Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบสุริยะ..

ระบบสุริยะ..

Published by popdew111, 2021-03-13 04:11:12

Description: ระบบสุริยะ..

Search

Read the Text Version

ดวงอาทติ ย์ (The Sun) เป็นดาวฤกษ์ที่อยตู่ รงตาแหน่งศูนย์กลางของระบบสรุ ยิ ะ และเป็นศนู ย์กลางขอแรงโน้มถว่ ง ทาใหด้ าวเคราะหแ์ ละ บรวิ ารท้ังหลายโคจรลอ้ มรอบ

ดาวพธุ (Mercury) ดาวพุธเปน็ ดาวเคราะหด์ วงลาดบั แรกในระบบสุรยิ ะ (Solar system) คือเป็นดาวเคราะห์ทอ่ี ยูใ่ กล้ดวงอาทิตยม์ ากทีส่ ุด ดาวพุธเปน็ ดาวท่ี สวา่ งมากเมอ่ื มองจากโลกแต่วา่ สามารถสังเกตเห็นไดย้ ากเนอื่ งจาก ดาวพุธอย่ใู กลด้ วงอาทิตย์มากคือมีระยะหา่ งเชิงมุม (มองจากโลก) ไม่เกนิ 28 องศา เราสามารถสังเกตเห็นดาวพุธไดเ้ พียงไม่ก่ีวนั ใน 1 เดอื น ซ่ึงจะสงั เกตเหน็ ดาวพธุ ได้ในชว่ งหัวค่า(หลังจากดวงอาทิตย์ ตกดิน)หรือตอนเช้ามืด(ก่อนดวงอาทติ ยข์ นึ้ )

ดาวศกุ ร์ (Venus) ดาวศกุ ร์เป็นดาวดวงทสี่ องในระบบสุรยิ ะและเป็นดาวเคราะหใ์ นระบบ สรุ ิยะทม่ี คี วามคล้ายคลึงกับโลกมากทส่ี ดุ ในเรอื่ งของขนาด มวล และความ หนาแน่น บางคนจึงเรียกดาวศกุ รว์ า่ ดาวฝาแฝดหรอื ดาวนอ้ งสาวของโลก แต่ ดาวศุกรก์ ็มคี วามแตกต่างจากโลกอย่างสิน้ เชิงในเร่ืองของชั้นบรรยากาศทีม่ ี ความหนาแน่นสงู และเตม็ ไปด้วยแกส๊ คาร์บอนไดออกไซด์ กลุ่มเมฆทป่ี ระกอบ ไปด้วยกรดซัลฟรุ กิ และอณุ หภมู ิท่ีร้อนจดั ถึง 464 องศาเซลเซียสซง่ึ สงู ท่ีสดุ เมือ่ เทียบกับดาวเคราะหอ์ ื่นในระบบสุริยะ

โลก (Earth) โลกทอ่ี ยอู่ าศยั ของมนษุ ยเ์ รานัน้ เปน็ ดาวเคราะห์ลาดบั ท่ี 3 ใน ระบบสรุ ิยะ โลกเป็นดาวเคราะห์ท่มี ีขนาดใหญท่ สี่ ุดในบรรดาดาวเคราะหห์ นิ ท้ังสใี่ นระบบสรุ ยิ ะ(ได้แก่ ดาวพธุ ดาวศกุ ร์ โลก และ ดาวองั คาร) โลก นนั้ ถือกาเนิดเม่ือ 4.54 พันล้านปมี าแลว้ โดยในปจั จบุ นั โลกถือวา่ เป็นดาว เคราะห์เพียงดวงเดยี วทม่ี ีสิ่งมชี ีวติ อาศยั อยู่ เน่ืองจากโลกมีชั้นบรรยากาศทมี่ ี ออกซเิ จนและมีน้าท่มี ีความจาเปน็ ตอ่ การดารงชีวติ อีกทง้ั ยังมีสนามแม่เหล็ก โลกท่ปี ้องกันการแผร่ ังสตี า่ ง ๆ ทเี่ ป็นอนั ตรายจากอวกาศอกี ดว้ ย

ดาวอังคาร (Mars) ดาวองั คารเป็นดาวเคราะหใ์ นลาดบั ท่ีสี่จากดวงอาทติ ย์ และเปน็ ดาว เคราะห์ลาดบั สดุ ทา้ ยของดาวเคราะหห์ นิ บางครัง้ เรามักเรยี กดาวอังคารวา่ \"ดาวแดง\" (Red Planet) เนอื่ งจากดาวอังคารปรากฏเปน็ สีแดงคล้ายสี โลหติ พ้ืนผิวของดาวองั คารจะมีความแตกต่างระหวา่ งหบุ เหวทล่ี กึ มากและ ภูเขาไฟที่สงู มากท่ีสดุ เมือ่ เทยี บกับดาวเคราะหอ์ ืน่ ในระบบสุริยะ พืน้ ผวิ ของ ดาวองั คารในปจั จบุ ันมคี วามแหง้ แลง้ แตก่ ็มีหลักฐานทเ่ี ช่ือได้วา่ ดาวอังคารเคย มีนา้ มาก่อน

ดาวพฤหัสบดี (Jupiter) ดาวพฤหัสบดีเปน็ ดาวเคราะหด์ วงท่ีใหญท่ ่สี ดุ ในระบบสุรยิ ะ มนี ้าหนกั ประมาณ 2.5 เทา่ ของนา้ หนกั ของดาวเคราะห์ดวงที่เหลือในระบบสุริยะรวมกัน และมีจ้านวนดาว บริวารทมี่ ากทีส่ ดุ อีกด้วย เมอื่ มองจากโลกแลว้ ดาวพฤหัสบดีจะมคี วามสว่างมากทีส่ ดุ เปน็ อนั ดับท่สี ี่รองจากดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทรแ์ ละดาวศุกร์ (อยา่ งไรก็ตามในบางวันอาจจะเห็น ดาวอังคารมคี วามสว่างมากกวา่ ดาวพฤหสั บดี มีบริวาร 63 ดวง โดยมี 4 ดวงใหญเ่ รียง กันอยใู่ นแนวเสน้ ศูนย์สตู ร ซ่ึงกาลิเลโอเป็นนักดาราศาสตร์คนแรกท่ีใช้กล้องสอ่ งพบ บรวิ ารสดี่ วงใหญ่นเี มอ่ื ค.ศ. 1610 จึงไดร้ บั เกยี รตวิ า่ เป็นดวงจันทรข์ องกาลิเลโอ (Galilean moons) ซง่ึ ได้แก่ Callisto Io Europa และ Ganymede

ดาวเสาร์ (Saturn) ดาวเสารเ์ ป็นดาวเคราะหล์ ้าดบั ที่ 6 ในระบบสรุ ยิ ะซงึ่ มขี นาดใหญ่เปน็ อันดับทสี่ อง รองจากดาวพฤหสั บดี โดยเปน็ ดาวเคราะห์ท่อี ยูห่ ่างไกลจากโลกมากทส่ี ดุ ทีส่ ามารถมองเห็น จากโลกไดด้ ว้ ยตาเปลา่ องคป์ ระกอบหลกั ของดาวเสาร์จะเป็นแก๊สและของเหลว ดาวเสารม์ ี ลกั ษณะเปน็ ทรงกลมแป้นสงู กว่าดาวเคราะหด์ วงอื่น ๆ กลา่ วคือมเี ส้นผ่านศนู ยก์ ลางใน แนวเส้นศูนย์สตู ร (60,268 กโิ ลเมตร) มากกว่าเส้นผา่ นศนู ย์กลางในแนวขัว (54,364 กโิ ลเมตร) เกอื บ 10 เปอรเ์ ซ็นต์ ทังนเี น่อื งมากจากดาวเสารม์ กี ารหมนุ โคจรรอบตัวเองท่ี เรว็ มาก (ประมาณ 10.66 ชั่วโมง)

ดาวยเู รนัส (Uranus) ดาวยูเรนสั (หรอื ท่คี นไทยเรยี กดาวมฤตยู) เปน็ ดาวเคราะหล์ า้ ดบั ท่ี 7 ในระบบสุรยิ ะทีม่ ี ขนาดใหญ่เปน็ อันดับท่ี 3 รองจากดาวพฤหสั บดีและดาวเสาร์ ดาวยูเรนสั ถูกคน้ พบโดยเซอรว์ ิ ลเลยี ม เฮอร์เซล (Sir William Herschel) ในเดือนมีนาคม ค.ศ.1781 ตอ่ มาในเดือนมนี าคม ค.ศ.1977 นักดาราศาสตรท์ ห่ี อดูดาวไคเปอร์ แอรบ์ อรน์ (Kuiper Airborne Observatory) ได้ ค้นพบว่าดาวยเู รนัสมวี งแหวนในระหวา่ งการศกึ ษาดาวยูเรนัส โดยพบวา่ ดาวยูเรนัสหายไปเปน็ จา้ นวน 5 ครัง ซึ่งพวกเขาได้สรุปวา่ ดาวยูเรนสั น่าจะมีวงแหวนลอ้ มรอบอยู่ โดยวงแหวนดงั กลา่ วไดบ้ ดบงั แสง จากดาวยเู รนสั ไว้ ท้าให้มองไม่เห็นดาวยเู รนสั เป็นบางชว่ งเวลา

ดาวเนปจูน (Neptune) ดาวเนปจูน(หรือท่คี นไทยเรียกดาวเกตุ) เป็นดาวเคราะหส์ ดุ ทา้ ยคือล้าดบั ที่ 8 ในระบบ สุรยิ ะท่มี ขี นาดเลก็ ทส่ี ุดและหนาวเย็นทีส่ ดุ ในบรรดาดาวเคราะห์แก๊สยักษ์ทงั สี่ (ได้แก่ดาวพฤหสั บดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัสและดาวเนปจนู ) ดาวเนปจูนถกู คน้ พบในปี 1846 ซ่ึงถือวา่ ดาวเนปจนู เป็น ดาวดวงแรกท่ีถูกคน้ พบได้ด้วยการคา้ นวนทางคณติ ศาสตรต์ า่ งกบั ดาวเคราะหด์ วงอ่ืนทีถ่ กู ค้นพบ ด้วยการสงั เกตการณ์ เนื่องจากนักดาราศาสตร์ได้พบว่าวงโคจรของดาวยูเรนัสมกี ารเปลยี่ นแปลง เน่ืองจากอทิ ธพิ ลของแรงดงึ ดูดจากดาวเคราะหด์ วงหน่ึงซึง่ ในขณะนันยังไมท่ ราบว่าเป็นดาวเคราะห์ ดวงใด ดาวเนปจูนจึงถกู ค้นพบหลงั จากนันในตา้ แหน่งทใี่ กลเ้ คยี งกับทน่ี ักดาราศาสตร์ไดค้ า้ นวนไว้

ดวงจันทร์บริวาร (Satellites) โลกมิใชด่ าวเคราะหเ์ พยี งดวงเดยี วทม่ี ีดวงจันทร์บรวิ าร โลกมบี ริวาร ชื่อวา่ “ดวงจนั ทร”์ (The Moon) ขณะที่ดาวเคราะหด์ วงอ่นื ก็มีบรวิ ารเช่นกนั เชน่ ดาวพฤหัสบดมี ีดวงจันทรข์ นาดใหญ่ 4 ดวงช่ือ ไอโอ (Io), ยโู รปา (Europa), กันนีมดี (Ganymede) และคลั ลสิ โต (Calisto) ดาวเคราะห์และดวงจันทรถ์ อื กาเนดิ ข้ึนพรอ้ ม ๆ กัน เพียงแต่ดวงจันทรม์ ไิ ด้รวมตัวกบั ดาวเคราะหโ์ ดยตรง แต่กอ่ ตัวขึ้นภายในวงโคจร ของดาวเคราะห์ เราจะสงั เกตได้วา่ หากมองจากด้านบนของระบบสุริยะ จะเห็นไดว้ า่ ท้ังดวงอาทติ ย์ ดาวเคราะหแ์ ละดวงจนั ทรส์ ่วนใหญ่ จะหมุนรอบตัวเองในทศิ ทวนเขม็ นาฬกิ า และโคจรรอบดวงทิตย์ใน ทิศทวนเข็มนาฬิกาเชน่ กันหากมองจากด้านขา้ งของระบบสรุ ยิ ะก็จะพบวา่ ทง้ั ดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ และ ดวงจนั ทรบ์ ริวาร จะอยใู่ นระนาบท่ีใกลเ้ คยี งกับสรุ ยิ ะวถิ ีมาก ทง้ั นี้ก็เนอื่ งมาจากระบบสรุ ิยะทั้งระบบ ก็ กาเนิดขึ้นพรอ้ ม ๆ กันโดยการยบุ และหมุนตวั ของจานฝ่นุ

ดาวเคราะหแ์ คระ (Dwarf Planets) เป็นนยิ ามใหมข่ องสมาพันธด์ าราศาสตรส์ ากล (International Astronomical Union) ทกี่ ลา่ วถงึ วัตถุขนาดเลก็ ท่มี ีรูปรา่ งคลา้ ยทรงกลม แต่มีวง โคจรเปน็ รปู รี ซ้อนทับกับดาวเคราะห์ดวงอ่ืน และไม่อย่ใู นระนาบของสุรยิ ะวถิ ี ซึ่ง ได้แก่ ซรี ีส พลั ลาส พลโู ต และดาวทเี่ พ่งิ คน้ พบใหม่ เชน่ อรี สิ เซด็ นา วารนู า เป็นต้น

ดาวเคราะห์น้อย (Asteroids) เกิดจากวสั ดุท่ไี มส่ ามารถรวมตวั กนั เป็นดาวเคราะหไ์ ดเ้ นื่องจากแรงรบกวนจากดาวเคราะห์ ขนาดใหญ่เช่น ดาวพฤหสั บดีและดาวเสาร์ ดังเราจะพบว่าประชากรของดาวเคราะห์นอ้ ยสว่ นใหญ่อยทู่ ี่ “แถบดาวเคราะห์น้อย” (Asteroid belt) ซง่ึ อยรู่ ะหวา่ งวงโคจรของดาวองั คารและดาวพฤหัสบดี ดาวเคราะหแ์ คระเชน่ เซเรสกเ็ คยจัดว่าเปน็ ดาวเคราะห์นอ้ ยทีม่ ขี นาดใหญท่ ีส่ ุด (เส้นผา่ นศูนยก์ ลาง 900 กิโลเมตร) ดาวเคราะหน์ อ้ ยสว่ นใหญ่จะมวี งโคจรรอบดวงอาทติ ยเ์ ป็นรูปรีมากและไมอ่ ยูใ่ นระนาบสรุ ยิ ะ วิถขี ณะนม้ี ีการคน้ พบดาวเคราะหน์ อ้ ยแล้วประมาณ 3 แสนดวง

ดาวหาง (Comets) เปน็ วัตถขุ นาดเลก็ เชน่ เดยี วกับดาวเคราะหน์ ้อยแต่มวี งโคจรรอบ ดวงอาทติ ยเ์ ป็นวงยาวรีมากมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นกา๊ ซในสถานะ ของแขง็ เมื่อดาวหางเคลื่อนทเ่ี ขา้ หาดวงอาทิตยค์ วามร้อนจะให้มวลของมนั ระเหิดกลายเปน็ ก๊าซลมสุริยะเปา่ ใหก้ ๊าซเล่านนั พุง่ ออกไปในทิศทางตรง ขา้ มกบั ดวงอาทติ ยก์ ลายเป็นหาง

เมฆออร์ท (Oort Cloud) เป็นสมมตฐิ านที่ตั้งขน้ึ โดยนกั ดาราศาสตรช์ าวเนเธอรแ์ ลนดช์ ือ่ แจน ออร์ท (Jan Oort) ซ่ึงเชอ่ื ว่า ณ สดุ ขอบของระบบสุริยะ รัศมปี ระมาณ 50,000 AU จากดวงอาทติ ย์ ระบบสรุ ิยะ ของเรา หอ่ หมุ้ ด้วยวัสดกุ า๊ ซแขง็ ซ่งึ หากมีแรงโน้มถ่วงจากภายนอกมา กระทบกระเทือน ก๊าซแขง็ เหล่านกี้ จ็ ะหลุดเขา้ สู่วงโคจรรอบดวง อาทติ ย์ กลายเป็นดาวหางวงโคจรคาบยาว (Long-period comets)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook