Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย-7

หน่วย-7

Published by 6032040067, 2018-09-03 23:56:07

Description: สื่อกลางการส่งข้อมูล

Search

Read the Text Version

หนว่ ยท่ี 7สอื่ กลางการสง่ ขอ้ มลู ส่ือกลางแบบสายสญั ญาณ สอ่ื กลางแบบไร้สาย ปัจจัยทส่ี ่งผลกระทบตอ่ การเลอื กใช้ส่อื กลาง ปจั จยั ทส่ี ่งผลกระทบต่อการขนสง่ ขอ้ มูล จัดทาโดย นางสาวสุภาภรณ์ กล่องแก้ว เลขที่ 20 สาขาคอมพวิ เตอณธรุ กิจ หอ้ ง 2 เสนอต่อ อาจารย์ เพยี รวิทย์ ขาทวี วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาเพชรบรุ ี

สอื่ กลางแบบสายสญั ญาณหมายถึง ส่อื กลางท่เี ปน็ สายซง่ึ ใช้ในการเชอื่ มโยงโดยอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ เพื่อใชใ้ นการส่งผา่ นขอ้ มลูระหว่างอุปกรณ์ และอปุ กรณใ์ นระยะทางทห่ี ่างกนั ไมม่ ากนกั1) สายค่บู ิดเกลียว(twisted pair)ประกอบด้วยเส้นลวดทองแดงทหี่ ุ้มดว้ ยฉนวนพลาสตกิ 2 เสน้ พนั บิดเป็นเกลยี ว ทั้งนีเ้ พอ่ืลดการรบกวนจากคลื่นแมเ่ หล็กไฟฟา้ จากค่สู ายขา้ งเคยี งภายในเคเบลิ เดยี วกันหรอื จากภายนอก เนือ่ งจากสายคบู่ ดิ เกลียวน้ยี อมใหส้ ญั ญาณไฟฟ้าความถส่ี งู ผ่านได้ สาหรบั อัตราการส่งขอ้ มลู ผา่ นสายคู่บิดเกลียวจะข้นึ อยกู่ ับความหนาของสายดว้ ย กล่าวคอื สายทองแดงทม่ี ีเส้นผา่ นศนู ยก์ ลางกวา้ ง จะสามารถสง่ สญั ญาณไฟฟา้ กาลงั แรงได้ ทาใหส้ ามารถสง่ ขอ้ มูลดว้ ยอัตราส่งสงู โดยทัว่ ไปแล้วสาหรบั การสง่ ขอ้ มูลแบบดจิ ิทัล สัญญาณท่ีส่งเปน็ ลักษณะคล่ืนสี่เหลยี่ ม สายค่บู ดิ เกลยี วสามารถใชส้ ่งขอ้ มลู ได้ถงึ รอ้ ยเมกะบติ ตอ่ วินาที ในระยะทางไม่เกินร้อยเมตร เนือ่ งจากสายคบู่ ดิ เกลยี ว มีราคาไม่แพงมาก ใช้สง่ ข้อมลู ไดด้ ี จึงมีการใช้งานอยา่ งกวา้ งขวาง- สายคบู่ ดิ เกลยี วชนดิ หมุ้ ฉนวน (Shielded Twisted Pair : STP) เปน็ สายคู่บดิ เกลียวที่หมุ้ ดว้ ยลวดถักชนั้ นอกทีห่ นาอีกช้ันเพื่อป้องกันการรบกวนของคลนื่แม่เหล็กไฟฟ้า มลี กั ษณะเปน็ สองเสน้ มแี นวแล้วบิดเปน็ เกลยี่ วเขา้ ดว้ ยกนั เพื่อลดเสียงรบกวน มฉี นวนหุ้มรอบนอก มรี าคาถูก ติดตั้งง่าย น้าหนักเบาและ การรบกวนทางไฟฟา้ ต่าสายโทรศพั ทจ์ ดั เปน็ สายคู่บิดเกลยี่ วแบบหุ้มฉนวน- สายคบู่ ดิ เกลยี วชนดิ ไมห่ มุ้ ฉนวน (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็น สายคูบ่ ิดเกลยี วมฉี นวนชนั้ นอกทบี่ างอกี ชน้ั ทาใหส้ ะดวกในการโค้งงอแตส่ ามารถปอ้ งกันการรบกวนของคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าได้น้อยกวา่ ชนิดแรก แตก่ ็มรี าคาตา่ กว่า จงึ นิยมใช้ในการเชอ่ื มต่ออุปกรณ์ในเครอื ข่าย ตัวอย่าง ของสายสายค่บู ิดเกลียวชนดิ ไม่หุ้มฉนวน ทีเ่ ห็นในชีวติ ประจาวันคอื สายโทรศพั ทท์ ใี่ ช้อยู่ในบา้ น มีราคาถกู และนยิ มใชก้ นั มากทส่ี ดุ สว่ นใหญ่มกั ใช้กับระบบโทรศพั ท์ แต่สายแบบน้ีมักจะถกู รบกวนได้ง่าย และไม่ค่อยทนทาน

2) สายโคแอกเชียล (coaxial)เป็นตวั กลางเชอื่ มโยงทีม่ ลี ักษณะเช่นเดียวกับสายทต่ี อ่ จากเสาอากาศ สายโคแอกเชียลทใี่ ช้ทวั่ ไปมี 2 ชนดิ คอื 50 โอห์มซึ่งใชส้ ง่ ขอ้ มลู แบบดิจทิ ัล และชนดิ 75 โอหม์ ซง่ึ ใช้สง่ ข้อมูลสัญญาณแอนะล็อก สายประกอบดว้ ยลวดทองแดงท่เี ป็นแกนหลักหน่งึ เสน้ ท่ีหมุ้ ดว้ ยฉนวนชน้ั หน่งึ เพ่อื ปอ้ งกันกระแสไฟร่วั จากนนั้ จะหุ้มดว้ ยตัวนาซึ่งทาจากลวดทองแดงถักเปน็ เปียเพือ่ ป้องกันการรบกวนของคล่นื แม่เหล็กไฟฟ้าและสัญญาณรบกวนอ่ืนๆ กอ่ นจะหุ้มชนั้ นอกสุดดว้ ยฉนวนพลาสติก ลวดทองแดงท่ีถกั เปน็ เปยี นี้เองเป็นส่วนหนึง่ ทีท่ าใหส้ ายแบบนม้ี ชี ว่ งความถ่ีสัญญาณไฟฟ้าสามารถผ่านได้สงู มาก และนยิ มใช้เป็นชอ่ งสื่อสารสัญญาณแอนะลอ็ กเชือ่ งโยงผ่านใต้ทะเลและใตด้ นิ3) เสน้ ใยนาแสง (fiber optic)มแี กนกลางของสายซงึ่ ประกอบด้วยเสน้ ใยแกว้ หรอื พลาสติกขนาดเลก็ หลายๆ เสน้ อยู่รวมกนั เสน้ ใยแตล่ ะเสน้ มขี นาดเล็ดเท่าเสน้ ผม และภายในกลวง และเสน้ ใยเหล่านนั้ ไดร้ บัการห่อห้มุ ดว้ ยเส้นใยอีกชนดิ หน่งึ กอ่ นจะห้มุ ชั้นนอกสุดดว้ ยฉนวน การสง่ ขอ้ มลู ผา่ นทางสื่อกลางชนดิ นี้จะแตกต่างจากชนิดอ่ืนๆ ซง่ึ ใช้สัญญาณไฟฟ้าในการสง่ แต่การทางานของส่ือกลางชนดิ นจี้ ะใช้เลเซอรว์ ง่ิ ผา่ นช่องกลวงของเสน้ ใยแตล่ ะเสน้ และอาศยั หลกั การหกั เหของแสง โดยใชใ้ ยแกว้ ชนั้ นอกเปน็ กระจกสะท้อนแสง การให้แสงเคลอื่ นทไี่ ปในท่อแก้ว สามารถส่งขอ้ มลู ด้วยอตั ราความหนาแนน่ ของสัญญาณขอ้ มูลสงู มาก และไม่มกี ารก่อกวนของคลน่ืแมเ่ หลก็ ไฟฟ้า

ปัจจบุ นั ถา้ ใชเ้ สน้ ใยนาแสง กบั ระบบอีเธอรเ์ นต็ จะใชไ้ ด้ด้วยความเรว็ หลายร้อยเมกะบิต และเนอื่ งจากความสามรถในการส่งข้อมลู ด้วยอัตราความหนาแนน่ สงู ทาใหส้ ามารถส่งขอ้ มลู ทงั้ตวั อกั ษร เสียง ภาพกราฟกิ หรือวดิ ที ศั นไ์ ด้ในเวลาเดยี วกนั อกี ทง้ั ยงั มีความปลอดภยั ในการสง่ สูง แต่อย่างไรกม็ ขี อ้ เสียเนื่องจากการบดิ งอสายสญั ญาณจะทาให้เสน้ ใยหัก จึงไม่สามารถใช้ส่อื กลางนี้ในการเดนิ ทางตามมมุ ตึกได้เสน้ ใยนาแสงมีลักษณะพเิ ศษท่ีใช้สาหรับเชอ่ื มโยงแบบจดุ ไปจุด ดังนั้น จึงเหมาะที่จะใชก้ ับการเช่ือมโยงระหว่างอาคารกับอาคาร หรอื ระหวา่ งเมืองกบั เมอื ง เสน้ ใยนาแสงจึงถูกนาไปใช้เปน็ สายแกนหลัก หลกั การทัว่ ไปของการสื่อสาร ในสายไฟเบอรอ์ อปติกคอื การเปล่ยี นสัญญาณ(ข้อมลู ) ไฟฟา้ ให้เปน็ คล่นื แสงกอ่ น จากนนั้ จงึ สง่ ออกไปเป็นพัลส์ ของแสง ผ่านสายไฟเบอร์ออปติกสายไฟเบอรอ์ อปติกทาจากแกว้ หรอื พลาสติกสามารถส่งลาแสง ผา่ นสายไดท้ ลี ะหลายๆ ลาแสงดว้ ยมุมที่ต่างกนั ลาแสงที่สง่ ออกไปเปน็ พลั ส์นั้นจะสะทอ้ นกลบั ไปมาท่ผี วิ ของสายช้นั ในจนถงึ ปลายทาง จากสัญญาณข้อมลู ซงึ่ อาจจะเป็นสญั ญาณอนาลอ็ กหรอื ดิจิตอล จะผา่ นอปุ กรณ์ทที่ าหนา้ ทีม่ อดูเลตสญั ญาณเสยี ก่อน จากนน้ั จะส่งสญั ญาณมอดเู ลต ผ่านตัวไดโอดซงึ่ มี 2 ชนิดคือ LED ไดโอด (light Emitting Diode) และเลเซอร์ไดโอด หรอื ILD ไดโอด (InjectionLeser Diode) ไดโอดจะมีหน้าทเ่ี ปล่ียนสญั ญาณมอดเู ลตให้เปน็ ลาแสงเลเซอรซ์ ่งึ เปน็ คลน่ืแสง ในย่านทม่ี องเหน็ ได้ หรือเป็นลาแสงในยา่ นอนิ ฟราเรดซ่งึ ไมส่ ามารถมองเหน็ได้ ความถย่ี ่านอนิ ฟราเรดท่ใี ช้จะอยใู่ นช่วง 1014-1015 เฮริ ตซ์ ลาแสงจะถกู ส่งออกไปตามสายไฟเบอรอ์ อปติก เมอื่ ถึงปลายทางกจ็ ะมตี ัวโฟโต้ไดโอด (Photo Diode) ทีท่ าหน้าทรี่ บัลาแสงท่ถี กู ส่งมาเพอื่ เปลยี่ นสญั ญาณแสงใหก้ ลับไปเปน็ สัญญาณ มอดเู ลตตามเดิม จากนนั้กจ็ ะสง่ สญั ญาณผ่านเข้าอปุ กรณด์ มี อดเู ลต เพือ่ ทาการดมี อดเู ลตสัญญาณมอดูเลตให้เหลอืแตส่ ญั ญาณข้อมูลท่ตี ้องการ

สายไฟเบอร์ออปตกิ สามารถมแี บนด์วิดท์ (BW) ไดก้ วา้ งถึง 3 จกิ ะเฮิรตซ์ (1 จกิ ะ = 109)และมอี ตั ราเรว็ ในการสง่ ข้อมูลได้ถึง 1 จิกะบิต ต่อวนิ าที ภายในระยะทาง 100 กม. โดยไม่ต้องการเครื่องทบทวนสัญญาณเลย สายไฟเบอร์ออปติกสามารถมชี ่องทางสื่อสารไดม้ ากถงึ 20,000-60,000 ช่องทาง สาหรับการส่งข้อมูลในระยะทางไกล ๆ ไมเ่ กนิ 10 กม. จะสามารถมชี ่องทางได้มากถงึ 100,000 ชอ่ งทางทเี ดยี วสอื่ กลางแบบไรส้ ายการสื่อสารขอ้ มลู แบบไร้สายนี้สามารถสง่ ขอ้ มลู ได้ทกุ ทิศทางโดยมอี ากาศเป็นตวั กลางในการสือ่ สาร1) คลน่ื วทิ ยุ (Radio Wave)วิธีการสือ่ สารประเภทนจี้ ะใช้การส่งคลน่ื ไปในอากาศ เพอ่ื สง่ ไปยงั เคร่ืองรับวิทยุโดยรวมกับคลื่นเสียงมคี วามถี่เสียงท่เี ป็นรปู แบบของคลื่นไฟฟ้า ดงั นัน้ การส่งวทิ ยกุ ระจายเสียงจงึ ไมต่ ้องใชส้ ายสง่ ขอ้ มูล และยังสามารถส่งคลืน่ สญั ญาณไปไดร้ ะยะไกล ซ่งึ จะอยู่ในช่วงความถ่รี ะหว่าง104 - 109 เฮริ ตซ์ ดังนัน้ เคร่ืองรบั วิทยจุ ะต้องปรับช่องความถี่ใหก้ ับคลนื่ วิทยทุ ีส่ ่งมา ทาให้สามารถรับขอ้ มูลได้อยา่ งชัดเจน

2) สัญญาณไมโครเวฟ (Microwave) เปน็ สื่อกลางในการสอื่ สารทมี่ ีความเร็วสงู ส่งข้อมลู โดยอาศัยสญั ญาณไมโครเวฟ ซึ่งเปน็สญั ญาณคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ ไปในอากาศพรอ้ มกบั ข้อมลู ทีต่ ้องการสง่ และจะต้องมสี ถานที ท่ี าหน้าทีส่ ่งและรบั ข้อมลู และเนอ่ื งจากสัญญาณไมโครเวฟจะเดินทางเป็นเสน้ ตรง ไม่สามารถเลีย้ วหรอื โค้งตามขอบโลกท่มี ีความโค้งได้ จงึ ตอ้ งมีการตง้ั สถานีรบั - ส่งขอ้ มูลเป็นระยะๆ และส่งขอ้ มลู ตอ่ กนั เป็นทอดๆ ระหว่างสถานีต่อสถานจี นกวา่ จะถงึ สถานีปลายทาง และแต่ละสถานจี ะตง้ั อยใู่ นท่สี ูง ซึ่งจะอยใู่ นชว่ งความถ่ี 108 - 1012 เฮริ ตซ์3) แสงอินฟราเรด (Infrared)คลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟ้าท่มี ีความถอี่ ยใู่ นชว่ ง 1011 – 1014 เฮิรตซ์ หรือความยาวคล่ืน 10-3 – 10-6เมตร เรียกว่า รังสีอินฟราเรด หรือเรยี กอีกอยา่ งหนึง่ ว่า คลนื่ ความถ่สี น้ั (Millimeter waves)ซ่ึงจะมยี ่านความถี่คาบเกยี่ วกบั ย่านความถ่ขี องคลนื่ ไมโครเวฟอยู่บ้าง วัตถรุ ้อน จะแผ่รังสีอนิ ฟราเรดที่มีความยาวคลืน่ สน้ั กว่า 10-4 เมตรออกมา ประสาทสัมผสั ทางผิวหนงั ของมนุษย์สามารถรับรังสอี ินฟราเรด ลาแสงอินฟราเรดเดนิ ทางเปน็ เส้นตรง ไมส่ ามารถผา่ นวตั ถุทึบแสงและสามารถสะท้อนแสงในวัสดผุ วิ เรียบได้เหมอื นกบั แสงทัว่ ไปใช้มากในการสื่อสารระยะใกล้

4) ดาวเทียม (satilite)ไดร้ ับการพฒั นาข้ึนมาเพอ่ื หลกี เลี่ยงข้อจากัดของสถานีรบั - สง่ ไมโครเวฟบนผวิ โลกวัตถปุ ระสงคใ์ นการสร้างดาวเทียมเพื่อเปน็ สถานีรบั - สง่ สัญญาณไมโครเวฟบนอวกาศ และทวนสัญญาณในแนวโคจรของโลก ในการสง่ สัญญาณดาวเทียมจะต้องมีสถานภี าคพ้ืนดนิ คอยทาหน้าทีร่ ับ และส่งสญั ญาณขึน้ ไปบนดาวเทยี มท่ีโคจรอยู่สงู จากพื้นโลก 22,300 ไมล์ โดยดาวเทยี มเหล่านั้น จะเคลือ่ นท่ีด้วยความเร็วทเ่ี ท่ากบั การหมุนของโลก จงึ เสมอื นกบั ดาวเทียมนั้นอยู่น่ิงอย่กู ับที่ ขณะทโี่ ลกหมุนรอบตวั เอง ทาให้การสง่ สญั ญาณไมโครเวฟจากสถานีหนงึ่ ขนึ้ไปบนดาวเทยี มและการกระจายสญั ญาณ จากดาวเทยี มลงมายงั สถานีตามจดุ ตา่ งๆ บนผวิ โลกเปน็ ไปอยา่ งแม่นยา ดาวเทียมสามารถโคจรอยไู่ ด้ โดยอาศยั พลังงานที่ไดม้ าจากการเปลี่ยนพลังงานแสงอาทติ ย์ ด้วย แผงโซลาร์ (solar panel)5) บลทู ูธ (Bluetooth)ระบบสอ่ื สารของอุปกรณ์อเิ ลค็ โทรนิคแบบสองทาง ด้วยคลน่ื วิทยรุ ะยะสัน้ (Short-RangeRadio Links) โดยปราศจากการใช้สายเคเบ้ิล หรือ สายสัญญาณเชอ่ื มตอ่ และไม่จาเป็นจะต้องใชก้ ารเดินทางแบบเส้นตรงเหมอื นกบั อินฟราเรด ซ่ึงถอื ว่าเพิ่มความสะดวกมากกว่าการเชอ่ื มตอ่ แบบอนิ ฟราเรด ทใี่ ชใ้ นการเช่อื มตอ่ ระหว่างโทรศัพท์มือถือ กับอปุ กรณ์ ในโทรศัพท์เคลอ่ื นทีร่ ุ่นก่อนๆ และในการวิจยั ไมไ่ ดม้ งุ่ เฉพาะการส่งขอ้ มลู เพียงอย่างเดยี ว แต่ยงัศกึ ษาถงึ การสง่ ขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ เสียง เพอื่ ใชส้ าหรบั Headset บนโทรศพั ท์มอื ถือดว้ ยเทคโนโลยี

บลทู ูธ เปน็ เทคโนโลยีสาหรบั การเชอื่ มตอ่ อุปกรณ์แบบไร้สายทนี่ า่ จับตามองเป็นอย่าง ยิ่งในปจั จบุ นั ท้งั ในเรื่องความสะดวกในการใช้งานสาหรบั ผใู้ ช้ทว่ั ไป และประสทิ ธิภาพในการทางาน เนือ่ งจาก เทคโนโลยี บลทู ูธ มรี าคาถกู ใช้พลังงานน้อย และใชเ้ ทคโนโลยี short – rangeซ่งึ ในอนาคต จะถูกนามาใชใ้ นการพฒั นา เพอื่ นาไปสกู่ ารแทนท่ีอปุ กรณต์ า่ งๆ ท่ีใช้สายเคเบลิ เชน่ Headset สาหรับโทรศพั ทเ์ คลอื่ นท่ี เป็นตน้ ั เทคโนโลยกี ารเชอ่ื มโยงหรอื การสอ่ื สารแบบใหม่ทถ่ี ูกคดิ ค้นขึน้ เป็นเทคโนโลยขี องอินเตอร์เฟซทางคลน่ื วิทยุ ต้งั อยูบ่ นพ้ืนฐานของการสื่อสารระยะใกล้ท่ีปลอดภยั ผ่านชอ่ งสัญญาณความถี่ 2.4 Ghz โดยทถี่ กู พัฒนาข้ึนเพอ่ืลดขอ้ จากดั ของการใช้สายเคเบิลในการเชอ่ื มโยงโดยมี ความเร็วในการเชื่อมโยงสงู สดุ ท่ี 1 mbpระยะครอบคลมุ 10 เมตร เทคโนโลยีการส่งคลื่นวทิ ยขุ องบลูทูธจะใช้การกระโดดเปล่ยี นความถี่(Frequency hop) เพราะว่าเทคโนโลยีน้ีเหมาะที่จะใช้กบั การส่งคล่ืนวิทยทุ ่มี กี าลงั ส่งต่าและราคาถูก โดยจะแบง่ ออกเป็นหลายช่องความถ่ึขนาดเล็ก ในระหวา่ งที่มกี ารเปล่ียนชอ่ งความถ่ทึ ่ีไมแ่ นน่ อนทาใหส้ ามารถหลีกหนสี ญั ญา นรบกวนทีเ่ ข้ามาแทรกแซงได้ ซ่งึ อปุ กรณท์ ่จี ะได้รับการยอมรับว่าเปน็ เทคโนโลยบี ลทู ธู ต้องผา่ นการทดสอบจาก Bluetooth SIG (SpecialInterest Group) เสยี กอ่ นเพอ่ื ยืนยนั ว่ามันสามารถทีจ่ ะทางานรว่ มกับอปุ กรณบ์ ลูทูธตวั อืน่ ๆและอนิ เตอรเ์ น็ตได้

ปจั จยั ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ การเลอื กใชส้ อ่ื กลางตัวกลางหรอื สายเชือ่ มโยง เปน็ ส่วนทท่ี าใหเ้ กิดการเช่อื มต่อระหวา่ งอปุ กรณ์ต่างๆ เขา้ ด้วยกันและอปุ กรณน์ ยี้ อมให้ขา่ วสารข้อมูลเดนิ ทางผา่ น จากผูส้ ่งไปสูผ่ รู้ บั ส่อื กลางทีใ่ ชใ้ นการสอื่ สารขอ้ มูลมีอยูห่ ลายประเภท แตล่ ะประเภทมความแตกต่างกันในดา้ นของปรมิ าณขอ้ มูล ที่ส่ือกลางนั้น ๆ สามารถนาผา่ นไปได้ในเวลาขณะใดขณะหนง่ึ การวดั ปรมิ าณหรือความจุในการนาขอ้ มูลหรือ ท่เี รียกกนั วา่ แบบด์วดิ ท์ (bandwidth) มหี นว่ ยเป็น จานวนบิตขอ้ มูลตอ่วินาที (bit per second : bps) หลักการพิจารณาเลอื กใช้สอ่ื กลาง1. ตน้ ทนุ - พิจารณาตน้ ทุนของตวั อปุ กรณ์ทีใ่ ช้ - พิจารณาตน้ ทุนการติดตง้ั อุปกรณ์ -เปรยี บเทียบราคาของอปุ กรณ์ และประสิทธิภาพการใช้งาน2. ความเร็ว - ความเร็วในการส่งผ่านสัญญาณ จานวนบติ ต่อวินาที - ความเร็วในการแพร่สญั ญาณ ขอ้ มลู ท่ีสามารถเคลอ่ื นท่ผี า่ นส่ือกลางไปได้3. ระยะทาง - สอื่ กลางแต่ละชนดิ มคี วามสามารถในการส่งสัญญาณข้อมูลไปไดใ้ นระยะทางต่างกัน ดงั นั้นการเลอื กใช้สื่อกลางแต่ละชนิดจะตอ้ งทราบขอ้ จากัดดา้ นระยะทาง เพ่ือที่จะต้องทาการตดิ ตั้งอปุ กรณ์ทบทวนสญั ญาณเมือ่ ใชส้ ่อื กลางในระยะไกล4. สภาพแวดลอ้ ม - เป็นปัจจยั สาคญั อยา่ งหน่งึ ในเลือกใชส้ ื่อกลาง เชน่ สภาพแวดล้อมที่เปน็โรงงานอตุ สาหกรรมเครื่องจักรกลจะมีคลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟ้าต่าง ๆ ดงั นน้ั การเลอื กใช้ส่อื กลางควรเลือกสอ่ื กลางที่ทนทานต่อสญั ญาณรบกวนไดด้ ี5. ความปลอดภยั ของข้อมลู -หากส่อื กลางทีเ่ ลือกใชไ้ ม่สามารถปอ้ งกันการลักลอบนาขอ้ มูลไปได้ ดังนนั้ การส่ือสารข้อมูลจะต้องมกี าร เขา้ รหัสขอ้ มลู ก่อนทจี่ ะสง่ ไปในสอื่ กลาง และผ้รู ับก็ตอ้ งมกี ารถอดรหสั ทใี่ ชห้ ลกั เกณฑเ์ ดยี วกัน จงึ จะสามารถนาขอ้ มลู นน้ั ไปใช้ได้

ปจั จยั ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ การขนสง่ ขอ้ มลูคณุ ภาพของข้อมูลทสี่ ง่ ผ่านในระบบสอ่ื สาร จะพจิ ารณาสิ่งสาคญั คือ คุณลักษณะของส่อื กลางและสญั ญาณการสง่ ผ่านขอ้ มูลในระบบส่ือสาร สิ่งสาคญั ที่ต้องพจิ ารณาเป็นพิเศษ คอื อตั ราความเร็วในการสง่ ขอ้ มลู (Data Rate)และระยะทาง (Distance) โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้สามารถส่งข้อมลู ดว้ ยความเรว็ สูง และส่งไดร้ ะยะไกลตวั อยา่ งปจั จยั ทส่ี ง่ ผลกระทบในดา้ นความเรว็ และระยะทางทม่ี ตี อ่ สอื่ กลาง ซงึ่ ประกอบดว้ ย1. แบนดว์ ดิ ธ์ (Bandwidth)คอื ยา่ นความถ่ขี องช่องสญั ญาณ หากมีชอ่ งสัญญาณขนาดใหญ่ จะสง่ ผลใหใ้ นหนง่ึ หน่วยเวลาสามารถเคล่ือนยา้ ยปริมาณขอ้ มูลได้จ านวนมากขนึ้2. จานวนโหนดท่ีเชื่อมตอ่ (Number of Receivers)สือ่ กลางส่งขอ้ มลู แบบใชส้ าย สามารถน ามาเชอ่ื มต่อเครือขา่ ยในรูปแบบจุดตอ่ จดุ หรอื แบบหลายจุด เพอ่ื แชรก์ ารใช้งานสายส่งข้อมูลร่วมกนั สาหรบั เครือขา่ ยทใ่ี ช้สายสง่ ข้อมูลร่วมกนัจะมขี อ้ จากัดด้านระยะทางและความเร็วทีจ่ ากัดดงั นน้ั หากเครอื ขา่ ยมีโหนดและอุปกรณ์เช่อื มต่อเปน็ จานวนมาก ย่อมสง่ ผลใหค้ วามเร็วลดลง

3. ความสญู เสียตอ่ การส่งผา่ น (Transmission Impairments)คอื การออ่ นตัวของสญั ญาณ ซ่งึ จะเก่ียวขอ้ งกับระยะทางในการสง่ ผ่านขอ้ มูล หากระยะทางย่ิงไกลสัญญาณกย็ ิง่ เบาบางลง ไมม่ กี าลังส่ง เชน่ สายคบู่ ิตเกลยี วจะมคี วามสญู เสยี ตอ่ การส่งผ่านข้อมูลภายในสายมากกว่าสายโคแอกเชียล ดังน้ันการเลือกใช้สายโคแอกเชยี ลก็จะสามารถเชอ่ื มโยงได้ไกลกวา่ และหากใช้สายไฟเบอร์ออปติกจะมีความสญู เสยี ต่อการสง่ ผา่ นขอ้ มลู ภายในสายน้อยกว่าสายประเภทอ่นื ๆ ดงั น้นั สายไฟเบอรอ์ อปติกจงึ เป็นสายสือ่ สารทส่ี ามารถเชือ่ มโยงระยะทางได้ไกลท่ีสดุ โดยสามารถลากสายไดย้ าวหลายกโิ ลเมตรโดยไม่ต้องใช้อุปกรณท์ วนสญั ญาณช่วย4. การรบกวนของสญั ญาณ (Interference)การรบกวนของสญั ญาณท่ีคาบเก่ียวกนั ในย่านความถี่ อาจทาใหเ้ กิดการบิดเบอื นสัญญาณได้โดยไมว่ ่าจะเป็นสื่อกลางแบบมสี าย หรอื แบบไร้สาย เช่น การรบกวนกนั ของคลื่นวิทยุสญั ญาณครอสทอรก์ ท่ีเกิดขึน้ ในสายคบู่ ิตเกลียวชนิดไมม่ ีฉนวน ท่ภี ายในประกอบด้วยสายทองแดงหลายคู่มดั อยู่รวมกนั วิธีแกไ้ ขคือ เลือกใช้สายคบู่ ิตเกลียวชนดิ ที่มีฉนวนหรีอชลี ด์เพอ่ื ป้องกันสัญญาณรบกวน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook