ่ื ให้น้ำในไผ่ระเหยออกไปตามธรรมชาติ จึง จะนำไม่ไผม่ าตัดและจกั เป็นเสน้ ตอก จะไดเ้ สน้ ตอกที่เหนียวและได้เส้นตอกหลายเส้น เส้นตอกไม่ฉีก ขาดง่าย หากนำไมไ้ ผท่ ่ตี ดั มาสดๆ และนำมาจักเป็นเส้นตอกเลย ไม้ไผ่ในขณะนนั้ จะอุม้ น้ำไว้ในเนื้อไผ่ มาก เสน้ ใยของไมไ้ ผจ่ ะขยายตวั เต็มท่ีจะไดเ้ สน้ ใยทห่ี นาเปราะ ฉีกขาดงา่ ย การปอ้ งกนั เชื้อราโดยการ พึ่งแดดให้แห้ง ลงน้ำมนั วานิชใส และบรรจลุ งในถุงพลาสตกิ เก็บไว้ หรือเก็บไวใ้ นเต่อบเคร่ืองจักสาน ไมไ้ ผ่ ให้ความรอ้ นโดยวธิ ีการจุดไฟรมควนั ท้ิงไว้ 3-7 วัน ในอณุ หภูมิ 40 องศาเซลเซยี ส แล้วจึงนำมา เกบ็ ไว้ในถงุ พลาสติก มัดใหแ้ น่นเพ่อื ไมใ่ หเ้ กดิ ความชน้ื และเกิดเช้ือราขึ้นอีก

11 2.3 ประโยชน์และคณุ คา่ ของงานจักสาน คุณค่าของเครื่องจกั สาน ดังกล่าวแลว้ จะเห็นว่าเครื่องจักสานไทยในภาคต่างๆนั้นมีมากมาย หลายชนิด และมีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นท่ีแตกต่างกันไป ลักษณะเฉพาะถิ่นของเครือ่ งจักสานเหล่านั้น สะทอ้ นใหเ้ หน็ สภาพภูมิศาสตร์ของแต่ละท้องถิ่นสภาพการดำรงชีวติ ขนบประเพณี ความเชื่อ ตลอด จนถึงการนับถือศาสนาของกลุ่มชนที่ผลิตเครื่องจักสาน เครื่องจักสานจึงเป็นศิลปะหัตถกรรมที่มี คุณค่า ในฐานะท่ีเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของชุมชนท้องถิ่นต่างๆ ได้ดีอย่างหนึ่ง นอกจากน้ี เครื่องจักสานยังเป็นงานศิลปะหัตถกรรมที่สะท้อนให้เห็นภูมิปัญญาของชาวบ้านได้หลายอย่างเช่น สะทอ้ นให้เห็นความชาญฉลาดในการเลอื กสรรวัตถุดิบที่จะนำมาใช้ทำเครอ่ื งจักสาน ซ่ึงชาวบ้านจะมี ความรู้เกยี่ วกบั คุณสมบัติของวัตถุดิบแต่ละชนิดเปน็ อยา่ งดีแล้วนำมาดดั แปลงแปรรูปเป็นวัสดุที่ใช้ทำ เคร่ืองจักสานด้วยวธิ ีง่ายๆ แต่สนองการใช้สอยได้ดีเชน่ ชาวภาคใต้นำใบลำเจยี กหรอื ใบปาหนันมาจัก และสานเป็นเสือ่ กระสอบโดยนำใบลำเจยี กไปลนไฟให้ใบน่ิมก่อนที่จะจักเป็นเสน้ หรอื นำต้นลำเจียก ไปแช่โคลน แล้วรีดให้แบนหรือการจักไมไ้ ผ่เปน็ ตอกแบบต่างๆ ให้เหมาะสมที่จะใช้สานเคร่ืองจักสาน แตล่ ะชนดิ สงิ่ เหลา่ น้ีเป็นภูมปิ ญั ญาพนื้ บ้านท่ชี าวบา้ นเรยี นรูจ้ ากการสังเกตและการทดลองทำและสืบ ต่อกันมาแต่บรรพบรุ ษุ จนทำใหเ้ ครื่องจักสานแต่ละชนิด มีรูปแบบและประโยชน์ใช้สอยท่ีสมบูรณ์ลง ตัวด้วยคุณค่าอีกประการหนึ่งของเครื่องจักสานคือ คุณค่าทางศิลปะและความงาม เครื่องจักสาน หลายชนิดมีรูปทรง โครงสร้าง และลวดลายที่ลงตัวงดงามอย่างมากยากที่จะหาเครื่องมือเครื่องใช้ ประเภทอนื่ เทียบได้เลยเช่นก่องข้าวของภาคเหนือ และภาคอสี าน ซึ่งเป็นตัวอยา่ งของเครอื่ งจกั สาน ที่ ได้รับการออกแบบอย่างแยบยล สนองการใช้สอยได้เป็นอย่างดี ตั้งแต่การสานตัวก่องข้าวสองช้ัน เพือ่ ใหเ้ ก็บความรอ้ นได้ดีโดยไอรอ้ นจากขา้ วเหนยี วนงึ่ จะระเหยออกไปได้ตามรรู ะหวา่ งเส้นตอกอย่าง ช้าๆไมก่ ลายเป็นหยดนำ้ ท่ีจะทำให้ขา้ วเหนยี วแฉะและบูดหรือเสยี ไดง้ า่ ยกอ่ งข้าวจึงเป็นภาชนะที่เป็นที่ นิยมสำหรับใส่ข้าวเหนียวนึ่งได้และดีที่สุดซึ่งเป็นผลจากการออกแบบที่แยบยลของช่างพื้นบ้านที่ได้ ทดลองปรบั ปรุงสืบทอดกนั เร่ือย ๆ มาเป็นเวลานอกจากนรี้ ูปทรงของกอ่ งข้าวแต่ละทอ้ งถิ่นยังมีความ งดงามแตกต่างกนั ไปตามความนยิ มของแตล่ ะถิน่ ฐานดว้ ยคุณคา่ ทีส่ ำคญั อกี ประการหนง่ึ ของเคร่ืองจัก สานไทยดังเช่นงานจักสานอีกหลายๆอย่างคือคุณค่าในการแสดงออกทางอารมณ์และจิตใจของช่าง พื้นบ้าน เครื่องจักสานหลายชนิดของไทยสานอย่างละเอียดและประณีตซึ่งแสดงให้เห็นอารมณ์ที่ ละเอียดอ่อนของผู้สานได้เป็นอย่างดแี ละความละเอียดประณีตนน้ั เรม่ิ ตั้งแต่การแปรรูปวัตถุดิบ เช่น การจกั ตอกและเหลาหวายใหเ้ ป็นเส้นเล็กๆเพ่อื ใช้สานและถักสว่ นที่ต้องการความละเอยี ดประณีตของ เครื่องจักสานจนถึงการสานเป็นลวดลายซับซ้อนอย่างลายดอกพิกุลหรือลายสานของเครื่องจักสาน ย่านลิเภาเป็นต้น เครื่องจักสานไทยเป็นงานศิลปะหัตถกรรมที่มีคุณค่ายิ่งอย่างหนึ่งของไทยที่ทำสบื ทอดกันมาแต่โบราณ แม้ทุกวันนี้จะมเี ครื่องมือเคร่ืองใช้ ที่ทำจากโรงงานอุตสาหกรรมมากขึ้นก็ตาม แต่ก็ยังมีเครื่องมือเครื่องใช้หลายชนิดที่ไม่สามารถผลิตด้วยวัตถุดิบอื่นๆที่ผลิตด้วยเครื่องจักรตาม ระบบอุตสาหกรรมมาใช้แทนเครื่องจักสานได้ เช่น เครื่องจักสานประเภทก่องข้าวที่กล่าวแล้วไม่มี ภาชนะอืน่ ใดใส่ขา้ วเหนียวน่ึงไดด้ ีเท่ากอ่ งข้าวและกระติบทีส่ านด้วยไม้ไผ่ไม่มีเครื่องจับปลาที่ทำดว้ ย วตั ถุดิบอย่างอน่ื มาแทนที่ลอบไซสุ่มท่ี สานดว้ ยไม้ไผ่ได้สง่ิ เหล่าน้ี แสดงใหเ้ ห็นคุณลักษณะ พิเศษของ เครื่องจักสานที่มีคุณค่าในตัวเองยากที่จะใช้งานหัตถกรรมและอุตสาหกรรมอย่างอื่นทดแทนได้ด้วย เหตุนี้จึงทำให้เคร่ืองจักสานมีอายยุ ืนยาวสืบต่อกันมานานนับพนั ปแี ม้ในปจั จุบันการทำเคร่ืองจักสาน

12 จะลดจำนวนลงไปบ้างตามสภาพสงั คมวัฒนธรรมทีเ่ ปล่ียนจากสงั คมเกษตรกรรมมาเป็นสังคมเกษตร อุตสาหกรรม และก้าวต่อไปเป็นสังคมอุตสาหกรรมท่ีมีการผลิตสิ่งต่างๆ ด้วยมือจะต้องลดลงและ เปลี่ยนมาเป็นการผลิตด้วยเครื่องจักรกลก็ตามแต่เครื่องจักสานยังเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ที่ยังไม่ สามารถผลิตได้ด้วยเครื่องจักรกลเพราะการทำเครื่องจักสานต้องใช้ความชำนาญและความสามารถ เฉพาะตัวของช่างพื้นบ้านแตล่ ะถิน่ สง่ิ เหล่าน้ีเป็นคุณค่าพเิ ศษของเคร่อื งจักสานที่ต่างไปจากผลิตภัณฑ์ อื่นท่ีผลิตด้วยเครื่องจักร เครื่องจักสานจึงเป็นงานศิลปะหัตถกรรม ที่มีคุณค่าอย่างยิ่งอย่างหนึ่งของ ไทยทคี่ วรอนุรกั ษไ์ ว้และสืบทอดตอ่ ไปใหค้ นรุ่นหลังไดศ้ ึกษาตอ่ ไป 2.4 งานหตั ถกรรมจากไผล่ วดลายตา่ งๆ งานหตั ถกรรมไทยมีความผูกพันกบั ชวี ติ ชาวชนบทมานาน เนื่องจากสิง่ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ ตามภูมิศาสตร์ และการประกอบอาชีพเกษตรกรรมทม่ี อี ยู่มากทำใหเ้ กิดการสรา้ งเครอื่ งมอื เคร่ืองใช้ท่ี ทำขึ้นจากวัสดุพื้นบ้านที่สามารถผลิดขึ้นใช้เอง โดยใช้แรงงานในครอบครัวเป็นหลักสืบทอดกันมา อย่างยาวนานดังนั้นเครื่องจักสานจึงเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ที่สนองความต้องการในชีวิตประจำวัน อย่างแพร่หลาย อาทิเช่น การทอผ้า ภาชนะจากเครื่องปั้นดินเผา การทำจักสานต่างๆ ไว้ใช้ภายใน บ้าน เนื่องจากผลิตภัณฑ์เป็นวัสดุที่หาได้จากท้องถิ่น งานหัตถกรรมจึงคงความสำคัญที่ในการ แสดงออกมาถึงศิลปะที่แฝงไว้ด้วยวิถีชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรม ประเพณีของท้องถิ่น รวมถึง ลวดลายในการจักสานเพื่อขึ้นรูปทรงของเครื่องจักสานนั้นเป็นวิธีที่มแี บบแผน และมีระบบระเบียบ อย่างหนึ่ง เพอื่ การสร้างโครงสรา้ งของเครอื่ งจกั สานให้เกดิ การเชื่อมต่อซ้ำๆ กันไป โดยใชล้ ักษณะการ ขัดกันของเส้นตอกหรอื วัสดุอื่นๆ ที่ใช้จักสานได้ เพื่อให้เกิดการยืดเหนียวระหว่างกันจนเปน็ ผืนแผ่น เพื่อเป็นผนังของโครงสร้างเครื่องจักสานตามต้องการซึ่งลวดลายที่เกิดขึ้นถือได้ว่าเ ป็นการปรับปรุง และแก้ไขของมนุษย์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยมนุษย์นั้นพบว่าสิ่งที่ธรรมชาติสร้างให้มีความไม่ เหมาะสมสอดคล้องต่อการนำไปใช้งาน มนุษย์จึงเริ่มต้นปรับปรุงเปลี่ยนแปลงลักษณะรปู ทรงของส่งิ ต่างๆ รอบตัว และกรที่มนุษย์ดัดแปลงรูปทรงของส่ิงแวดล้อมนับว่ามนุษย์ได้เร่ิมต้นการออกแบบใน รูปแบบใหม่ๆเพ่ือสนองตอ่ ความตอ้ งการใชง้ านตามทมี่ นุษย์ต้องการ มนษุ ย์จึงดดั แปลงธรรมชาติทม่ี ีใน รูปต่างๆที่แตกต่างกันในการดัดแปลงวัสดุธรรมชาติยังสะท้อนให้เห็นความชาญฉลาดในการเลือก วัตถุดิบที่จะนำมาใช้ทำเครื่องจักสานซึ่งชาวบ้านจะมีความรู้ เกี่ยวกับวัตถุดิบแต่ละชนิดเป็นอย่าง ดี แลว้ นำมาดัดแปลงแปรรูปเปน็ วัสดุที่ใช้ทำเครื่องจักสาน แตต่ อบสนองการใช้สอยได้ดี จากการศึกษา และวิเคราะห์รูปแบบลวดลายจากหัตถกรรมเครื่องจักสานพื้นบ้านประเภทเครื่องใช้ในท้องถ่ิน ภาพรวมของรูปแบบของลวดลาย พบวา่ รูปแบบที่เกิดขึ้นจากภมู ิปัญญา ของชาวบ้านภายในท้องถ่ินที่ สืบทอดกันมานั้นเป็นการสร้างรูปแบบเพือ่ ใช้ในการดำรงค์ชีวติ ประจำวัน กำลังจะสูญหายไปเพราะ เหตเุ นื่องมาจาก ความเปลยี่ นแปลงทางสงั คม ผลงานเหล่าน้ันมรี ูปแบบท่ีสอดคลอ้ งกันกับการใช้งาน และเปน็ ลกั ษณะเฉพาะของเคร่ืองจักสานแต่ละชนดิ ผลงานที่เกิดข้ึนตามธรรมชาติ ปราศจากการปรุง แต่งนี้กำลังจะหายไปหากมนษุ ยย์ งั ไม่ช่วยกันอนุรกั ษ์ทั้งนี้จึงนำเอาตัวอยา่ งลวดลายที่เป็นท่ีนิยมและ สวยงามจากลวดลายทั้งหมด 860 ลาย มาเพียง 18 ลายที่มนุษย์นิยมมากในกรสานภาชนะตามท่ี ต้องการใช้สอย

13 1) ลายสามขึ้นลง เป็นลวดลายที่ได้จากภาชนะประเภทเครื่องใช้ภายในบ้าน คือหวดนึ่งข้าว มลี กั ษณะทรงจัว่ ใชล้ ายขดั สาม และสอง เปน็ ตัวประสานของตัวภาชนะใช้เพอ่ื นึงขา้ วเหนียว รูปที่ 2.11 ลายสามขึ้นลง https://www.google.com/search? 2) ลายดีหล่ม เป็นลายที่อยู่ส่วนท้ายของตะกร้าหาบของ โดนเป็นทรงกระบอกก้นสอบเป็น สีเ่ หล่ียมใชห้ าบของไดส้ ารพัด และใช้ไดท้ ั้งการห้วิ และการหาบคอน รปู ท่ี 2.12 ลายดหี ลม่ https://www.google.com/search?

14 3) ลายครุ เป็นลายที่อยู่ด้านข้างของครุซึ่งมีรูปทรงเป็นทรงกระบอก ก้นสอบเป็นทรงคล้าย ตะกร้าหาบ โดยใชต้ ักและหาบของ รูปท่ี 2.13 ลายครุ https://www.google.com/search? 4) ลายครบุ เป็นลายทพี่ บบนภาชนะท่ีใชน้ งึ่ ข้าว คือ มวย ซ่ึงมีลกั ษณะทรงกระบอกส่วนล่าง จะแคบ มีลักษณะคล้ายๆกับหวดนึ่งข้าวเหนี่ยวแต่จะใช้ปริมาณได้มากกว่าและแข็งแรงทนทานกว่า หวด เพราะมวยนนั้ มคี วามหนาจากการสานถงึ สามช้นั รปู ที่ 2.14 ลายครบุ https://www.google.com/search?

15 5) ลายก้นลิง เป็นลายสานทีอ่ ยู่ส่วนทา้ นของกระติบข้าวเหนียว โดยกระติบนัน้ มีรูปทรงเปน็ ทรงกระบอกสงู คล้ายกระป๋องมีลักษณะคลา้ ยกอ่ งข้าวแตไ่ ม่มขี า สำหรับใส่ขา้ วเหนียวนงึ่ รูปที่ 2.15 ลายกน้ ลงิ https://www.google.com/search? 6) ลายสาม เป็นลวดลายทพ่ี บบนภาชนะเครอื่ งใช้ภายในบ้าน คอื กระจาด ซึง่ เปน็ ภาชนะใส่ ของไปในสถานท่ีต่างๆมรี ูปทรงเป็นปากกลมก้นสอบเปน็ ส่เี หล่ียม รปู ท่ี 2.16 ลายสาม https://www.google.com/search?

16 7) ลายกระด้งฝัด เป็นลายคล้ายลายขัดแตะ ซึ่งเป็นลายเดียวที่ใช้ทำกระด้ง โดยกระด้งมี รูปทรงกลมแบน ใช้สำหรับฝัดสิ่งที่ไม่ต้องการออกจากสิ่งที่ไม่ต้องการเช่น ฝัดเปลือกข้าวออกจาก เมลด็ ข้าว หรอื เมล็ดพันธ์ุพืชตา่ งๆ รปู ท่ี 2.17 ลายกระดง้ ฝดั https://www.google.com/search? 8) ลายตาแหลวมืด เปน็ ลายท่ีพบบนส่วนปดิ ของกอ่ งขา้ ว มีความเหน่ียวและทนทาน โดยกอ่ ง ข้าวมีรูปทรงเป็นทรงกระบอก ตรงกลางมีลักษณะเป็นป่องผายออกมา มีฝาปิดมีขาหรือฐาน จากไม้ เปน็ กากบาทไคว้ รูปท่ี 2.18 ลานตาแหลวมดื https://www.google.com/search?

17 9) ลายสองขนึ้ ลง ลายสองขึ้นลง จักสานทใี่ ชอ้ ยูใ่ นภาชนะภายในบ้าน คอื กระชอน และหวด นึ่งขา้ วเหนยี ว โดยใช้กรองกะทิ กรองเศษวสั ดทุ ี่ไม่ตอ้ งการต่างๆ โดยมีรปู ลักษณะเป็นครงึ่ วงกลม รูปท่ี 2.19 ลายสองขนึ้ ลง https://www.google.com/search? 10) ลายขา้ งกระแต เปน็ ลายที่นำเอารปู แบบทางธรรมชาตมิ าประยุกใช้ สว่ นมากมักนยิ มสาน บนกระติบขา้ วเหนียว เพือ่ ความสวยงาม รูปที่ 2.20 ลายข้างกระแต https://www.google.com/search?

18 11) ลายตาแหลว(ลายเฉลว) เป็นลายของชะลอมบรรจขุ า้ วของเคร่ืองใช้ จะประกอบดว้ ยเสน้ ตอกท่ใี ช้สานจำนวน 3 เส้น วางขดั กันในแนวทแยง เป็นลายทีม่ ีความเกี่ยวขอ้ ง กับคตินิยมความเชื่อ ของคนไทย ทมี่ มี าแต่โบราณกาลอกี ดว้ ย รปู ท่ี 2.21 ลายตาแหลว https://www.google.com/search? 12) ลายสอง เป็นลายทีพ่ บบนตะกรา้ หาบของและกระจาด ตามหนา้ ทีใ่ ช้สอยท่คี ล้ายคลงึ โดย ใช้ใส่ของได้สารพดั โดยท้งั สองภาชนะมสี ว่ นคลา้ ยคลึงกนั คือปากกลม กน้ สอบกนั เปน็ ส่เี หล่ียม รูปที่ 2.22 ลายสอง https://www.google.com/search?

19 13) ลายหนว่ ย เปน็ ลายท่พี บบนฝาชี ซ่ึงจะอยู่ดา้ นข้างของฝาชี ซงึ่ เปน็ ภาชนะปดิ ครอบ อาหารโดยฝาชีเปน็ รปู ทรงจั่ว โดยมีลกั ษณะทต่ี ่างกันที่ยอดฝาชีทีท่ งั้ มจี กุ และไมม่ จี กุ รปู ที่ 2.23 ลายหนว่ ย https://www.google.com/search? 14) ลายดอกผกั แวน่ เปน็ ลายทน่ี ำเอารปู แบบธรรมชาติมาประยกุ ตใ์ ช้ สว่ นมากมกั นิยมสาน บนกระติบข้าวเหนยี วเพ่อื ความสวยงาม รูปที่ 2.24 ลายดอกผกั แว่น https://www.google.com/search?

20 15) ลายขอ เป็นลายทีป่ ระยกุ ตข์ ึ้นมาใหม่ ซง่ึ จะแตกต่างจากลายขอทอ้ งถ่ินอ่นื ดว้ ยเรือ่ งการ ยกขึ้น-ลง ของเส้นตอกตา่ งจากลายขอก่าย ทีเ่ ปน็ ลายดั้งเดิม มักนิยมสานบนลายกระติบข้าวเหนยี ว เพื่อความสวยงาม รูปท่ี 2.25 ลายขอ https://www.google.com/search? 16) ลายขิต เปน็ ลายด้งั เดมิ ของท้องถน่ิ พบไดท้ ัว่ ไปแต่ลายขิต ทบ่ี ้านหนองขอน รูปแบบ ลวดลายต่างจากทอี่ น่ื ๆ เน้นความเรียบง่าย ไม่ประณตี มากนกั ถา้ เทียบกบั ลายขิต จากทอ้ งถนิ่ อื่นมี ลักษณะตัวงานของลวดลายที่ชดั เจน รปู ที่ 2.26 ลายขิต https://www.google.com/search?

21 17) ลายปลา ลายปลาเป็นลายท่ีนำเอารูปแบบทางธรรมชาตขิ องปลามาประยุกต์ใช้ สานเป็นก ลุมจงั หวะเว้นจังหวะ มักนิยมสานบนกระตบิ ข้าวเหนียว เพอื่ ความสวยงาม รูปที่ 2.27 ลายปลา 2.5 แนวคิดและทฤษฎคี วามพงึ พอใจ อุทยั พรสุขใจ ( ปี 2545 ) ได้กล่วถงึ ความพงึ พอใจวา่ เป็นความรู้สกึ รักชอบเตม็ ใจ หรอื มีเจตคติ ท่ีดขี องตัวบคุ คลตอ่ สิ่งใดสง่ิ หนงึ่ ความพอใจจะเกดิ เมาได้รบั การตอบสนองต่อความต้องการ ท้ัง ด้าน วัตถุและด้านจิตใจ ความพึงพอใจเป็นเรื่องเกี่ยวกับอารมณ์ ความรู้สึกและทัศนะของบุคคล อัน เนื่องมาจากสิ่งเร้าและสิ่งจูงใจ โดยอาจเป็นไปในเชิงประเมินค่า ว่าความรู้สึกหรือทัศนคติต่อสิ่ง เหลา่ น้ันเปน็ ไปในทาง ลบหรือบวก ราชบณั ฑติ ยสถาน ( ปี2546 ) ไดก้ ล่าวถึง ความหมายของคำว่าพ่ึงพอใจ ดังน้ี คำว่า ”พงึ ” เป็น คำกริยาอ่นื หมายความวา่ ยอมตาย เชน่ พึงใจ และคำวา่ “พอใจ” หมายถงึ สมชอบ ชอบใจ กชกร เป้าสุวรรณ และคณะ ( ปี 2550 ) ได้กล่าวถึง ความหมายของความพึงพอใจว่าส่ิงท่คี วร จะเปน็ ไปตามความตอ้ งการ ความพึงพอใจเปน็ ผลของการแสดงออกของทัศนคติของบุคลอีกรูปแบบ หนึ่ง ซึ่งเป็นความเอนเอียงของจิตใจที่มีประสบการณ์ที่มนุษย์เราได้รับอาจจะมากหรอื น้อยไป และ เป็นความรู้สึกที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นไปได้ทั้งทางบวกและทางลบ แต่ก็เมื่อได้สิ่งนั้นสามารถ ตอบสนองความต้องการ หรือทำให้บรรลุจุดมุ่งหมายได้ ก็จะเกิดความรู้สึกบวก เป็นความรู้สึกที่พึง พอใจ แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าสิ่งนั้นสร้างความรู้สึกผิดหวัง ก็จะทำให้เกิดความรู้สึกทางลบ เป็น ความรสู้ กึ ไมพ่ งึ พอใจ Applewhite (ปี1965) ได้กล่าวถึงความพึงพอใจ เป็นความรู้สึกส่วนตัวของบุคคลในการ ปฎบิ ตั งิ าน ซ่ึงรวมไปถงึ ความพงึ พอใจเป็นความรู้สกึ ส่วนตัวของบุคคลในการปฎบิ ัติงาน ซึ่งรวมไปถึง ความพงึ่ พอใจในสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพดว้ ย การมีความสุขท่ีทำงานร่วมกบั คนอ่ืนทเ่ี ข้ากัน ได้ที ทัศนคตทิ ่ีดตี อ่ งานด้วย กู๊ด (Good, 1973) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพ คุณภาพ หรือระดับความพึง พอใจซึง่ เป็นผลมาจาก ความสนใจต่าง ๆ และทศั นคติที่บุคคลน้นั มีต่อสงิ่ น้ัน

22 โอลิเวอร์ (Oliver, 1997) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจ คือการตอบสนองที่แสดงถึง ความรูป้ ะสงคข์ องลูกค้าเป็นวิจารณญาณของลกู ค้าท่ีมตี ่อสนิ ค้าและบริการ ความพึงพอใจมีมุมมองท่ี แตกตา่ งกันแล้วแต่มุมมองของแต่ละคน โวลแมน (Wolman, 1973) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่มีความสุขเม่ือ ได้รบั ผลสำเร็จตามจุดม่งุ หมาย ความต้องการหรือแรงจงู ใจ เคลิร์ก (Quirk, 1987)ความพึงพอใจหมายถึงความรู้ที่มีความสุขหรือความพอใจเมื่อได้รับ ความสำเรจ็ หรือได้รบั สิ่งที่ตอ้ งการ ฮอร์นบ้ี (Hornby, 2000)ความพงึ พอใจหมายถงึ ความรู้สึกท่ีดีเมอ่ื ประสบความสำเร็จหรือไต้ รับสิง่ ท่ีต้องการใหเ้ กดิ ข้นึ เปน็ ความร้สู ึกที่พอใจ วริ ฬุ พรรณเทวี (2542, หนา้ 111) ไดใ้ ห้ความหมายความพงึ พอใจ หมายถึงความรสู้ กึ ภายใน จิตใจของมนุษยท์ ่ไี ม่เหมือนกนั ข้นึ อย่กู บั แต่ละบุคคลวา่ จะคาดหวงั กบั ส่งิ หน่งึ อยา่ งไร ถา้ คาดหวงั หรอื มี ความตั้งใจมากและได้รบั การตอบสนองด้วยดจี ะมคี วามพงึ พอใจมาก แต่ในทางตรงกนั ขา้ มอาจผดิ หวัง หรือไม่พึงพอใจเป้นอยา่ งยิง่ เมอ่ื ไมไ่ ด้รบั การตอบสนองตามที่คาดหวงั ไว้ทั้งนี้ข้ึนอยู่กับส่ิงท่ีตนตั้งใจไว้ ว่ามมี ากหรอื นอ้ ย สรุ ยิ ะ วริ ยิ ะสวัสด์ิ (2530, หน้า 42 อ้างถงึ ใน ปราการ กองแกว้ , 2546, หน้า 17) ได้ให้ความ หมายความพึงพอใจหลังการให้บริการของหน่วยงานของรัฐของเขาว่า ระดับผลที่ได้จากการพบปะ สอดคล้องกบั ปัญหาที่มอี ยหู่ รอื ไม่ ส่งผลดีและสร้างความภมู ิใจเพยี งใด และสร้างความภูมิใจเพยี งใด สาโรช ไสยสมบัติ (2534, หน้า 18 อ้างถึงใน ปราการ กองแก้ว,2546, หน้า 17)ความพึง พอใจเป็นปัจจยั สำคัญประการหน่ึงที่ช่วยทำให้งานประสบผลสำเร็จ โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นงานที่ เกยี่ วกับการใหบ้ ริการ นอกจากผูบ้ รหิ ารจะดำเนินการให้ผูท้ ำงานเกิดความพงึ พอใจในการทำงานแล้ว ยังจำเป็นต้องดำเนินการที่จะทำให้ผู้ใช้บริการเกิดความพึงพอใจด้วยเพราะความเจริญก้าวหน้าของ การบริการเป็นปจั จยั ที่สำคัญประการหนึ่งท่เี ปน็ ตวั บ่งชี้ถงึ จำนวนผมู้ าใช้บริการ ดังน้ันผู้บริหารท่ีชาญ ฉลาดจึงควรอย่างยิง่ ที่จะศกึ ษาให้ลึกซ้ึงถึงปัจจัยและองค์ประกอบต่างๆที่จะทำให้เกิดความพงึ พอใจ ทงั้ ผ้ปู ฏิบัติงานและผ้มู าใชบ้ รกิ าร ราณี เชาวนปรีชาศ์ (2538, หน้า18 อ้างถึงใน วฤทธิ์ สารฤทธิคาม, 2548, หน้า 31)กล่าววา่ ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือปัจจัยต่างๆที่ เกี่ยวข้องความรู้สกึ พึงพอใจจะเกดิ เมื่อความต้องการของบุคคลที่มีตอ่ สิ่งใดสิ่งหนึ่งหรือปัจจัยต่างๆท่ี เกยี่ วข้องความรู้สึกพึงพอใจจะเกดิ ขนึ้ เมื่อความตอ้ งการของบุคคลไดร้ บั การตอบสนองหรือบรรลุตาม จุดมงุ่ หมายในระดบั หน่ึง ความร้สู ึกดงั กล่าวจะลดลงหรอื ไม่เกิดขน้ึ หากความตอ้ งการหรอื จดุ มุ่งหมาย นั้นไม่ได้รับการตอบสนอง ความพึงพอใจต่อการใช้บริการจึงเปน็ ความรู้สึกของผูท้ ี่มารับบริการมีตอ่ สถานบรกิ ารตามประสบการณ์ทีไ่ ด้รับจากการเขา้ ไปติดต่อขอรบั บรกิ ารในสถานบริการนน้ั ๆ อรรถพร คำคม (2546, หน้า 29) ไดส้ รุปวา่ ความพึงพอใจ หมายถงึ ทัศนคตหิ รือระดับความ พึงพอใจของบุคคลต่อกิจการรมต่าง ๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพของกิจกรรมนั้น ๆโดยเกิด

23 จากพนื้ ฐานของการรับรู้ค่านยิ มและประสบการณท์ ่ีแต่ละบุคคลจะไดร้ ับ ระดับของความพึงพอใจจะ เกิดขึน้ เมอ่ื กิจกรรมนนั้ ๆ สามารถตอบสนองความตอ้ งการแก่บุคคลน้ันได้วฤทธ์ิ สารฤทธิคาม (2548, หน้า 32 อ้างถึงใน รัตนศักดิ์ ยี่สารพัฒน์, 2551, หน้า 6) ได้ให้ความหมายความพึงพอใจว่า เป็น ปฏิกิริยาด้านความรู้สึกต่อสิ่งเร้าหรอื สิ่งกระตุ้นที่แสดงผลออกมาในลักษณะของผลลัพธ์สุดทา้ ยของ กระบวนการประเมนิ โดยแบ่งออกถึงทศิ ทางของผลการประเมนิ ว่าเป็นไปในลกั ษณะทิศทางบวกหรือ ทิศทางลบหรอื ไมม่ ีปฏิกริ ยิ า เชลลี่ (Shelli, 1995, p. 9 อ้างถึงใน ปราการ กองแก้ว,2546, หน้า 17) ได้ศึกษาแนวคิด เกี่ยวกับความพึงพอใจ สรุปได้ว่าเป็นความรู้สึกสองแบบของมนุษย์ คือ ความรู้สึกในทางบวกและ ความรู้สึกในทางลบ ความรู้สึกในทางบวกเป็นความรู้สึกที่เมื่อเกิดขึ้นแล้วทำให้ความรู้สึกที่มีระบบ ย้อนกลบั และความสุขน้ีสามารถทำให้เกิดความสุขหรือความรู้สึกทางบวกเพิ่มข้ึนได้อีก ดังน้ันจะเห็น ได้ว่าความสุขเป็นความรู้สึกที่สลับซับซ้อนและความสุขนี้จะมีผลต่อบุคคลมากกว่าความรู้สึกใน ทางบวกอนื่ ๆ ความรู้สกึ ทางลบ ความรูส้ ึกทางบวกและความสุขมีความสัมพนั ธก์ นั อย่างสลับซับซ้อน และระบบความสัมพันธ์ของความรู้สึกทั้งสามนี้เรียกว่าระบบความพึงพอใจ โดยความพึงพอใจจะ เกิดขึ้นเมื่อระบบความพึงพอใจมีความรู้สึกทางบวกมากกว่าความรู้สึกทางลบทฤษฎีความต้องการ ตามลำดบั ขัน้ ของมาสโลว์ (Maslow, 1970 อ้างถงึ ใน รงั สรรคฤ์ ทธ์ผิ าด,2550, หน้า 23) แชลลี่(Shelly,1985อ้างใน กรรณิการ์ จันทร์แก้ว,2538, หน้า21) สรุปได้ว่าความพึงพอใจ เป็นความรู้สึกสองแบบของมนุษย์คือความรู้สึกในทางบวกและความรู้สึกทางลบ ความรู้สึกทางบวก เป็นความรู้สกึ ทเ่ี ม่ือเกิดขึน้ แล้วจะทำใหเ้ กิดความสุขความสุขนี้เปน็ ความรูส้ ึกที่แตกต่างจากความรู้สึก ทางบวกอื่น ๆ กล่าวคือเป็นความรู้สึกที่มรี ะบบย้อนกลับ ความสุขเป็นความรู้สึกที่สลับซับซ้อนและ ความสุขนี้จะมีผลต่อบุคคลมากกว่าความรู้สึกทางบวกอื่น ๆ ของบุคคลจะเกิดขึ้นเมื่อความต้องการ ได้รับการตอบสนองในระดับหนึ่งเมื่อเกิดความต้องการบุคคลจะตั้งเป้าหมายเพื่อให้บรรลุความ ต้องการความพึงพอใจของบุคคลจะแตกต่างกันตามสภาพแวดล้อมทางกายภาพและลักษณะส่วน บคุ คล ศิริวรรณ เสรีรัตน์และคณะ(2538)ได้กล่าวว่าความพึงพอใจของลูกค้าเป็นระดับความรู้สึก ของลูกคา้ ที่มีผลจากการเปรียบเทียบระหว่างผลประโยชนจ์ ากคณุ สมบัติผลิตภณั ฑ์หรือการทำงานของ ผลิตภัณฑ์กับการคาดหวังของลูกค้าหรือระหว่างการรับรู้ต่อการปฏิบัติงานของผู้ให้บริการกับการ คาดหวังของลูกค้าหรือบริการที่ลูกค้าคาดหวังระดับความพึงพอใจของลูกค้าเกิดจากความแตกต่าง ระหว่างผลประโยชนจ์ ากการบริการกับความคาดหวังของบุคคล ซ่ึงความคาดหวงั ดงั กล่าวนั้นเกิดจาก ประสบการณ์และความรู้ในอดีตของแต่ละบุคคลอาทิจากเพื่อน จากนักการตลาด หรือจากข้อมูลคู่ แข่งขันเป็นต้น ฉะนั้นสิ่งสำคัญที่ทำให้ผู้ให้บริการประสบความสำเร็จก็คือการเสนอบริการที่มี ผลประโยชนส์ อดคล้องกับความคาดหวังของลกู ค้าผู้ใช้บรกิ ารโดยยดึ หลกั การสรา้ งความพึงพอใจรวม สำหรับลูกค้า ส่วนผลประโยชน์จากการบริการเกิดจากการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้า ส่วน ผลประโยชน์จากการบริการเกิดจากการสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าโดยการสร้างคุณค่าเพิ่มเกิด

24 จากการทำงานร่วมกันกับฝ่ายต่าง ๆ ของผู้ให้บริการโดยยึดหลักการสร้างคุณภาพรวม เกิดจากการ สร้างความแตกต่างทางการแข่งขันของการบริการโดยให้บริการที่แตกต่างจากคู่แข่งขันและความ แตกต่างต้องมีคุณค่าในสายตาของลูกค้าและสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้ าได้ซึ่งอาจเป็นความ แตกต่างด้านผลิตภัณฑด์ ้านบริการ ด้านบุคลากรและด้านภาพลกั ษณ์ซ่ึงความแตกต่างเหล่าน้ีจะเปน็ ตวั กำหนดคณุ คา่ เพมิ่ สำหรับลูกคา้ ธรี กิติ นวรัตน ณ อยุธยา(2547)ไดก้ ล่าวถึงแนวคดิ แนวคดิ ความพงึ พอใจของลูกค้าว่าความพึง พอใจของลูกค้าจะเกิดจากประสบการณ์จากการให้บริการอย่างเต็มที่จนสุดความสามารถลูกค้าจะ รสู้ กึ วา่ คุ้มค่าทไี่ ดม้ าใช้บรกิ ารความพึงพอใจสำหรับการบรกิ ารนัน้ สร้างไดย้ ากกวา่ สินคา้ เนื่องจากคุณภาพของสินค้าที่เป็นสิ่งที่พัฒนามาแล้วอยู่นิ่งไม่เปลี่ยนแปลงแต่คุณภาพการ บริการขึ้นกับพนกั งาน ซึ่งแปรเปลี่ยนไปตามอารมณ์และสถานการณ์ต่าง ๆ หรือลูกค้าท่ีมาใช้บริการ บางรายอาจจะมีความต้องการเฉพาะที่มากเกินความต้องการที่ต้องการที่พนักงานจะให้บริการได้ อย่างเต็มทจ่ี งึ ทำให้เกดิ ความไมพ่ อใจ ดังนัน้ ปัจจัยหลกั ในการสร้างความพึงพอใจมี3 ประการ ดงั น้ี - ผู้รบั บริการมีความต้องการและความคาดหวังสำหรบั การบริการท่ีแตกต่างกันไปในแตล่ ะคน รวมทัง้ ความตอ้ งการน้นั ยังเปล่ียนไปสำหรับการบริการแตล่ ะครัง้ - ผู้ให้บริการความพึงพอใจของลูกค้ามีผลจากความรู้ความสามารถความพร้อมในด้านกาย และอารมณใ์ นขณะใหบ้ รกิ ารรวมถงึ ความเตม็ ใจในการให้บรกิ ารใหบ้ รกิ ารของพนกั งาน - สภาพแวดล้อมอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น อากาศแสงแดด เก้าอี้โต๊ะ สิ่งเหล่านี้มีผลต่อความพึง พอใจของลูกค้าที่มารับประทานอาหาร หรือเข้ามาใช้บริการในสถานที่ที่มาใช้บริการยิ่งไปกว่าน้ัน ความพงึ พอใจของลูกคา้ ยงั มผี ลจากจำนวนลูกค้าท่ีมาใชบ้ รกิ ารดว้ ยแถวทยี่ าวเหยยี ดของธนาคารในวัน ศกุ ร์ย่อมสร้างความไมอ่ ยากใช้บรกิ าร 2) การวดั ระดับความพงึ พอใจของลกู ค้าหรอื ผใู้ หบ้ รกิ ารสามารถทำได้ 2 วธิ ีคือ - วัดจากการสอบถามความคิดเหน็ ของลูกคา้ หรือผู้ใช้บริการเป็นการวัดระดบั ความพึงพอใจ ของลูกค้าหรือผู้ใช้บริการจากการสอบถามความคิดเห็นของลูกค้าหรือผู้ใช้บริการโดยตรงทำได้โดย กำหนดมาตรวดั ระดับความพึงพอใจท่ีลูกค้าหรือผู้ใช้บริการทม่ี ีต่อคุณภาพของสินค้าหรอื บรกิ ารน้ัน ๆ และกำหนดเกณฑ์ชี้วัดระดับความพึงพอใจจากผลการวัดระดับความพึงพอใจเฉลี่ยที่ลูกค้าหรือ ผู้ใชบ้ รกิ ารท่ีมีต่อคุณภาพของสินคา้ หรือบรกิ ารน้ัน ๆ - วัดจากตัวช้ีวัดคณุ ภาพการให้บรกิ ารทก่ี ำหนดขน้ึ โดยการวัดระดับความพึงพอใจของลูกค้า หรือผู้ใช้บริการจากเกณฑ์ชี้วัดระดับคุณภาพสินค้าหรือบริการที่กำหนดขึ้นนี้อาจใช้เกณฑ์คุณภาพ ระดับต่าง ๆ ที่กำหนดขึ้นโดยผู้ให้บริการผู้ประเมินผลการให้บริการและมาตรฐานกลางหรือ มาตรฐานสากลของการใหบ้ รกิ ารนนั้ สรุปความพึงพอใจ คือ การทำให้ความรู้สึกของบุคคลที่ได้รับบริการในสิ่งที่ดีเป็นที่พอใจ ประทบั ใจ ตามทผ่ี รู้ ับบริการต้ังใจ ไวห้ รือมากกว่าที่คิดไว้ การจะทำให้เกิดความรู้สึกพึงพอใจได้หน่วย ให้บริการต้องวางระบบโครงสร้างที่ดี สอดคล้อง สัมพันธ์กันทุกฝ่าย เช่น ด้านเครื่องมือเครื่องใช้ท่ี

25 ทันสมัย ดา้ นบุคลากรทีม่ ีความรู้ความสามารถเข้าใจในหมีหน้าทีแ่ ละตอ้ งมีใจรักในการใหบ้ รกิ าร ด้าน สถานที่สะอาดพนื้ ท่ีเหมาะสมกับการให้บริการ มีความเช่ือม่นั และมั่นใจเมื่อมารับบรกิ าร ซึ่งส่ิงเหล่าน้ี เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งจากองค์ประกอบอีกหลาย ๆ ด้านที่จะนำไปสู่จุดสูงสุดในเรื่องความพึง พอใจ 3) สรุปประเด็นเกี่ยวกับความพงึ พอใจดังน้ี - ความพึงพอใจเป็นการเปรียบเทยี บความรสู้ กึ กบั ความคาดหวงั - ความพงึ พอใจเปน็ การเปรียบเทียบความรูส้ ึกกบั สงิ่ เรา้ - ความพึงพอใจเปน็ การเปรียบเทียบความรู้สึกหรือทศั นคตกิ บั สง่ิ ทไี่ ดร้ บั - ความพึงพอใจเปน็ การเปรยี บเทียบประสบการณก์ บั การคาดหวงั 2.6 งานวิจยั ทเ่ี กย่ี วข้อง โครงการ Cocktail stick ผู้จัดทำได้โครงการได้ศึกษาค้นคว้าบทความและงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง กบั โครงการดงั น้ี ปิยตา สุนทรปิยะพันธ์ ( ปี 2560 ) กลุ่มผลิตภัณฑ์จักสานกระจูดบ้านห้วยลึกใช้กลยุทธ์การ สื่อสารเพื่อถ่ายทอดภูมิปัญญาการจักสานกระจูดผ่านสื่อต่าง ๆ เพื่อให้มีความเหมาะสมต่อ สถานการณแ์ ละเกิดประสิทธิภาพได้แก่ การถา่ ยทอดภูมิปญั ญาการจกั สานกระจดู ผ่านสอ่ื บุคคล โดย เป็นการสื่อสารผ่านสมาชิกกลุ่ม เพื่อให้เกิดความหลากหลายในการนำเสนอข้อคิดเห็น มีแนวทางใน การดำเนินงานและแก้ไขปญั หาทีห่ ลากหลายซึ่งสอดคล้องกับ ขวัญชีวา ส่างหลวง (2552) ที่กล่าววา่ การสอ่ื สานทหี่ ลากหลายช่วยให้เกดิ การมีสว่ นรว่ มและเปลีย่ นแปลงในระดับใดระดับหนึง่ หรือในด้าน ใดด้านหนึ่งกับบุคคลที่ตนสื่อสารด้วย เช่น การเปลี่ยนแปลงการรับรู้การเปลี่ยนแปลงความเช่ือ ทัศนคติ และพฤติกรรมของบุคคล กลุ่ม หรือสังคม เป็นต้น ทั้งยังสอดคล้องกับแนวคิดเกี่ยวกับการ พัฒนาอย่างยั่งยืน ที่ว่าการพัฒนาอย่างยั่งยืนจะมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม (Participation) จากทุกภาค ส่วนหรือภาคีการพัฒนาตั้งแต่เริ่มต้นของการกำหนดนโยบาย การวางแผน และการจัดทำโครงการ รวมทั้งการติดตามประเมนิ ผล สมาชิกกลุ่มผลิตภัณฑ์จักสานกระจูดบ้านห้วยลึกนั้นประกอบไปด้วย กลุ่มนักพัฒนาและกลุ่มนักวิชาการ เปรียบเสมือนผู้นำทีม (Tame leader) ทำหน้าที่ขับเคลื่อนการ ทำงานของกลุ่มผลติ ภัณฑ์จกั สานกระจูดบ้านห้วยลกึ คอยให้คำปรึกษาและพัฒนาศกั ยภาพของสมาชิก ตลอดจนเป็นผอู้ อกแบบกิจกรรมท่ใี ช้ในการถา่ ยทอดภูมิปญั ญาการจกั สานกระจูด นอกจากนี้ยังเป็นผู้ ประสานงานในเรื่องต่างๆ ภายนอก รวมถึงเป็นผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาการจักสานกระจูดโดยการเปน็ วทิ ยากรอกี ดว้ ย ผลการวิจยั สอดคลอ้ งกบั แนวคดิ ของนนทญา หงสร์ ตั น์ (2520) ทีว่ ่านอกจากนี้ยังเป็น การกำหนดกลยุทธ์การใช้สื่อโดยจะพิจารณาถึงวิธีการใช้สื่อ เป็นการพิจารณาถึงวิธีการเข้าถึงของ กลุ่มเป้าหมาย และวิธีการประยุกต์ใช้สื่อให้เกิดผลตามที่ต้องการและประเภทของสื่อ เป็นการ พิจารณาว่าจะใช้สื่ออะไร อย่างไร เพื่อให้มีความสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ส่ิงแวดล้อม วัฒนธรรม และชว่ ยใหบ้ รรลวุ ัตถปุ ระสงค์

26 ไพรฑูรย์ ง้ิวทั่ง จากการประเมินประสิทธิภาพของระบบ มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการใช้ งานระบบว่าสามารถตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้มากน้อยเพียงใด ระบบมีข้อจำกัดที่ควรจะ ปรับปรุงอยา่ งไรโดยรูปแบบการประเมนิ จะใช้วิธีการสัมภาษณ์ และ แบบสอบถามจากกล่มุ คนที่สนใจ ฝกึ การถักสานจำนวนื30 คนโดยแบ่งหัวข้อที่ใชป้ ระเมนิ เป็น 3 สว่ น ประกอบไปด้วยข้อมูลของผู้ตอบ แบบสอบถามประสิทธิภาพการใช้งานของโปรแกรมและข้อเสนอแนะแนวทางในการปรับปรุงระบบ โดยในด้านการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของโปรแกรมวิเคราะห์ลายเครื่องจักนั้นพบว่าโปรแกรมที่ พัฒนาขึ้นมีความสามารถ ในการถ่ายทอดลายเครื่องจักสาน ถ่ายทอดรูปแบบการถักสาน และ สามารถเชื่อมโยงเว็บเพจทั้งไป และ ย้อนกลับ(function requirement test) ได้คะแนนเฉลี่ยถึง 4.33 คะแนน (เต็ม 5 คะแนน) ด้าน function test ได้แก่ความถูกต้องในการนำเสนอลานเครื่องจกั สานการเช่อื มโยงเว็บเพจและการทำงานในภาพรวมได้รับคะแนนเฉลยี่ 4.51 สำหรับการประเมินด้าน usability test ได้แก่ความง่ายค่อการทำความเข้าใจลายเครื่องจักสานและความสยงามชัดเจนและ กราฟฟิก ข้อความทีแ่ สดงได้รบั คะแนนเฉลี่ย 4.23 โดยผุ้ใช้ได้แสดงความคิดเห็นว่าระบบท่ีพัฒนาขึ้น ควรใส่เสียงเข้าไปเพอ่ื ประกอบการบรรยาย และตัวหนังสือไม่ชัดเจน ไมเ่ หมาะกบั ผู้สูงอายุปและเมื่อ ประเมินด้าน performance test ที่เกี่ยวกับความในการนำเสนอเนื้อหา การเชื่อมโยงเวบ็ เพจได้รับ คะแนนเฉลี่ย 4.46 แต่อย่างไรก็ตามจากการสัมภาษณ์พบว่า ผู้ใช้มีความคิดเห็นว่าการมีโปรแกรม แนะนำและสอนถักเครื่องจกั สาน สามารถได้ด้วยตนเองโดยไม่ตอ้ งให้ผู้เช่ียวชาญในหมู่บ้านชว่ ยสอน อีกทั้งยังเป็นฐานขอ้ มูลในการจัดเก็บลายเครื่องจักสานอย่างเปน็ ลายลกั อักษร ซึ่งถ้าปราชญ์ชาวบา้ น และผู้ถ่ายทอดเสียชีวิต ภูมิปัญญาท้องถิ่นจะเกิดการสูญเสีย งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาระบบ สารสนเทศเก็บรวบรวมลายเคร่ืองจักสาน สำหรับเผยแพร่ผา่ นอินเทอร์เน็ต โดยระบบไดร้ วบรวมลย เครื่องจักสานชนดิ ลายขัด ลายสอง ลายสาม ท่เี ป็นตวั แทนของหมวก กระเปา๋ เครื่องครัว และตะกร้า ไว้ในระบบสารสนเทศลายเครื่องจักสานจากการนำระบบสารสนเทศเครื่องจักสานไปประยกุ ใช้กบั ผู้ ทดลองใชจ้ ำนวน 30 คน เพื่อประเมินประสทิ ธภิ าพของโปรแกรม ในด้านต่างๆ 4 ดา้ น คอื function Requirement test ,function test , Usability test , performance test พบว่าความพึงพอใจใน ภาพรวมของโปรแกรมวิเคราะห์ลายเคร่อื งจักสานอยู่ในระดับดีและผู้ใช้ให้ความเหน็ ว่าโปรแกรมน้ีจะ เปน็ พื้นฐานความรู้ในการนำไปเปน็ ความรู้ในการถกั สานได้จริง อรนุตฎฐ์ สุธาคำ ผลการวิจัย พบว่า ชุมชนหมู่ 4 บ้านป่างิ้ว เป็นกะเหรี่ยงปกาเกอะญอ หรือ สะกอร์ มีเอกลักษณ์ของที่แสดงถึงความเป็นตัวตนของกะเหรี่ยงปกาเกอะญอ ซึ่งถูกสร้างขึ้นบน พื้นฐานของวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตความเป็นอยู่ และ การยอมรับร่วมกัน และถือปฏิบัติสืบตอ่ กนั มา จนกลายเป็นวัฒนธรรมการดำรงชวี ิตของคนในชุมชน บา้ นป่างิว้ อาชพี หลักคือ เกษตรกรรม ทำนาปีละครั้ง อาชีพเสริมกลุ่มผู้หญิงทอผ้าและกลุ่มผู้ชายจักสาน ภาษา ใช้ภาษากะเหรี่ยงในการ สื่อสารภายในชุมชน ประธานกลุ่มและสมาชิกบางคนได้เรยี นภาษาไทยและพดู อ่าน เขียนภาษาไทย ได้ สามารถส่ือสารกับบคุ คลภายนอกได้ วฒั นธรรมการแต่งกาย จะแตง่ กายชดุ กะเหรย่ี ง สะพายย่าม เด็กหรือหญิงสาวที่ยังไม่แต่งงานจะใส่ชุดยางขาว ปักลวดลายด้วยเส้นด้ายทอ ไม่ปักลูกเดือย ส่วน ผหู้ ญิงทแี่ ตง่ งานแลว้ จะใส่เสื้อผ้ามีสีสนั ทที่ อเอง ปกั ลวดลายและปักลูกเดอื ย ผู้ชายท้ังเด็กและผู้ใหญ่ จะใสเ่ ส้ือยาง มสี สี ันสดใส วิถกี ารดำรงชีวติ ความเปน็ อยู่ เปน็ ชนเผ่ากลมุ่ อนุรักษ์ที่ยังใช้ภูมิปัญญาพ้ืน ถิน่ รกั ษาความเช่ือ ประเพณี อาคารบ้านเรือนปัจจุบนั จะเป็นเหมือนบ้านพ้นื ราบ แต่ยังคงมีลักษณะ

27 ของกะเหรี่ยง คือ สร้างแบบมีการยกพื้นสูงมีใต้ถุนบ้าน เอกลักษณ์ของชนเผ่าจะปรากฏในลวดลาย ของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกายและเครื่องใช้สอยในชีวิตประจำวัน ซึ่งได้แก่ เครื่องมือที่ใช้หาอาหาร เช่น ปลอกมีดพร้า กระบงุ เก็บผัก เก็บกงิ่ ไม้ทำฟืน กระตบิ ขา้ วเหนียว เขง่ ใส่สตั ว์เลยี้ ง เป็ด ไก่ และยังพบว่า นักท่องเทย่ี วท่ีเข้ามาในหมู่บ้านปา่ งิ้ว เป็นผูบ้ รโิ ภคท่นี ิยมสินค้ากลุ่มชาตพิ ันธ์ุ สว่ นใหญ่มคี วามต้องการ ซื้อสนิ คา้ กลุ่มชาติพันธ์ไุ ปใชใ้ ส่ของ ใชใ้ นการตกแตง่ ที่พกั อาศัย และ ซ้อื เปน็ ของฝากของที่ระลึก ช่วง ที่นักท่องเที่ยวไม่เขา้ มาเทีย่ วเลย คือ ช่วงฤดูฝน ส่วนฤดูหนาว จะมาเยี่ยมชมมากที่สดุ และจากการ สัมภาษณ์ประธานกลุ่มและสมาชกิ กลุ่ม พบปญั หาของผลิตภณั ฑ์จักสานท่ีจำหน่ายดงั นี้ สินค้ามีความ ประณีตในบางรูปแบบ ผลิตภัณฑ์มีรูปแบบไม่หลากหลาย ไม่มีความแปลกใหม่ และขาดเอกลักษณ์ ของชุมชน ผู้วิจัยได้ออกแบบภายใต้กรอบแนวคดิ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทีม่ ีเอกลักษณ์ของชมุ ชนเพอื่ เพิ่มมูลคา่ ใหก้ ับผลิตภัณฑ์ มีรูปแบบทีท่ ันสมัยสอดคล้องกับความต้องการซือ้ ของนักท่องเที่ยวที่นิยม สินค้ากลุ่มชาติพันธุ์ และ มี ป้ายสินค้า (tag) ที่ช่วยให้จดจำกลุ่มง่ายและสามารถกลับมาซื้อใหม่ได้ โดยใช้หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ ผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจักสานสำหรับงานตกแต่ง และใช้สอย มีจำนวน 6 รูปแบบ ได้แก่ โคมไฟแขวน ตะกร้าแขวน ตะกร้า กระเป๋า พร้อมป้าย สนิ คา้ ผลการประเมนิ ความเหมาะสมของรูปแบบผลงานออกแบบผลิตภัณฑแ์ ละป้ายสินค้า โดยกลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบ มีความเห็นว่าเหมาะสมระดับมากที่สุด เพราะมีการเปลี่ยนแปลง รูปแบบและลวดลายเดิมๆ ให้เป็นงานที่แปลกใหม่มีความทันสมัย มีเอกลักษณ์ของชุมชน รูปแบบ เหมาะสมกบั ประโยชน์ใชส้ อย ใช้งานสะดวก และมคี วามเปน็ ไปได้ในการผลติ

28 บทท่ี 3 วิธีดำเนนิ การวิจัย การดำเนนิ โครงการกระเป๋าใสข่ วดนำ้ ผ้าลายเทยี น มีวัตถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือประดิษฐ์ Cocktail stick จากไผ่ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งาน Cocktail stick ซึ่งผู้จัดทำโครงการได้ดำเนิน การศึกษาดังนี้ 3.1 การคดั เลือกกล่มุ ตัวอยา่ ง 3.2 เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการดำเนินโครงการ 3.3 ขัน้ ตอนการดำเนินโครงการ 3.4 การเก็บรวบรวมข้อมลู 3.5 การวิเคราะห์และสรปุ ผล 3.1 การคัดเลอื กกลมุ่ ตัวอย่าง โครงการเรื่อง Cocktail stick โดยผู้จัดทำใช้วิธีการในการ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ( Purposive sampling ) เป็นการเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยพิจารณาจากการตัดสินใจของผู้วิจัยเอง ลักษณะของกลุ่มท่ีเลือกเป็นไปตามวตั ถุประสงค์ของการวิจัย คอื กลุ่มผูท้ ดลองใช้งาน Cocktail stick จำนวน 50 คน 3.2 เคร่อื งมือที่ใช้ในการดำเนนิ โครงการ 1) แบบบันทึกผลการทดลอง 2) แบบสอบถามความพึงพอใจ ผู้จัดทำโครงการใช้แบบบันทึกการทดลอง แบบสอบถามความพึงพอใจ เป็นเครื่องมือเพ่ือ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง เพื่อสอบถามความคิดเห็นของกลุ่มตัวอย่าง หลังจากนั้นผู้จัดทำ โครงการจะจัดทำแบบสอบถามความพงึ พอใจในการใช้ Cocktail stick ดงั น้ันผูจ้ ดั ทำโครงการได้แยก แบบสอบถาม ออกเปน็ 3 ส่วน ดงั น้ี สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู สว่ นบุคคลของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยสอบถามเก่ียวกับเพศ อายุ สว่ นท่ี 2 ข้อมลู เกยี่ วกับความพึงพอใจของผู้ใช้ Cocktail stick ผจู้ ดั ทำโครงการได้ใช้มาตรา วดั แบบ Rating scale 5 ระดบั ตามมาตรวดั แบบลิเคิรท์ (Likert’Scale) ในการ

29 วัดระดับความพงึ พอใจ ดังน้ี 5 หมายถงึ มากท่สี ดุ 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อยหรอื ตำ่ กว่ามาตรฐาน 1 หมายถงึ น้อยที่สุดหรือตอ้ งปรบั ปรงุ แกไ้ ข สว่ นท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะซง่ึ เปน็ คำถามปลายเปดิ เพ่ือใหผ้ ู้ตอบแบบสอบถามแสดงความคิดเห็น เกณฑ์การประเมินแบบสอบถามความคิดเห็น มี 5 ระดบั โดยผจู้ ัดทำโครงการได้เลอื กวธิ ีการของ เร็น สสิ เอลเิ คิรท์ ดังนี้ (Likert’Scale,Rating scale A.2504) 4.50 - 5.00 หมายถึง เห็นด้วยอยู่ระดับมากท่สี ดุ 3.50 - 4.49 หมายถึง เห็นด้วยอยู่ระดบั มาก 2.50 - 3.49 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยอยู่ระดบั ปานกลาง 1.50 - 2.49 หมายถึง เหน็ ด้วยอยรู่ ะดับนอ้ ย 1.00 - 1.49 หมายถึง เห็นด้วยอยรู่ ะดบั น้อยมาก การสร้างเคร่อื งมือในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู คร้ังนี้ โดยมกี ารสรา้ งเครื่องมอื ดังนี้ - ศึกษาคน้ ควา้ เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง เพ่ือกำหนดแนวทางในการสร้างเครื่องมอื ในการศึกษาให้ ครอบคลมุ เนื้อหาท่กี ำหนด - จดั ทำแบบสอบถามเพอ่ื ใช้ในการเก็บข้อมลู เกี่ยวกับ Cocktail stick - ตรวจสอบแบบสอบถาม โดยปรกึ ษาอาจารย์ผู้สอนเก่ียวกับความถูกต้องของแบบสอบถาม และขอ้ ควรแกไ้ ขของแบบสอบถามเพอ่ื นำไปใช้ในการเก็บขอ้ มูลทถ่ี ูกต้อง - ปรับปรุงแก้ไขแบบสอบถามตามที่ควรแก้แล้วเสนอต่ออาจารย์อีกครั้งเพือ่ ตรวจเช็คความ ถูกต้องอีกครั้งก่อนจะนำไปใชใ้ นการเกบ็ ขอ้ มูล 3.3 ขนั้ ตอนการดำเนินงาน 1) การวางแผน (P) - กำหนดชื่อเร่ืองและศึกษารวบรวมข้อมูลปญั หา ความสำคญั ของโครงการ - เขียนแบบนำเสนอโครงการ - ขออนมุ ัติโครงการ 2) ข้นั ตอนการดำเนนิ การ (D) - ศกึ ษา Cocktail stick ประเมินผลและปรบั ปรงุ ครง้ั ท่ี 1 - ศกึ ษา Cocktail stick ประเมนิ ผลและปรบั ปรุง ครัง้ ท่ี 2 - ศึกษา Cocktail stick ประเมนิ ผล ครัง้ ท่ี 3 3) ข้นั ตอนการตรวจสอบ (C) - กลมุ่ ประชากรใชง้ าน Cocktail stick - ประเมนิ ผลความพึงพอใจของการใช้ Cocktail stick

30 4) ข้นั ประเมินติดตามผล (A) - สรปุ ผลการประเมินความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ Cocktail stick - จดั ทำเลม่ โครงการ - นำเสนอโครงการ 3.4 การวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ผล ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวม ผู้จัดทำโครงการได้ทำการตรวจสอบความเรียบร้อยของ แบบสอบถาม และนำขอ้ มูลมาประมวลผลดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์สำเรจ็ รูป สำหรับการคิดค่าร้อย ละ การหาคา่ เฉล่ยี (������̅) และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) ดงั นี้ 1) การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนที่ 1 ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยการแจกแจง ความถี่และร้อยละ สตู รการหาค่ารอ้ ยละ คา่ ร้อยละ = ความถที่ ต่ี ้องการเปรยี บเทยี บ x 100 จำนวนรวมทง้ั หมด 2) การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนที่ 2 แบบสอบถามความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างคณะครู บุคลากร นักเรยี น-นักศึกษา ในวทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาเชยี งใหม่ ในการวิเคราห์ได้แก่ การหาค่าเฉลย่ี (������̅) และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน (S.D) × =∑ n × แทน คา่ คะแนนเฉล่ีย ∑ แทน ผลรวมของคะแนนทงั้ หมด n แทน ขนาดของกลมุ่ ตัวอย่า

31 สตู รการหาคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐาน S.D.√n ∑ x2 [∑ x]2 n(n-1) เม่อื S.D. แทน ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐานของคะแนนของกล่มุ ตัวอย่าง [∑ x]2 แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดยกกำลังสอง ∑ x2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตัวอย่างยกกำลงั สอง n แทน ขนาดของกลุม่ ตวั อยา่ ง

32 บทที่ 4 ผลการศึกษา ในการศึกษาผลิตภัณฑ์ Cocktail stick สืบสานภูมิปัญญา มีวัตถุประสงค์ เพื่อประดิษฐ์ Cocktail stick เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใชง้ าน Cocktail stick ในการศกึ ษามีผลการดำเนิน ดัง หัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ 4.1 สรปุ ขัน้ ตอนการทำ Cocktail stick 4.2 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูลสว่ นบคุ คล 4.3 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของผ้ใู ช้ Cocktail stick 4.4 การจัดลำดับผลการวิเคราะหค์ วามพงึ พอใจของผใู้ ช้ Cocktail stick 4. 5 ผลสรปุ ขอ้ เสนอแนะ 4.1 สรุปข้นั ตอนการทำ Cocktail stick องคป์ ระกอบ - ตอก - ไม้จิ้ม - กาว อปุ กรณ์ - กรรไกร - กาว - ไม้จิ้มในการทำ - มีด วิธกี ารทำ 1. การทำตอก รูปที่ 4.1 ตอ

33 2.นำตอกทไี่ ด้มาพับคร่ึง รปู ท่ี 4.2 พบั ครึ่งตอก 3.นำตอกท่พี ับแล้วมาเสียบใหแ้ บ่งออกเปน็ 4 มมุ รปู ที่ 4.3 พบั เปน็ 4 มมุ

34 4.แบง่ จาก 4 มมุ ให้เพิ่มเปน็ 8 มุม รูปท่ี 4.4 พับเปน็ 8 แฉก 5. นำมาเสียบไม้ รปู ท่ี 4.5 เสยี บไม้

35 6. จับตอกเส้นใดเส้นหน่ึงแล้วนบั ไปอกี 4 แลว้ พาดไปในระหวา่ งชอ่ งที่ 4 รูปท่ี 4.6 พาดไป 4 อัน 7. ทำวนไปจนเหลอื เสน้ สุดทา้ ย ให้นำเส้นท่ีเหลอื ใหเ้ สยี บเขา้ ไปในช่องแรกของตอกเสน้ แรก ท่พี าด และทำอย่างนน้ั กบั เส้นที่เหลือทกุ เสน้ จนหมด รปู ท่ี 4.7 พาทใหค้ รบทุกชอ่ ง

36 8. ดงึ ตอกทุกเสน้ ใหแ้ นน่ รปู ท่ี 4.8 ดึงตอกให้แน่น 9. เม่ือดงึ ทกุ เสน้ จนแน่นแลว้ ใหก้ ลับดา้ นอีกดา้ นขึ้นมา รปู ท่ี 4.9 กลับด้สนมาทำอกี ด้าน

37 10. จับตอกเส้นใดเส้นหนึ่งแลว้ นับไปข้างหนา้ 3 เส้นแล้วพาดไประหว่างช่องทำวนไปจนครบ ทกุ ช่อง รูปที่ 4.10 กลบั ด้าน 11. เสน้ ทเี่ หลือทไ่ี มม่ ีชอ่ งใหพ้ าดใหน้ ำไปเสียงท่ีช่องของตอกอนั แรกทพ่ี าดเช่นเดิมแล้วทำจน หมดทุกเส้น รปู ท่ี 4.11 เสียบลอดชอ่ งที่พาด

38 12. ดึงตอกทกุ เสน้ ให้ตงึ และจดั รูปทรงให้สวยงาม รูปท่ี 4.12 ดึงตอกให้ตึง 13. ตัดตอกในส่วนท่ีไม่ตอ้ งการออกจากการดงึ รูปที่ 4.13 ตัดส่วนที่ไมต่ ้องการ

39 14. เสียบไม้และติดกาว รูปท่ี 4.14 เสยี บไม้ รูปที่ 4.15 ติดกาวเพ่ือยดึ ให้แน่น

40 4.2 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู สว่ นบุคคล จากการศกึ ษา Cocktail stick สืบสานภมู ิปญั ญา ผศู้ กึ ษาไดว้ เิ คราะห์ขอ้ มูลส่วนบคุ คลซึ่ง ประกอบด้วยข้อมลู เกี่ยวกบั เพศ และช่วงอายุ ซึง่ ผลการวิเคราะหป์ รากฏดังนี้ ตารางที่ 1 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบคุ คลดา้ นเพศ เพศ จำนวนคน รอ้ ยละ ชาย 24 48.00 หญงิ 26 52.00 รวม 50 100.00 จากตารางท่ี 1 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลสว่ นบุคคลด้านเพศ ผู้ศึกษาได้สรุปผลการ วิเคราะห์พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 52.00 และเพศชาย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 48.00 ตามลำดับ ตารางที่ 2 ตารางแสดงผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลส่วนบุคคลดา้ นอายุ ร้อยละ อายุ จำนวนคน 52.00 15-20 26 48.00 20-30 24 0.00 30-60 0 100.00 รวม 50 จากตารางท่ี 2 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลสว่ นบุคคลด้านอายุ ผศู้ กึ ษาได้สรุปผลการ วเิ คราะห์พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามส่วนใหญ่อยใู่ นช่วงอายุ 15-20 ปี คดิ เป็นรอ้ ยละ 52.00 รองลงมา ชว่ งอายุ 20-30 คดิ เปน็ ร้อยละ 48.00 และชว่ งอายุ 30-60 คดิ เปน็ ร้อยละ 0.00 ตามลำดบั 4.3 ผลการวเิ คราะหค์ วามพงึ พอใจของผูใ้ ช้ Cocktail stick สืบสานภูมปิ ญั ญา การศึกษาครั้งนี้ผู้ศกึ ษาได้ศึกษาเร่อื ง Cocktail stick สืบสานภมู ปิ ญั ญา โดยการหาค่าเฉล่ีย (������̅) และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D) จากแบบสอบถามความพงึ พอใจผลติ ภัณฑ์ Cocktail stick สบื สานภูมิปญั ญา ข้อมลู ปรากฏดงั น้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook